SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ ายผู้ป่ วยนอก
สานักงาน : ตึกจุฬาภรณ์ และ โทร. สายใน 4214, 4234, 4125,
ตึกมงกุฏ - เพชรรัตน์ ชั้นล่าง 4553 - 5
หน่วยฉุกเฉิน
คาจากัดความ หน่วยฉุกเฉิน คือ หน่วยที่ให้บริการเร่งด่วนเพื่อช่วยชีวิต ลดความทุกข์ทรมาน
และป้ องกันความพิการ
ลักษณะของผู้ป่วยที่เรียกว่า “ฉุกเฉิน” คือ
1. อุบัติเหตุ ทุกราย
2. ไม่ใช่อุบัติเหตุ บางราย
ขอบเขตของการปฏิบัติงาน หน่วยฉุกเฉินเป็นหน่วยเดียวของฝ่ายผู้ป่วยนอก ซึ่งปฏิบัติงาน
ตลอด 24 ชั่วโมง ทุกวันไม่มีวันหยุด เพื่อให้การดูแลรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ จนสามารถ
1. นาผู้ป่วยไปรักษาต่อไป
2. สิ้นสุดการรักษา ผู้ป่วยกลับบ้านได้
3. รับผู้ป่วยไว้สังเกตอาการต่อ
ปัจจุบันหน่วยฉุกเฉินมีห้องปฏิบัติงาน 3 ห้อง คือ
1. ห้องฉุกเฉิน สาหรับรักษาผู้ป่วยอาการหนัก ทั้งจากอุบัติเหตุและไม่ใช่อุบัติเหตุตลอด 24
ชั่วโมง การทางานแบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ Trauma และ Non-Trauma
2. ห้องสังเกตอาการ เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยฉุกเฉิน อยู่ที่ตึกจุฬาภรณ์ ชั้น 1 และตึกจุฬาภรณ์
ชั้น 2 สาหรับผู้ป่วยที่รอการวินิจฉัย, รอการรับเข้าอยู่ในโรงพยาบาลแบบฉุกฉินในกรณีที่เตียงในหอผู้ป่วยยังไม่
ว่าง
3. ห้องเบอร์ 9 อยู่ที่ตึกจักรพงษ์ชั้นล่าง เป็นห้องตรวจผู้ป่ วยที่มานอกเวลาราชการที่อาการ
ไม่มาก (ระหว่างเวลา 16.00 - 24.00 น.) ในวันราชการและ 08.00 - 24.00 น. ในวันหยุดราชการ) เพื่อแบ่งเบา
ภาระของห้องฉุกเฉินทาให้ห้องฉุกเฉินไม่แออัดเกินไป
แพทย์ผู้ปฏิบัติงาน
1. นายแพทย์สุวิทย์ ศรีอัษฎาพร แพทย์หัวหน้าหน่วยฉุกเฉิน
2. นายแพทย์สมศักดิ์ คุปต์นิรัติศัยกุล แพทย์ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยฉุกเฉิน
3. นายแพทย์สุรินทร์ อัศววิทูรทิพย์ แพทย์ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยฉุกเฉิน
4. นายแพทย์ครองวงศ์ มุสิกถาวร อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
5. นายแพทย์ธนดล โรจนศานติกุล อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
6. แพทย์หญิงสุธาพร ล้าเลิศกุล อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
7. นายแพทย์อรรถสิทธิ์ โคมินทร์ อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
8. แพทย์หญิงปฏิมา พุทธไพศาล อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
9. แพทย์หญิงขวัญศิริ นราจีนรน อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
10. แพทย์ประจาบ้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ปฏิบัติงานในห้องฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง
11. แพทย์ประจาบ้านปี ที่ 3 ภาควิชาอายุรศาสตร์ ปฏิบัติงาน non-trauma เวลา
08.00-16.00 น. วันราชการ และ 16.00-24.00 น. ทุกวัน
12. แพทย์ประจาบ้านปีที่ 2 ภาควิชาอายุรศาสตร์ ปฏิบัติงาน non-trauma ทุกวันเวลา 16.00-
24.00 น.
13. แพทย์ประจาบ้านปีที่ 1 ภาควิชาอายุรศาสตร์ ปฏิบัติงาน non-trauma ทุกวันราชการ ตลอด
24 ชม.
14. แพทย์ประจาบ้านเวชศาสตร์ฉุกเฉินปีที่ 1 , 2 , 3 ปฏิบัติงาน non – trauma หรือ trauma ทุก
วันตลอด 24 ชม.
15. แพทย์ประจาบ้านปีที่ 1 ภาควิชาศัลยศาสตร์ ปฏิบัติงานในส่วน trauma ทุกวัน เวลา
08.00-24.00 น.
16. แพทย์ประจาบ้านปีที่ 1 จากทุกภาควิชา ยกเว้นภาควิชาอายุรศาสตร์, ศัลย-ศาสตร์ และ
กุมารเวชศาสตร์ จะหมุนเวียนปฏิบัติงานทุกวันในส่วน trauma เวลา 00.00 - 08.00 น. และวันหยุดราชการเวลา
08.00 - 16.00 น. ในส่วน non-trauma
17. แพทย์ประจาบ้านปีที่ 1 และ 2 ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยเด็กฉุกเฉิน
วันราชการ ตั้งแต่เวลา 16.00 - 08.00 น. ของวันรุ่งขึ้น และตลอด 24 ชั่วโมง ในวันหยุดราชการ
18. นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติจัดให้หมุนเวียนปฏิบัติงานรวมกับภาควิชาอายุรศาสตร์
