SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  36
ปีพิธีกรรม (Liturgical Year) 
และ 
พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ 
(Eucharistic Celebration)
เทศกาลในพิธีกรรม 
1. เตรียมรับเสด็จฯ 
2. พระคริสตสมภพ 
4. ปัสกา 
3. มหาพรต 
5. ปกติธรรมดา
ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 
1. เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า (Advent) 
เริ่มต้นวันอาทิตย์ สี่สัปดาห์ก่อนคริสต์มาส 
จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม เป็นการเตรียมตัวเพื่อ 
ช่วงเวลาของพระคริสตสมภพ ที่กาลังจะมาถึง 
ช่วงเวลาแห่งการเตรียมนี้ เรียกว่า “เทศกาลเตรียม 
รับเสด็จฯ” 
เรารอคอยด้วยความหวัง ถึงการเสด็จมา 
ของพระเยซูเจ้า พร้อมกับพระแม่มารีอา
ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 
2. เทศกาลพระคริสตสมภพ (Christmastide) 
เริ่มต้นจากวันคริสต์มาส ถึงวันฉลองการรับพิธีล้าง 
ของพระเยซูเจ้า ในระหว่างสัปดาห์สุดท้ายของ 
เดือนธันวาคม และสัปดาห์แรกของเดือนมกราคม 
คริสตชนยังคงอยู่ในเทศกาลพระคริสตสมภพ ใน 
ช่วงเวลาแห่งความชื่นชมยินดีเหล่านี้ เราจะต้อนรับ 
การเสด็จมาของพระผู้ไถ่
ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 
2. เทศกาลพระคริสตสมภพ (ต่อ) 
- การประกาศถึงการแสดงองค์ของพระคริสตเจ้า (God’s epiphany) 
พระสิริรุ่งโรจน์ของพระเป็นเจ้ามายังแผ่นดิน 
ช่วงเวลาเตรียมรับเสด็จและช่วงเวลาพระคริสตสมภพนี้ คือ 
ช่วงเวลาแห่งการเตรียมตัวและการเฉลิมฉลอง นาเราให้ผ่านพ้นปีเก่า 
และเข้าสู่ปีใหม่ สาหรับคริสตชนแล้ว ปีของเรามิใช่เพียงการหมุนเวียน 
ไปของวันเวลาเท่านั้น แต่การเวียนไปจนครบรอบปีของคริสตชน คือ 
การนาออกนอกเวลาไปสู่ความรุ่งเรืองแห่งนิรันดร์กาลในพระเจ้า
ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 
3. เทศกาลมหาพรต 
เริ่มจากวันพุธรับเถ้า (Ash Wednesday) 
มหาพรตคือช่วงเวลา 40 วันแห่งการเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่ปัสกา 
เลข 40 เตือนให้เราระลึกถึงฝนที่ตกตลอด 40 วัน 40 คืน 
ในสมัยโนอาห์ เพื่อชาระล้างความชั่วร้ายของแผ่นดิน 
ให้สะอาดหมดจด 
40 ปี แห่งการเดินทางของชาวฮีบรูในทะเลทราย เพื่อ 
จะเข้าสู่ดินแดนแห่งพระสัญญา 
40 วัน ที่พระเยซูเจ้าทรงอดอาหาร และถูกประจญในถิ่น 
ทุรกันดาร
ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 
3. เทศกาลมหาพรต (ต่อ) 
มหาพรต คือช่วงเวลาแห่งการภาวนาที่เข้มข้น การอดอาหาร 
การพลีกรรม และประกอบกิจศรัทธา ห้วงเวลาแห่งการให้ความ 
สดชื่นแก่โลกของเรา เพื่อไปสู่บ้านของพระเจ้า 