ในการจัดปฏิบัติงาน (4 หน่วยกิต)
19. นิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 5 รายวิชา Ambulatory Medicine ขึ้นปฏิบัติงานเวลา 08.00-12.00 น. ,
13.00-16.00 น. และ 16.00 – 24.00 น.
20. ห้องเบอร์ 9 มีแพทย์ประจาบ้านประจาเวรละ 3 คน เป็นจากภาควิชากุมาร-เวชศาสตร์ 1 คน
ภาควิชาอายุรศาสตร์ 1 คน และหมุนเวียนจากภาควิชาต่างๆ อีก 1 คน
ตารางสรุปการปฏิบัติงานของแพทย์ประจาบ้านในห้องฉุกเฉิน
เวลาปฏิบัติงาน Trauma Non-trauma
เวรเช้า
08.00 - 16.00 น.
R1 ศัลย์ วันราชการ R1, R3 อายุรศาสตร์
วันหยุดราชการ R1 ฝ่ายต่าง ๆ , R1 อายุรศาสตร์
เวรบ่าย
16.00 - 24.00 น.
R1 ศัลย์ R1, R2, R3 อายุรศาสตร์
เวรดึก
00.00 - 08.00 น.
R1 ฝ่ายต่าง ๆ R1 อายุรศาสตร์
ตารางสรุปการปฏิบัติงานของแพทย์ประจาบ้านในห้องเบอร์ 9
วันราชการ 16.00 - 24.00 น. R เด็ก 1 คน, R Med 1 คน, R ภาควิชาต่าง ๆ 1 คน
วันหยุดราชการ 08.00 - 16.00 น.
16.00 - 24.00 น.
R เด็ก 1 คน, R Med 1 คน, R ภาควิชาต่าง ๆ 1 คน
R เด็ก 1 คน, R Med 1 คน, R ภาควิชาต่าง ๆ 1 คน
ผู้ป่ วยเด็ก
วันราชการ R1, R2 เด็ก 16.00 - 08.00 น. วันรุ่งขึ้น
วันหยุดราชการ R1, R2 เด็ก 24 ชั่วโมง
ขีดความสามารถของหน่วยฉุกเฉิน
หน่วยฉุกเฉิน สามารถดูแลรักษาและแก้ไขภาวะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1. ช่วยชีวิต (resuscitation & life support) แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ
1.1 Trauma
1.2 Non-trauma
1.2.1 Cardiac arrest
1.2.2 Respiratory distress
1.2.3 Shock
1.2.4 Unconsciousness
1.2.5 Hemorrhage
1.2.6 Malignant hypertension
1.2.7 Intoxication
2. ลดความทุกข์ทรมานจากปัญหา
2.1 pain
2.2 high fever
2.3 convulsion disorder
2.4 acute psychiatric problem
2.5 wound
2.6 foreign body
2.7 retention of excreta
3. ป้ องกันความพิการ (prevention of disability) ได้แก่ hemiplegia และ paraplegia
การปฏิบัติงาน
1. ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่จาเป็นต้องผ่านการตรวจของนิสิตแพทย์เวชปฏิบัติก่อนจึงจะปรึกษาแพทย์
ประจาบ้านฉุกเฉิน แต่ผู้ป่วยฉุกเฉินที่นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติตรวจทุกคน อยู่ในความรับผิดชอบของแพทย์ประจา
บ้านฉุกเฉิน
2. ผู้ป่ วยอาการหนัก ต้องการการรักษาทันทีโดยอาศัยข้อมูลจากประวัติและการตรวจ
ร่างกายไม่จาเป็นต้องรอผลจากห้องปฏิบัติการ
3. ถ้าจาเป็นต้องส่งเอ็กซเรย์หรือส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการให้ส่งเฉพาะที่จาเป็นและฉุกเฉิน
เท่านั้น
4. ผู้ป่วยคดีทุกรายต้องแนบบัตรสีเขียวซึ่งประทับตรา “นิติเวช” ไว้กับบัตรตรวจโรคก่อน
บันทึกข้อมูลในบัตรตรวจโรค เพื่อเตือนแพทย์ผู้รับผิดชอบผู้ป่วยว่า ผู้ป่วยรายนั้นเป็นผู้ป่วยคดี เช่น เมื่อจะส่ง
เอ็กซเรย์ ต้องประทับตรา คาว่า “นิติเวช” ไว้บนใบสั่งเอ็กซเรย์ด้วยทุกครั้ง เพื่อเน้นให้ทางฝ่ายรังสีวิทยา
ประทับตราคาว่า “นิติเวช” กลับมาในซองฟิล์ม เป็นการเตือนไม่ให้นาฟิล์มออกจากโรงพยาบาลเพราะเก็บไว้
เป็นหลักฐานทางนิติเวช
การปรึกษา
1. ผู้ป่วยทุกราย ที่นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติตรวจ จะต้องปรึกษาแพทย์ประจาบ้านที่อยู่เวรใน
หน่วยฉุกเฉิน
2. การปรึกษาแพทย์ประจาบ้านเวรฝ่ายหรือสาขาต่าง ๆ ให้ดาเนินการดังนี้
2.1 ในเวลาราชการ ถ้าผู้ป่วยอาการหนักเมื่อให้การช่วยชีวิต และรักษาตามขั้นตอน
แล้ว ให้รีบปรึกษาแพทย์ประจาบ้านแต่ละฝ่าย ให้มาดูผู้ป่ วยในหน่วยฉุกเฉิน ถ้าอาการไม่หนักให้การปฐม
พยาบาลเบื้องต้น แล้วส่งผู้ป่วยไปตามฝ่ายต่างๆ โดยแจ้งให้แพทย์ในฝ่ายนั้นทราบก่อนส่งไป
2.2 นอกเวลาราชการ แพทย์ประจาบ้านเวรฝ่ายต่างๆ ต้องมาดูผู้ป่วยที่หน่วยฉุกเฉิน
การเขียนบัตรตรวจโรค
1. ก่อนเขียนประวัติการตรวจรักษาทุกครั้ ง จะต้องลงเวลาที่เริ่มดูผู้ป่ วยทุกครั้ง
ไม่ว่าจะเป็นนิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ หรือแพทย์เวรฉุกเฉิน หรือแพทย์ประจาบ้านที่รับปรึกษา
2. เขียนประวัติการตรวจร่างกายโดยย่อ รวมทั้งการแก้ปัญหา แผนการรักษาตลอดจนการแจ้ง
ว่าได้สั่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ และเอกซเรย์อย่างไรบ้าง ได้ผลอย่างไรโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อสั่งยาให้ผู้ป่วย
ทุกครั้ง ควรเขียนชื่อยา จานวนยา และวิธีใช้ในบัตรตรวจโรคพร้อมเซ็นชื่อให้ชัดเจน ตามด้วยรหัสประจาตัว
เพื่อประโยชน์ในการติดตามการรักษาต่อไป
การจ่ายยาและเวชภัณฑ์
ยาและเวชภัณฑ์ฉุกเฉินมีสารองไว้ในหน่วยฉุกเฉิน สามารถใช้ได้ทันที เมื่อใช้กับ ผู้ป่วยที่มี
เงินจ่ายให้เขียนใบสั่งยาให้ผู้ป่วยซื้อจากห้องยานามาใช้คืน ถ้าผู้ป่วยไม่มีเงิน ไม่ต้องสั่งซื้อทางหน่วยฉุกเฉินจะ
เบิกจากยาและเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล สารองไว้ใช้กับผู้ป่วยต่อไป
แพทย์ประจาบ้าน มีสิทธิสั่งได้เฉพาะยาและเวชภัณฑ์ที่มีจาหน่ายในโรงพยาบาล ซึ่งมีรายชื่อ
แจ้งไว้ในหน่วยฉุกเฉิน ถ้าผู้ป่วยจาเป็นต้องใช้ยาที่ไม่มีจาหน่ายในโรงพยาบาล อาจารย์แพทย์เท่านั้นที่มีสิทธิจะ
สั่งได้โดยเซ็นชื่อสั่งยาในใบสั่งยาของโรงพยาบาล ตามด้วยรหัสประจาตัว เช่นกัน
หากผู้ป่วยไม่มีเงินซื้อยาที่มีจาหน่ายในโรงพยาบาลเพื่อไปใช้ต่อที่บ้านให้ปฏิบัติดังนี้
- ที่หัวใบสั่งยาในเวลาราชการ เขียนว่า “ติดต่อ สังคมสงเคราะห์” และ เซ็นชื่อ
กากับ
ในกรณีผู้ป่วยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่หรือครอบครัวเจ้าหน้าที่ต้องใช้ยาฉุกเฉิน
- ในเวลาราชการ ให้ติดต่อห้องเจ้าหน้าที่
- นอกเวลาราชการ เขียนว่า “เจ้าหน้าที่หรือ “ครอบครัวเจ้าหน้าที่” ไว้ที่หัวใบสั่งยา
และเซ็นชื่อกากับ
ยาและเวชภัณฑ์ ที่ต้องใช้ใบสั่งยาของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์แพทย์ประจาห้องฉุกเฉิน
สามารถเซ็นเบิกยา หรือใช้ในกรณีฉุกเฉินได้
ผู้ป่ วยส่งต่อระหว่างเวร
เมื่อการตรวจรักษายังไม่เสร็จ อยู่ในระหว่างการสังเกตอาการ ให้น้าเกลือ ให้เลือด หรือรอเตียง
เพื่อรับไว้ในโรงพยาบาล ก่อนออกจากเวรต้องส่งเวรให้ผู้รับเวรใหม่รับทราบ และดาเนินการต่อ พร้อมกันทั้ง
นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ และแพทย์ประจาบ้าน
การนัดผู้ป่ วยมาโรงพยาบาลครั้งต่อไป
1. ผู้ป่วยคดี ผู้ป่วยคดีทุกคนให้ติดใบสีเขียว ประทับตราคาว่า “นิติเวช” ไว้ที่มุมล่างด้านขวา
ของบัตรตรวจโรคแผ่นแรกและ
1.1 ถ้าได้รับการตรวจรักษาเสร็จสิ้นก่อน 11.00 น.ในวันราชการ ให้ส่งปรึกษาคลินิก
นิติเวชได้ทันที
1.2 ถ้าการตรวจรักษาเสร็จสิ้นหลัง 11.00 น. ในวันราชการ หรือ เวลาใดก็ตามใน
วันหยุดราชการ เมื่อผู้ป่วยกลับบ้านได้ให้เขียน ใบนัดสีเหลืองให้ผู้ป่วยมาคลินิกนิติเวชในวันราชการต่อมา
เวลา 08.30 น.
1.3 ถ้าการตรวจรักษายังไม่เสร็จสิ้น แพทย์ยังคงสังเกตดูอาการผู้ป่วย หรือเป็นผู้ป่วย
ที่รอรับไว้ในหน่วยฉุกเฉิน ไม่ต้องเขียนใบนัดสีเหลืองให้ผู้ป่วย แต่ให้แนบไว้กับบัตรตรวจโรค ถ้าไม่ส่งปรึกษา
แพทย์นิติเวชในผู้ป่วยคดี แพทย์ประจาบ้านซึ่งอยู่เวรตามวันเวลาที่ผู้ป่วยมารับการรักษา หรือแพทย์ที่รับปรึกษา
ผู้ป่วยรายนั้น ๆ จะต้องเป็นพยานในศาลเมื่อมีคดีเกิดขึ้น
2. ผู้ป่วยที่ไม่ใช่ผู้ป่วยคดี เมื่อได้ให้การรักษาตามความจาเป็นจากหน่วยฉุกเฉินแล้วควรนัดมา
โรงพยาบาลอีก เพื่อ
2.1 รับการรักษาต่อไป โดยให้นัดพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญตามปัญหาของผู้ป่วย ยกเว้น
คลินิกโรคหัวใจ และทางเดินอาหาร ต้องนัดโดยแพทย์โรคหัวใจ หรือทางเดินอาหารเท่านั้น แต่ถ้าผู้ป่วยมี
ปัญหาโรคหัวใจ หรือทางเดินอาหารมารับการรักษาจากหน่วยฉุกเฉินและต้องรับการรักษาต่อไป ให้นัดมา
คลินิกอายุรกรรมทั่วไป ตึก ภปร.ชั้น 1 เวลา 08.30 น. ได้ทุกวันราชการ
2.2 การศึกษา ให้นัดมาหน่วยฉุกเฉินในเวลาที่อาจารย์แพทย์จากภาควิชาอายุรศาสตร์
หรือศัลยศาสตร์มาสอนนิสิตแพทย์ฉุกเฉิน
การรับผู้ป่ วยไว้ในโรงพยาบาล
เป็ นสิทธิของแพทย์ประจาบ้าน แพทย์อาวุโสภาควิชาต่างๆ เท่านั้น โดยบันทึกไว้