- สัปดาห์ศักด์สิิทธ์ิ (Paschal Triduum) เราคริสตชน จะรักษา 
วันพระเจ้านี้ ได้อย่างเหนียวแน่น เราอดอาหารในวันศุกร์ 
ศักด์สิิทธ์ิ และชิดสนิทกับพระด้วยการตื่นเฝ้าในวันเสาร์ศักด์ิสิทธ์ิ 
เพราะเราตื่นเฝ้า และรอคอยให้การเสด็จกลับคืนพระชนมชีพใน 
วันอาทิตย์ปัสกาที่กาลังมาถึงเรา ด้วยความกระหายและโหยหา 
พระองค์
ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 
3. เทศกาลมหาพรต (ต่อ) 
การร่วมชิดสนิท และการอวยพร วันศุกร์ศักด์ิสิทธ์ิ วันเสาร์ศักด์ิสิทธ์ิ 
และวันอาทิตย์ปัสกานี้ รวมเรียกว่า “Paschal Triduum” หมายถึง 
สามวันแห่งการผ่านพ้น Triduum คือ หัวใจของปีพิธีกรรม ส่วน 
วันแห่งความตาย การถูกขัง และการกลับคืนชีพของพระเยซูคริสตเจ้า 
ตลอดช่วงวันอันศักด์สิิทธ์ินี้ เราจะฉลองการเสดจ็ผ่านความตายของ 
พระเยซูเจ้า (และของเรา) ด้วยการโปรดศีลล้างบาป พิธียืนยันการเป็น 
คริสตชน และการรับศีลมหาสนิทในช่วงปัสกานี้ (แก่คริสตชนใหม่)
ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 
4. เทศกาลปัสกา เริ่มจากวันอาทิตย์ปัสกา จนถึงวันอาทิตย์สมโภช 
พระจิตเจ้า 
เทศกาลปัสกา คือ ช่วงเวลา 50 วัน แห่งการ 
เฉลิมฉลอง ซึ่งอยู่ถัด Triduum นับได้ว่าเป็น 
เทศกาลที่เก่าแก่ และงดงามที่สุดของพระศาสนจักร 
วันแห่งความชื่นชมยินดีของโลก ซึ่งตื่นจากการ 
หลับไหล 
50 วัน (เปนเตก๊อสเต) คือ สัปดาห์ที่ทวีคูณ 
7 x 7 = 49 บวกอีก 1 วันอาทิตย์ปัสกา ดังนั้น 
เทศกาลปัสกาจึงมีวันอาทิตย์ 8 ครั้ง (8 วัน) ซึ่งเป็น 
สัญลักษณ์ถึงความลึกลับของนิรันดรภาพ
ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 
4. เทศกาลปัสกา (ต่อ) 
แต่ละสัปดาห์ เรามีวันพระเจ้า และแต่ละปี เรามีเทศกาลปัสกา 50 วันแห่ง 
การเปล่งเสียง “อัลเลลูยา” สรรเสริญแด่พระเจ้า 50 วัน แห่งการใช้ชีวิต 
ตามบทบัญญัติแห่งความยุติธรรม และสันติสุข ซึ่งเต็มเปี่ยมในตัวเรา 
เมื่อรวมท้งั 3 ช่วงเข้าด้วยกัน คือ มหาพรต สัปดาห์ศักด์สิิทธ์ิและ 
ปัสกา จึงกลายเป็นการผลิบานที่ศักด์สิิทธ์ิของพระศาสนจักร
5. เทศกาลธรรมดา 
ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 
เป็นเทศกาลที่แทรกอยู่ระหว่าง เทศกาลพระคริสตสมภพ 
กับมหาพรต และระหว่างเทศกาลปัสกา กับเทศกาลเตรียม 
รับเสด็จพระคริสตเจ้า เป็นเวลาประมาณ 34 สัปดาห์ 
นอกเหนือไปจากเทศกาลสาคัญ ของพระศาสนจักรแล้ว 
สัปดาห์เหล่านี้เรียกว่า เทศกาลธรรมดา ดังนั้นในแต่ละ 
สัปดาห์จึงมีการนับเป็นตัวเลข เพื่อช่วยให้เราแบ่งการอ่าน 
บทอ่าน บทสวดต่างๆ ในหนังสือพิธีกรรมได้อย่างถูกต้อง 
และรวมท้งัหนังสือสวดเป็นทางการ ของพระศาสนจักร 
ที่เรียกว่าหนังสือทาวัตรอีกด้วย
ปีพิธีกรรม 
1. 