ในบัตรตรวจโรคอย่างชัดเจนว่า “รับไว้” เวลาเท่าไร ฉุกเฉิน และที่ไหน แต่ในกรณีที่ไม่มีเตียงว่าง
ให้เขียนด้วยว่ายังไม่มีเตียงว่าง และจะสั่งให้ทาอะไรต่อไป
การรับ-ส่งผู้ป่ วยจากโรงพยาบาลอื่น
1. เมื่อผู้ป่วยฉุกเฉินต้องอยู่โรงพยาบาล แต่อาการไม่หนักและไม่มีที่รับไว้เมื่อให้การรักษา
เบื้องต้นตามความเหมาะสมแล้ว แพทย์ประจาบ้านและแพทย์อาวุโสที่รับปรึกษาเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะให้ไปรับ
การรักษาจากโรงพยาบาลอื่นโดยติดต่อผ่านศูนย์ส่งกลับ หรือโทรศัพท์ติดต่อเองพร้อมทั้งเขียนใบส่งต่อเป็น
ทางการ และถ้าเป็นนอกเวลาราชการและผู้ป่วยต้องเดินทางไปด้วยรถพยาบาลของโรงพยาบาล ให้แพทย์ประจา
บ้านเป็นผู้เขียนใบสั่งรถ
2. ผู้ป่วยฉุกเฉินที่ต้องการรับการรักษาต่อในโรงพยาบาลเอกชน หลังจากให้การปฐมพยาบาล
แล้วญาติจะต้องเป็นผู้ติดต่อโรงพยาบาลเอกชนนั้นเอง และรับผิดชอบการเคลื่อนผู้ป่วยโดยเขียนคายินยอมลงใน
แฟ้มตรวจโรค ลงวัน เวลา ที่รับออกไปและเซ็นชื่อกากับทุกครั้งในแฟ้มตรวจโรค แพทย์ประจาบ้านควรเขียนใบ
ส่งต่อผู้ป่วยเพื่อประโยชน์ในการรักษาต่อไป เช่นกัน
3. ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แต่เดินทางมาจากต่างจังหวัด นอกเวลาราชการ ให้พิจารณาตามความ
จาเป็นแล้วรอส่งพบแพทย์เฉพาะทางในเวลาราชการตามปัญหาของผู้ป่วย หรือปรึกษาแพทย์ประจาบ้านฝ่าย
ต่างๆ เพื่อให้คาแนะนาไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลท้องถิ่นโดยเขียนใบส่งต่อเป็นทางการ
4. ผู้ป่วยที่ศูนย์อนามัย หรือโรงพยาบาลต่างๆ ส่งมาเป็นทางการเพื่อปรึกษาควรพิจารณาให้
เหมาะสมโดยปรึกษาแพทย์เฉพาะทางหรือนัดตรวจในคลินิกเฉพาะโรค ยกเว้นคลินิกโรคหัวใจ และคลินิก
ทางเดินอาหาร
ใบรับรองแพทย์
แพทย์ประจาบ้านที่ดูแลนิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ เป็นผู้รับผิดชอบในการออกใบรับรองแพทย์
ยกเว้นผู้ป่วยคดี เพราะถ้าแพทย์ประจาบ้านออกให้แล้ว แพทย์นิติเวชจะไม่รับผิดชอบต่อเมื่อออกใบรับรอง
แพทย์แล้ว ควรบันทึกลงในบัตรตรวจโรคด้วยว่าได้ออกใบรับรองให้ผู้ป่วยหยุดพักนานเท่าไร
ผู้ป่ วยประกันสังคม และผู้ป่ วยประกันอุบัติเหตุ
สาหรับผู้ป่วยทั้ง 2 ประเภทนี้ ให้การรักษาเช่นเดียวกับผู้ป่วยทั่วไป ในกรณีที่ไม่ต้องรับไว้ใน
โรงพยาบาล หรือไม่ต้องเฝ้าสังเกตอาการ แต่หากต้องได้รับการรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือรับไว้เฝ้ าสังเกต
อาการนั้น ให้รับไว้ในตึกสวัสดิ์-ล้อม โอสถานุเคราะห์ (ตึกผู้ป่ วยประกันสังคม)
การปฏิบัติเมื่อผู้ป่ วยถึงแก่กรรม
1. ลงความเห็นในใบมรณบัตรเมื่อมีประวัติผู้ป่วยรับการรักษาประจาในโรงพยาบาล และถึงแก่
กรรมด้วยสาเหตุจากโรคนั้น
2. ศพคดี หรือ สงสัย เขียนรายงานขอทาการตรวจศพ เช่นเดียวกับการเขียนในแฟ้ มตรวจโรค
แต่ไม่ลงความเห็นในใบมรณบัตร เพื่อให้แพทย์นิติเวชรับผิดชอบต่อไป
สวัสดิการ
1. อาหาร ในระหว่างอยู่เวร นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ และแพทย์ประจาบ้านจะได้รับอาหารจาก
ฝ่ายโภชนวิทยาและโภชนบาบัด ดังนี้
เวรเช้า - อาหารเช้า และอาหารกลางวัน
เวรบ่าย - อาหารเย็น และอาหารมื้อค่า
เวรดึก - อาหารว่าง และอาหารเช้า
2. ห้องนอนรอเข้าเวร มีห้องสาหรับแพทย์ที่รอเข้าเวรดึก และสาหรับแพทย์เวรบ่ายที่ออกเวร
แล้วไม่สะดวกที่จะเดินทางกลับ โดยแบ่งเป็น ห้องพักแพทย์หญิงและห้องพักแพทย์ชาย
3. ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติสภากาชาดไทย รับสมัครนิสิตแพทย์เวชปฏิบัติซึ่ง อยู่เวรบ่ายที่
หน่วยฉุกเฉินไปปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรับบริจาคโลหิตตามสถานที่ต่างๆ ตามความสมัครใจ
4. เมื่อมีการแลกเวร ทั้งนิสิตแพทย์ และแพทย์ประจาบ้าน จะต้องเขียนใบแลกเวร โดยมี
ลายเซ็นของผู้แลก และผู้ให้แลกเวร แล้ววางไว้ในกล่องข้างบอร์ด ซึ่งติดตารางเวรอยู่หน้าห้องพักแพทย์หญิง
เพื่อการแก้ไขในใบเวรให้เป็นที่เรียบร้อย โดยเลขานุการของหน่วยฉุกเฉินหลังจากได้รับการอนุมัติจากแพทย์
หัวหน้าหน่วยฉุกเฉิน

Contenu connexe

Tendances

นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกtaem
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgKrongdai Unhasuta
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)taem
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555clio cliopata
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานPaleenui Jariyakanjana
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erKrongdai Unhasuta
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationstaem
 
Cpr 4th year [โหมดความเข้ากันได้]
Cpr 4th year [โหมดความเข้ากันได้]Cpr 4th year [โหมดความเข้ากันได้]
Cpr 4th year [โหมดความเข้ากันได้]Lukkid Benc
 
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)taem
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingVai2eene K
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 

Tendances (18)

เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpg
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
Ayutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage ScaleAyutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage Scale
 
First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in er
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situations
 
Cpr 4th year [โหมดความเข้ากันได้]
Cpr 4th year [โหมดความเข้ากันได้]Cpr 4th year [โหมดความเข้ากันได้]
Cpr 4th year [โหมดความเข้ากันได้]
 
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 

Similaire à 4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินtaem
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Dr. Obrom Aranyapruk
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5sripayom
 
Skill manual removal of placenta
Skill manual removal of placentaSkill manual removal of placenta
Skill manual removal of placentaHummd Mdhum
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีการพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีtechno UCH
 

Similaire à 4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก (20)

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
 
Introduction to em
Introduction to emIntroduction to em
Introduction to em
 
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
Skill manual removal of placenta
Skill manual removal of placentaSkill manual removal of placenta
Skill manual removal of placenta
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
ประเมินก่อน
ประเมินก่อนประเมินก่อน
ประเมินก่อน
 
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีการพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
 
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีการพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
 

Plus de งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 

Plus de งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (20)