2. 
3. 
4. 
5. 
5.
1. เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า 
สมโภชพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล 8 ธค.
2. เทศกาลพระคริสตสมภพ 
สมโภชพระคริสตสมภพ 25 ธค. 
ฉลองครอบครัวศักด์ิสิทธ์ิของพระเยซูเจ้า 
สมโภชพระนางมารีพระชนนีพระเป็นเจ้า 
สมโภชพระคริสตเจ้าแสดงองค์
3. เทศกาลมหาพรต 
วันอาทิตย์ใบลาน 
วันพฤหัสศักด์ิสิทธ์ิ 
วันศุกร์ศักด์ิสิทธ์ิ 
วันเสาร์ศักด์ิสิทธ์ิ
4. เทศกาลปัสกา 
สมโภชปัสกา 
สมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ 
สมโภชพระจิตเจ้า
5. เทศกาลธรรมดา 
ฉลองพระเยซูเจ้าทรงรับพิธีล้าง
5. เทศกาลธรรมดา สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากลจักรวาล 
สมโภชนักบุญทั้งหลาย 
สมโภชแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ 15 สค. 
สมโภชพระวรกายและพระโลหิตของพระคริสตเจ้า 
สมโภชพระตรีเอกภาพ
พิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ) 
พิธีมิสซาฯ คือ พิธีบูชาขอบพระคุณ ในความเป็นหนึ่งเดียวกัน 
ของคริสตชน โดยมีองค์พระเยซูเจ้าเอง เป็นเครื่องบูชาเพื่อ 
ไถ่บาปแทนเรามนุษย์ อาศัยพระกาย และพระโลหิต ที่ยอมสละ 
และพลีชีวิตเพอื่เรา ดงันั้น พิธีมิสซาฯ จึงควรเป็นพิธีของ 
ส่วนรวมในความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน ที่คริสตชนจะ 
ขอบพระคุณพระเจ้า ที่ได้ทรงประทานพระบุตรของพระองค์ 
ลงมาไถ่บาปแทนเรามนุษย์ทุกคน
พิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ) 
ในความเป็นจริง คาว่า “มิสซา” หมายถึง “การถูกส่งไป” เพื่อ 
ประกาศข่าวดี และเป็นแบบอย่าง รวมทั้งมอบตนเอง และชีวิตให้มี 
คุณค่าต่อคนอื่นๆ เช่นเดียวกันกับที่เราได้รับจากพระเจ้า 
ความหมายที่แท้จริงของคาว่ามิสซา จึงไม่ถูกต้องตรงกับ 
ที่เป็นอยู่ในเวลานี้ เราจึงควรเรียกพิธีกรรมในปัจจุบันว่า 
“พิธีบูชาขอบพระคุณ” (Eucharistic Celebration) โดยเน้นที่ 
ความหมายของพิธีกรรมว่า เป็นการขอบพระคุณอย่างแท้จริง คือ 
พระเยซูเจ้า เป็นทั้งผู้ถวาย และเป็นเครื่องบูชาเอง โดยผ่านทางพิธีการ 
หักปังบนพระแท่นเพื่อขอบพระคุณพระบิดา สาหรับการส่งพระบุตร 
ให้มาไถ่กู้มนุษยชาติ จะเห็นได้ว่าคา ว่ามิสซา จึงไม่ตรงกับคา ศัพท์ และ 
ความหมายทางพิธีกรรม เพียงแต่มีความเข้าใจ และถือกันมาจาก 
ธรรมเนียมประเพณีเดิมมากกว่า
พิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ) 