6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
 
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
 
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
 
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
 
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
 
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
 
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
 
9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา
 

4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก

  • 1. หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ ายผู้ป่ วยนอก สานักงาน : ตึกจุฬาภรณ์ และ โทร. สายใน 4214, 4234, 4125, ตึกมงกุฏ - เพชรรัตน์ ชั้นล่าง 4553 - 5 หน่วยฉุกเฉิน คาจากัดความ หน่วยฉุกเฉิน คือ หน่วยที่ให้บริการเร่งด่วนเพื่อช่วยชีวิต ลดความทุกข์ทรมาน และป้ องกันความพิการ ลักษณะของผู้ป่วยที่เรียกว่า “ฉุกเฉิน” คือ 1. อุบัติเหตุ ทุกราย 2. ไม่ใช่อุบัติเหตุ บางราย ขอบเขตของการปฏิบัติงาน หน่วยฉุกเฉินเป็นหน่วยเดียวของฝ่ายผู้ป่วยนอก ซึ่งปฏิบัติงาน ตลอด 24 ชั่วโมง ทุกวันไม่มีวันหยุด เพื่อให้การดูแลรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ จนสามารถ 1. นาผู้ป่วยไปรักษาต่อไป 2. สิ้นสุดการรักษา ผู้ป่วยกลับบ้านได้ 3. รับผู้ป่วยไว้สังเกตอาการต่อ ปัจจุบันหน่วยฉุกเฉินมีห้องปฏิบัติงาน 3 ห้อง คือ 1. ห้องฉุกเฉิน สาหรับรักษาผู้ป่วยอาการหนัก ทั้งจากอุบัติเหตุและไม่ใช่อุบัติเหตุตลอด 24 ชั่วโมง การทางานแบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ Trauma และ Non-Trauma 2. ห้องสังเกตอาการ เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยฉุกเฉิน อยู่ที่ตึกจุฬาภรณ์ ชั้น 1 และตึกจุฬาภรณ์ ชั้น 2 สาหรับผู้ป่วยที่รอการวินิจฉัย, รอการรับเข้าอยู่ในโรงพยาบาลแบบฉุกฉินในกรณีที่เตียงในหอผู้ป่วยยังไม่ ว่าง 3. ห้องเบอร์ 9 อยู่ที่ตึกจักรพงษ์ชั้นล่าง เป็นห้องตรวจผู้ป่ วยที่มานอกเวลาราชการที่อาการ ไม่มาก (ระหว่างเวลา 16.00 - 24.00 น.) ในวันราชการและ 08.00 - 24.00 น. ในวันหยุดราชการ) เพื่อแบ่งเบา ภาระของห้องฉุกเฉินทาให้ห้องฉุกเฉินไม่แออัดเกินไป แพทย์ผู้ปฏิบัติงาน 1. นายแพทย์สุวิทย์ ศรีอัษฎาพร แพทย์หัวหน้าหน่วยฉุกเฉิน 2. นายแพทย์สมศักดิ์ คุปต์นิรัติศัยกุล แพทย์ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยฉุกเฉิน 3. นายแพทย์สุรินทร์ อัศววิทูรทิพย์ แพทย์ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยฉุกเฉิน
  • 2. 4. นายแพทย์ครองวงศ์ มุสิกถาวร อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 5. นายแพทย์ธนดล โรจนศานติกุล อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 6. แพทย์หญิงสุธาพร ล้าเลิศกุล อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 7. นายแพทย์อรรถสิทธิ์ โคมินทร์ อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 8. แพทย์หญิงปฏิมา พุทธไพศาล อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 9. แพทย์หญิงขวัญศิริ นราจีนรน อาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 10. แพทย์ประจาบ้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ปฏิบัติงานในห้องฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง 11. แพทย์ประจาบ้านปี ที่ 3 ภาควิชาอายุรศาสตร์ ปฏิบัติงาน non-trauma เวลา 08.00-16.00 น. วันราชการ และ 16.00-24.00 น. ทุกวัน 12. แพทย์ประจาบ้านปีที่ 2 ภาควิชาอายุรศาสตร์ ปฏิบัติงาน non-trauma ทุกวันเวลา 16.00- 24.00 น. 13. แพทย์ประจาบ้านปีที่ 1 ภาควิชาอายุรศาสตร์ ปฏิบัติงาน non-trauma ทุกวันราชการ ตลอด 24 ชม. 14. แพทย์ประจาบ้านเวชศาสตร์ฉุกเฉินปีที่ 1 , 2 , 3 ปฏิบัติงาน non – trauma หรือ trauma ทุก วันตลอด 24 ชม. 15. แพทย์ประจาบ้านปีที่ 1 ภาควิชาศัลยศาสตร์ ปฏิบัติงานในส่วน trauma ทุกวัน เวลา 08.00-24.00 น. 16. แพทย์ประจาบ้านปีที่ 1 จากทุกภาควิชา ยกเว้นภาควิชาอายุรศาสตร์, ศัลย-ศาสตร์ และ กุมารเวชศาสตร์ จะหมุนเวียนปฏิบัติงานทุกวันในส่วน trauma เวลา 00.00 - 08.00 น. และวันหยุดราชการเวลา 08.00 - 16.00 น. ในส่วน non-trauma 17. แพทย์ประจาบ้านปีที่ 1 และ 2 ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยเด็กฉุกเฉิน วันราชการ ตั้งแต่เวลา 16.00 - 08.00 น. ของวันรุ่งขึ้น และตลอด 24 ชั่วโมง ในวันหยุดราชการ 18. นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติจัดให้หมุนเวียนปฏิบัติงานรวมกับภาควิชาอายุรศาสตร์ ในการจัดปฏิบัติงาน (4 หน่วยกิต) 19. นิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 5 รายวิชา Ambulatory Medicine ขึ้นปฏิบัติงานเวลา 08.00-12.00 น. , 13.00-16.00 น. และ 16.00 – 24.00 น. 20. ห้องเบอร์ 9 มีแพทย์ประจาบ้านประจาเวรละ 3 คน เป็นจากภาควิชากุมาร-เวชศาสตร์ 1 คน ภาควิชาอายุรศาสตร์ 1 คน และหมุนเวียนจากภาควิชาต่างๆ อีก 1 คน