ในพิธีมิสซาฯ คริสตชนเชื่อว่า องค์พระเยซูเจ้าประทับอยู่ 
อย่างแท้จริงใน 3 วิธีการ คือ 
1. จากพระวาจาของพระองค์ ในบทอ่านจากพระคัมภีร์ 
2. ระหว่างการเสกปัง และเหล้าองุ่น เป็นช่วงเวลาที่สาคัญที่สุด 
ในการที่พระเยซูเจ้าจะสถิตอยู่ในพิธีมิสซาฯ เพราะเป็นการ 
รื้อฟื้นการเลี้ยงอาหารค่ามื้อสุดท้ายของพระเยซูเจ้า 
3. การรับศีลมหาสนิท ซึ่งเป็น “ปังทรงชีวิต”
พิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ) 
เมื่อพิธีมิสซาฯ สิ้นสุดแล้ว พระเยซูเจ้ายังคงประทับอยู่ใน 
ศีลมหาสนิท ธรรมเนียมการเก็บรักษาศีลมหาสนิทไว้หลังมิสซา 
จึงเกิดขึ้น เพราะความต้องการที่จะใช้เป็นศีลเสบียง สาหรับคน 
เจ็บป่วย และแจกศีลแก่ผู้ที่ไม่สามารถมาร่วมพิธีมิสซาฯ ได้ จึงเกิด 
ธรรมเนียม “การเฝ้าศีล” เกิดขึ้นในภายหลังด้วย จะเห็นได้ว่า มิสซา 
เกี่ยวข้องโดยตรงกับชีวิตคริสตชน ไม่ใช่เฉพาะเพียงแต่พิธีกรรม 
ภายนอกเท่านั้น หรือการบริจาคทาน คริสตชนทุกคนควรมีส่วนร่วม 
ในพิธีกรรมต่างๆที่ประกอบขึ้นทุกขั้นตอน
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
พิธีการต่างๆ ของพิธีมิสซาฯนั้น ประกอบด้วยภาคต่างๆ ดังนี้ 
1. ภาคเริ่มพิธี 
ต้งัแต่เริ่มพิธี ไปจนถึงบทภาวนาของประธาน (Collecta) 
2. ภาควจนพิธีกรรม 
เริ่มจากบทอ่านแรกจากพันธสัญญาเดิม บทอ่านที่สองซึ่งเป็นบทจดหมาย 
หรือหนังสืออื่นๆ ในพันธสัญญาใหม่ และพระวรสารซึ่งถือเป็นพระวาจา 
ของพระเจ้าที่ตรัสผ่านทางองค์พระบุตร คือ พระเยซูเจ้า การเทศน์ 
เตือนใจของพระสงฆ์ การประกาศยืนยันความเชื่อ และบทภาวนา 
ของมวลชน
3. ภาคศีลมหาสนิท 
เริ่มจากภาคถวายเครื่องบูชา จนถึงบทภาวนาหลังรับศีล 
คือ การเตรียมเครื่องบูชา - การเสกศีลฯ และการรับศีลฯ เป็นต้น 
4. ภาคปิดพิธี 
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
การอวยพร และการส่งไป ที่ให้เรากลับไปสู่ชีวิต 
กับเพื่อนพี่น้องในสังคมของเราต่อไป
1. ภาคเริ่มพิธี 
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
เริ่มจากเพลงแห่เข้า (ในความเป็นจริงจะไม่มีเพลงก็ได้ แต่การที่มี 
เพลง เพื่อให้สัตบุรุษรวมเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน เพื่อสรรเสริญ 
พระเจ้า และถือเป็นการภาวนาอย่างหนึ่ง เพลงในพิธีกรรมที่ดี 
ควรเป็นเพลงที่สื่อความหมาย ให้เข้าใจในพิธีกรรม และร่วมจิตใจได้) 
- คาทักทาย - การสารภาพความผิด - บทกีรีเอ - (พัฒนามาจากบท 
ลีตานีอาในยุคแรกเริ่ม) -บทกลอรีอา และจบที่บทภาวนาของประธาน 
ซึ่งเป็นช่วงเชื่อมต่อไปสู่ช่วงที่สอง ในภาควจนพิธีกรรม
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
1. ภาคเริ่มพิธี (ต่อ) 
สาระโดยรวมของภาคเริ่มพิธีนี้ มีจุดประสงค์เพื่อเริ่มต้น 
นา และเตรียมให้บรรดาสัตบุรุษที่ชุมนุมอยู่ด้วยกันมีความ 
รู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกัน และเป็นการการโน้มน้าวจิตใจให้พร้อม 
ที่จะฟังพระวาจาของพระเจ้าอย่างถูกต้อง และให้เฉลิมฉลอง 
ศีลมหาสนิทอย่างสมควร
2. ภาควจนพิธีกรรม 
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
ภาควจนพิธีกรรมนี้ เป็นส่วนหนึ่งของพิธีที่ชาวยิว 
ปฏิบัติกันมาแต่เดิม ก่อนยุคของพระเยซูคริสตเจ้า โดย 
ในพิธีมิสซาฯ จะจัดให้มี “โต๊ะพระวาจา” หรือธรรมาสน์ 
เพื่อใช้อ่านพระวาจาของพระเป็นเจ้า แยกออกจาก 
“โต๊ะศีลมหาสนิท” หรือพระแท่น อันเป็นจุดสาคัญ 
ที่สุดของพิธีกรรม
2. ภาควจนพิธีกรรม (ต่อ) 
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
การอ่านบทอ่าน ไม่ใช่หน้าที่ของประธาน แต่เป็นหน้าที่ของศาสนบริกร 
เช่น สังฆานุกร หรือผู้อ่านพระคัมภีร์ สาหรับการอ่านพระวรสารนั้น 
เป็นหน้าที่ของสังฆานุกร หรือประธานในพิธี จะต้องแสดงออกถึงการ 
คารวะอย่างยิ่งต่อพระวรสารที่อ่าน โดยให้เกียรติอย่างพิเศษกว่าบทอ่าน 
อื่น ๆ ไม่ว่าในการเลือกผู้อ่านระดับศาสนบริกร หรือพระสงฆ์เอง 
สัตบุรุษเอง ก็ต้องแสดงความคารวะอย่างพิเศษโดยการยืนฟัง และ 
พนมมืออย่างสารวม
2. ภาควจนพิธีกรรม (ต่อ) 
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
ในระหว่างการอ่านบทอ่าน จะมีการร้องเพลงคั่น 
ในช่วงแรกจะเป็นเพลงสดุดี (Psalms) 
และส่วนที่สองจะเป็นเพลงสรรเสริญ (Acclamation) 
หรือเพลง Hymn บทอัลเลลูยา ซึ่งจะร้องก่อน 
การอ่านพระวรสาร
2. ภาควจนพิธีกรรม (ต่อ) 
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
การเทศนาเตือนใจ (Homily) เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม เป็นส่วน 
ที่จาเป็นในการหล่อเลี้ยงชีวิตคริสตชน และจะต้องอธิบายบางแง่ 
ในบทอ่านจากพระคัมภีร์ของมิสซาประจาวันนั้น ๆ การเทศนาเตือนใจ 
มีลักษณะพิเศษ แตกต่างกว่าการเทศน์ในรูปอื่น เพราะการเทศน์แบบนี้ 
เป็นการเทศน์เพื่ออธิบาย หรือโน้มน้าวจิตใจผู้ฟัง ให้ปฏิบัติตาม 
พระวาจาของพระเจ้า ที่ตรัสกับเราผ่านทางพระคัมภีร์ มากกว่าจะมุ่ง 
เน้นแบบการสอนศาสนาให้คนกลับใจ (Evangelization) หรือการเทศน์ 