  • 3. ตารางสรุปการปฏิบัติงานของแพทย์ประจาบ้านในห้องฉุกเฉิน เวลาปฏิบัติงาน Trauma Non-trauma เวรเช้า 08.00 - 16.00 น. R1 ศัลย์ วันราชการ R1, R3 อายุรศาสตร์ วันหยุดราชการ R1 ฝ่ายต่าง ๆ , R1 อายุรศาสตร์ เวรบ่าย 16.00 - 24.00 น. R1 ศัลย์ R1, R2, R3 อายุรศาสตร์ เวรดึก 00.00 - 08.00 น. R1 ฝ่ายต่าง ๆ R1 อายุรศาสตร์ ตารางสรุปการปฏิบัติงานของแพทย์ประจาบ้านในห้องเบอร์ 9 วันราชการ 16.00 - 24.00 น. R เด็ก 1 คน, R Med 1 คน, R ภาควิชาต่าง ๆ 1 คน วันหยุดราชการ 08.00 - 16.00 น. 16.00 - 24.00 น. R เด็ก 1 คน, R Med 1 คน, R ภาควิชาต่าง ๆ 1 คน R เด็ก 1 คน, R Med 1 คน, R ภาควิชาต่าง ๆ 1 คน ผู้ป่ วยเด็ก วันราชการ R1, R2 เด็ก 16.00 - 08.00 น. วันรุ่งขึ้น วันหยุดราชการ R1, R2 เด็ก 24 ชั่วโมง ขีดความสามารถของหน่วยฉุกเฉิน หน่วยฉุกเฉิน สามารถดูแลรักษาและแก้ไขภาวะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. ช่วยชีวิต (resuscitation & life support) แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ 1.1 Trauma 1.2 Non-trauma 1.2.1 Cardiac arrest 1.2.2 Respiratory distress
  • 4. 1.2.3 Shock 1.2.4 Unconsciousness 1.2.5 Hemorrhage 1.2.6 Malignant hypertension 1.2.7 Intoxication 2. ลดความทุกข์ทรมานจากปัญหา 2.1 pain 2.2 high fever 2.3 convulsion disorder 2.4 acute psychiatric problem 2.5 wound 2.6 foreign body 2.7 retention of excreta 3. ป้ องกันความพิการ (prevention of disability) ได้แก่ hemiplegia และ paraplegia การปฏิบัติงาน 1. ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่จาเป็นต้องผ่านการตรวจของนิสิตแพทย์เวชปฏิบัติก่อนจึงจะปรึกษาแพทย์ ประจาบ้านฉุกเฉิน แต่ผู้ป่วยฉุกเฉินที่นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติตรวจทุกคน อยู่ในความรับผิดชอบของแพทย์ประจา บ้านฉุกเฉิน 2. ผู้ป่ วยอาการหนัก ต้องการการรักษาทันทีโดยอาศัยข้อมูลจากประวัติและการตรวจ ร่างกายไม่จาเป็นต้องรอผลจากห้องปฏิบัติการ 3. ถ้าจาเป็นต้องส่งเอ็กซเรย์หรือส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการให้ส่งเฉพาะที่จาเป็นและฉุกเฉิน เท่านั้น 4. ผู้ป่วยคดีทุกรายต้องแนบบัตรสีเขียวซึ่งประทับตรา “นิติเวช” ไว้กับบัตรตรวจโรคก่อน บันทึกข้อมูลในบัตรตรวจโรค เพื่อเตือนแพทย์ผู้รับผิดชอบผู้ป่วยว่า ผู้ป่วยรายนั้นเป็นผู้ป่วยคดี เช่น เมื่อจะส่ง เอ็กซเรย์ ต้องประทับตรา คาว่า “นิติเวช” ไว้บนใบสั่งเอ็กซเรย์ด้วยทุกครั้ง เพื่อเน้นให้ทางฝ่ายรังสีวิทยา ประทับตราคาว่า “นิติเวช” กลับมาในซองฟิล์ม เป็นการเตือนไม่ให้นาฟิล์มออกจากโรงพยาบาลเพราะเก็บไว้ เป็นหลักฐานทางนิติเวช
  • 5. การปรึกษา 1. ผู้ป่วยทุกราย ที่นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติตรวจ จะต้องปรึกษาแพทย์ประจาบ้านที่อยู่เวรใน หน่วยฉุกเฉิน 2. การปรึกษาแพทย์ประจาบ้านเวรฝ่ายหรือสาขาต่าง ๆ ให้ดาเนินการดังนี้ 2.1 ในเวลาราชการ ถ้าผู้ป่วยอาการหนักเมื่อให้การช่วยชีวิต และรักษาตามขั้นตอน แล้ว ให้รีบปรึกษาแพทย์ประจาบ้านแต่ละฝ่าย ให้มาดูผู้ป่ วยในหน่วยฉุกเฉิน ถ้าอาการไม่หนักให้การปฐม พยาบาลเบื้องต้น แล้วส่งผู้ป่วยไปตามฝ่ายต่างๆ โดยแจ้งให้แพทย์ในฝ่ายนั้นทราบก่อนส่งไป 2.2 นอกเวลาราชการ แพทย์ประจาบ้านเวรฝ่ายต่างๆ ต้องมาดูผู้ป่วยที่หน่วยฉุกเฉิน การเขียนบัตรตรวจโรค 1. ก่อนเขียนประวัติการตรวจรักษาทุกครั้ ง จะต้องลงเวลาที่เริ่มดูผู้ป่ วยทุกครั้ง ไม่ว่าจะเป็นนิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ หรือแพทย์เวรฉุกเฉิน หรือแพทย์ประจาบ้านที่รับปรึกษา 2. เขียนประวัติการตรวจร่างกายโดยย่อ รวมทั้งการแก้ปัญหา แผนการรักษาตลอดจนการแจ้ง ว่าได้สั่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ และเอกซเรย์อย่างไรบ้าง ได้ผลอย่างไรโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อสั่งยาให้ผู้ป่วย ทุกครั้ง ควรเขียนชื่อยา จานวนยา และวิธีใช้ในบัตรตรวจโรคพร้อมเซ็นชื่อให้ชัดเจน ตามด้วยรหัสประจาตัว เพื่อประโยชน์ในการติดตามการรักษาต่อไป การจ่ายยาและเวชภัณฑ์ ยาและเวชภัณฑ์ฉุกเฉินมีสารองไว้ในหน่วยฉุกเฉิน สามารถใช้ได้ทันที เมื่อใช้กับ ผู้ป่วยที่มี เงินจ่ายให้เขียนใบสั่งยาให้ผู้ป่วยซื้อจากห้องยานามาใช้คืน ถ้าผู้ป่วยไม่มีเงิน ไม่ต้องสั่งซื้อทางหน่วยฉุกเฉินจะ เบิกจากยาและเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล สารองไว้ใช้กับผู้ป่วยต่อไป แพทย์ประจาบ้าน มีสิทธิสั่งได้เฉพาะยาและเวชภัณฑ์ที่มีจาหน่ายในโรงพยาบาล ซึ่งมีรายชื่อ แจ้งไว้ในหน่วยฉุกเฉิน ถ้าผู้ป่วยจาเป็นต้องใช้ยาที่ไม่มีจาหน่ายในโรงพยาบาล อาจารย์แพทย์เท่านั้นที่มีสิทธิจะ สั่งได้โดยเซ็นชื่อสั่งยาในใบสั่งยาของโรงพยาบาล ตามด้วยรหัสประจาตัว เช่นกัน หากผู้ป่วยไม่มีเงินซื้อยาที่มีจาหน่ายในโรงพยาบาลเพื่อไปใช้ต่อที่บ้านให้ปฏิบัติดังนี้ - ที่หัวใบสั่งยาในเวลาราชการ เขียนว่า “ติดต่อ สังคมสงเคราะห์” และ เซ็นชื่อ กากับ ในกรณีผู้ป่วยซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่หรือครอบครัวเจ้าหน้าที่ต้องใช้ยาฉุกเฉิน - ในเวลาราชการ ให้ติดต่อห้องเจ้าหน้าที่
  • 6. - นอกเวลาราชการ เขียนว่า “เจ้าหน้าที่หรือ “ครอบครัวเจ้าหน้าที่” ไว้ที่หัวใบสั่งยา และเซ็นชื่อกากับ ยาและเวชภัณฑ์ ที่ต้องใช้ใบสั่งยาของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์แพทย์ประจาห้องฉุกเฉิน สามารถเซ็นเบิกยา หรือใช้ในกรณีฉุกเฉินได้ ผู้ป่ วยส่งต่อระหว่างเวร เมื่อการตรวจรักษายังไม่เสร็จ อยู่ในระหว่างการสังเกตอาการ ให้น้าเกลือ ให้เลือด หรือรอเตียง เพื่อรับไว้ในโรงพยาบาล ก่อนออกจากเวรต้องส่งเวรให้ผู้รับเวรใหม่รับทราบ และดาเนินการต่อ พร้อมกันทั้ง นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ และแพทย์ประจาบ้าน การนัดผู้ป่ วยมาโรงพยาบาลครั้งต่อไป 1. ผู้ป่วยคดี ผู้ป่วยคดีทุกคนให้ติดใบสีเขียว ประทับตราคาว่า “นิติเวช” ไว้ที่มุมล่างด้านขวา ของบัตรตรวจโรคแผ่นแรกและ 1.1 ถ้าได้รับการตรวจรักษาเสร็จสิ้นก่อน 11.00 น.ในวันราชการ ให้ส่งปรึกษาคลินิก นิติเวชได้ทันที 1.2 ถ้าการตรวจรักษาเสร็จสิ้นหลัง 11.00 น. ในวันราชการ หรือ เวลาใดก็ตามใน วันหยุดราชการ เมื่อผู้ป่วยกลับบ้านได้ให้เขียน ใบนัดสีเหลืองให้ผู้ป่วยมาคลินิกนิติเวชในวันราชการต่อมา เวลา 08.30 น. 1.3 ถ้าการตรวจรักษายังไม่เสร็จสิ้น แพทย์ยังคงสังเกตดูอาการผู้ป่วย หรือเป็นผู้ป่วย ที่รอรับไว้ในหน่วยฉุกเฉิน ไม่ต้องเขียนใบนัดสีเหลืองให้ผู้ป่วย แต่ให้แนบไว้กับบัตรตรวจโรค ถ้าไม่ส่งปรึกษา แพทย์นิติเวชในผู้ป่วยคดี แพทย์ประจาบ้านซึ่งอยู่เวรตามวันเวลาที่ผู้ป่วยมารับการรักษา หรือแพทย์ที่รับปรึกษา ผู้ป่วยรายนั้น ๆ จะต้องเป็นพยานในศาลเมื่อมีคดีเกิดขึ้น 2. ผู้ป่วยที่ไม่ใช่ผู้ป่วยคดี เมื่อได้ให้การรักษาตามความจาเป็นจากหน่วยฉุกเฉินแล้วควรนัดมา โรงพยาบาลอีก เพื่อ 2.1 รับการรักษาต่อไป โดยให้นัดพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญตามปัญหาของผู้ป่วย ยกเว้น คลินิกโรคหัวใจ และทางเดินอาหาร ต้องนัดโดยแพทย์โรคหัวใจ หรือทางเดินอาหารเท่านั้น แต่ถ้าผู้ป่วยมี ปัญหาโรคหัวใจ หรือทางเดินอาหารมารับการรักษาจากหน่วยฉุกเฉินและต้องรับการรักษาต่อไป ให้นัดมา คลินิกอายุรกรรมทั่วไป ตึก ภปร.ชั้น 1 เวลา 08.30 น. ได้ทุกวันราชการ 2.2 การศึกษา ให้นัดมาหน่วยฉุกเฉินในเวลาที่อาจารย์แพทย์จากภาควิชาอายุรศาสตร์ หรือศัลยศาสตร์มาสอนนิสิตแพทย์ฉุกเฉิน
  • 7. การรับผู้ป่ วยไว้ในโรงพยาบาล เป็ นสิทธิของแพทย์ประจาบ้าน แพทย์อาวุโสภาควิชาต่างๆ เท่านั้น โดยบันทึกไว้ ในบัตรตรวจโรคอย่างชัดเจนว่า “รับไว้” เวลาเท่าไร ฉุกเฉิน และที่ไหน แต่ในกรณีที่ไม่มีเตียงว่าง ให้เขียนด้วยว่ายังไม่มีเตียงว่าง และจะสั่งให้ทาอะไรต่อไป การรับ-ส่งผู้ป่ วยจากโรงพยาบาลอื่น 1. เมื่อผู้ป่วยฉุกเฉินต้องอยู่โรงพยาบาล แต่อาการไม่หนักและไม่มีที่รับไว้เมื่อให้การรักษา เบื้องต้นตามความเหมาะสมแล้ว แพทย์ประจาบ้านและแพทย์อาวุโสที่รับปรึกษาเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะให้ไปรับ การรักษาจากโรงพยาบาลอื่นโดยติดต่อผ่านศูนย์ส่งกลับ หรือโทรศัพท์ติดต่อเองพร้อมทั้งเขียนใบส่งต่อเป็น ทางการ และถ้าเป็นนอกเวลาราชการและผู้ป่วยต้องเดินทางไปด้วยรถพยาบาลของโรงพยาบาล ให้แพทย์ประจา บ้านเป็นผู้เขียนใบสั่งรถ 2. ผู้ป่วยฉุกเฉินที่ต้องการรับการรักษาต่อในโรงพยาบาลเอกชน หลังจากให้การปฐมพยาบาล แล้วญาติจะต้องเป็นผู้ติดต่อโรงพยาบาลเอกชนนั้นเอง และรับผิดชอบการเคลื่อนผู้ป่วยโดยเขียนคายินยอมลงใน แฟ้มตรวจโรค ลงวัน เวลา ที่รับออกไปและเซ็นชื่อกากับทุกครั้งในแฟ้มตรวจโรค แพทย์ประจาบ้านควรเขียนใบ ส่งต่อผู้ป่วยเพื่อประโยชน์ในการรักษาต่อไป เช่นกัน 3. ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แต่เดินทางมาจากต่างจังหวัด นอกเวลาราชการ ให้พิจารณาตามความ จาเป็นแล้วรอส่งพบแพทย์เฉพาะทางในเวลาราชการตามปัญหาของผู้ป่วย หรือปรึกษาแพทย์ประจาบ้านฝ่าย ต่างๆ เพื่อให้คาแนะนาไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลท้องถิ่นโดยเขียนใบส่งต่อเป็นทางการ 4. ผู้ป่วยที่ศูนย์อนามัย หรือโรงพยาบาลต่างๆ ส่งมาเป็นทางการเพื่อปรึกษาควรพิจารณาให้ เหมาะสมโดยปรึกษาแพทย์เฉพาะทางหรือนัดตรวจในคลินิกเฉพาะโรค ยกเว้นคลินิกโรคหัวใจ และคลินิก ทางเดินอาหาร ใบรับรองแพทย์ แพทย์ประจาบ้านที่ดูแลนิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ เป็นผู้รับผิดชอบในการออกใบรับรองแพทย์ ยกเว้นผู้ป่วยคดี เพราะถ้าแพทย์ประจาบ้านออกให้แล้ว แพทย์นิติเวชจะไม่รับผิดชอบต่อเมื่อออกใบรับรอง แพทย์แล้ว ควรบันทึกลงในบัตรตรวจโรคด้วยว่าได้ออกใบรับรองให้ผู้ป่วยหยุดพักนานเท่าไร ผู้ป่ วยประกันสังคม และผู้ป่ วยประกันอุบัติเหตุ
  • 8. สาหรับผู้ป่วยทั้ง 2 ประเภทนี้ ให้การรักษาเช่นเดียวกับผู้ป่วยทั่วไป ในกรณีที่ไม่ต้องรับไว้ใน โรงพยาบาล หรือไม่ต้องเฝ้าสังเกตอาการ แต่หากต้องได้รับการรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือรับไว้เฝ้ าสังเกต อาการนั้น ให้รับไว้ในตึกสวัสดิ์-ล้อม โอสถานุเคราะห์ (ตึกผู้ป่ วยประกันสังคม) การปฏิบัติเมื่อผู้ป่ วยถึงแก่กรรม 1. ลงความเห็นในใบมรณบัตรเมื่อมีประวัติผู้ป่วยรับการรักษาประจาในโรงพยาบาล และถึงแก่ กรรมด้วยสาเหตุจากโรคนั้น 2. ศพคดี หรือ สงสัย เขียนรายงานขอทาการตรวจศพ เช่นเดียวกับการเขียนในแฟ้ มตรวจโรค แต่ไม่ลงความเห็นในใบมรณบัตร เพื่อให้แพทย์นิติเวชรับผิดชอบต่อไป สวัสดิการ 1. อาหาร ในระหว่างอยู่เวร นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ และแพทย์ประจาบ้านจะได้รับอาหารจาก ฝ่ายโภชนวิทยาและโภชนบาบัด ดังนี้ เวรเช้า - อาหารเช้า และอาหารกลางวัน เวรบ่าย - อาหารเย็น และอาหารมื้อค่า เวรดึก - อาหารว่าง และอาหารเช้า 2. ห้องนอนรอเข้าเวร มีห้องสาหรับแพทย์ที่รอเข้าเวรดึก และสาหรับแพทย์เวรบ่ายที่ออกเวร แล้วไม่สะดวกที่จะเดินทางกลับ โดยแบ่งเป็น ห้องพักแพทย์หญิงและห้องพักแพทย์ชาย 3. ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติสภากาชาดไทย รับสมัครนิสิตแพทย์เวชปฏิบัติซึ่ง อยู่เวรบ่ายที่ หน่วยฉุกเฉินไปปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรับบริจาคโลหิตตามสถานที่ต่างๆ ตามความสมัครใจ 4. เมื่อมีการแลกเวร ทั้งนิสิตแพทย์ และแพทย์ประจาบ้าน จะต้องเขียนใบแลกเวร โดยมี ลายเซ็นของผู้แลก และผู้ให้แลกเวร แล้ววางไว้ในกล่องข้างบอร์ด ซึ่งติดตารางเวรอยู่หน้าห้องพักแพทย์หญิง เพื่อการแก้ไขในใบเวรให้เป็นที่เรียบร้อย โดยเลขานุการของหน่วยฉุกเฉินหลังจากได้รับการอนุมัติจากแพทย์ หัวหน้าหน่วยฉุกเฉิน