แบบสอนคาสอน (Catechesis)
2. ภาควจนพิธีกรรม (ต่อ) 
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
เมื่อพระสงฆ์เทศน์เตือนใจแล้ว จะเป็นการประกาศยืนยันความเชื่อ 
(Credo) เพื่อให้ประชากรเห็นพ้อง และสนองตอบพระวาจาของ 
พระเจ้า ที่ได้ฟังในบทอ่าน และการเทศน์ และให้รื้อฟื้นข้อความเชื่อ 
ก่อนที่จะเริ่มพิธีศีลมหาสนิท และยังนับว่าเป็นบทสรุป 
“ประวัติศาสตร์แห่งความรอด” ซึ่งสัตบุรุษประกาศยืนยันความเชื่อ 
ของพระศาสนจักรที่มีมาแต่เดิม รวมทั้งแสดงความหวังที่จะมี 
ส่วนร่วมในชีวิตนิรันดร กับพระเจ้าในบั้นปลายด้วย 
บทภาวนาเพื่อมวลชน มีขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงหน้าที่ของ 
คริสตชนที่จะต้องภาวนาเพื่อมนุษยโลกในสังคม ในเรื่องต่างๆ ที่ 
พระศาสนจักรได้กาหนดไว้
3. ภาคศีลมหาสนิท 
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
เริ่มจากการเตรียมเครื่องบูชา โดยต้องเตรียมพระแท่น ซึ่งเป็น 
ศูนย์กลางของพิธีกรรมศีลมหาสนิททั้งมวล โดยปูผ้ารอง 
ถ้วยกาลิกส์ และจานศีล (Corporal) นาผ้าเช็ดถ้วยกาลิกส์ 
(Purificator) ถ้วยกาลิกส์ และหนังสือมิสซาวางบนพระแท่น 
และนาแผ่นปัง และเหล้าองุ่นมาเตรียมไว้ รวมทั้งมีการบริจาค 
ใส่ถุงทานสาหรับคนยากไร้ หรือทางวัดด้วย
3. ภาคศีลมหาสนิท (ต่อ) 
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
คาภาวนาแห่งศีลมหาสนิท หรือการเสกปัง และเหล้าองุ่นให้เป็น 
พระกาย และพระโลหิตของพระเยซูเจ้า ถือเป็นหัวใจสาคัญของ 
พิธีมิสซาฯ ประกอบด้วยการเสกศีลเพื่อระลึกถึง และรื้อฟื้นถึง 
การตั้งศีลมหาสนิทของพระเยซูเจ้า ในอาหารค่า มื้อสุดท้ายก่อน 
ทรงรับทรมาน และสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน การขับร้องเพลง 
ศักด์สิิทธ์ิ บทข้าแต่พระบิดา การบิปัง และการรับศีลมหาสนิท 
ของสัตบุรุษ ซึ่งการรับศีลมหาสนิท นับว่าเป็นส่วนสาคัญยิ่งในพิธี 
มิสซาบูชาขอบพระคุณพระเจ้า
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
3. ภาคศีลมหาสนิท (ต่อ) 
การรับศีลมหาสนิทให้ความหมายหลายประการเช่น 
1. เป็นการร่วมสนิท เป็นหนึ่งเดียวกับพระเยซูเจ้า 
2. เป็นการร่วมมีส่วนในงานกอบกู้ของพระเยซูเจ้า 
3. เป็นการร่วมสนิทสัมพันธ์กับพี่น้องคริสตชนด้วยกัน
4. ภาคปิดพิธี 
เมื่อสัตบุรุษรับศีลเสร็จเรียบร้อยแล้ว 
จะเข้าสู่ภาคปิดพิธี ในภาคนี้ ทางวัด 
สามารถประกาศข่าวต่างๆให้สัตบุรุษ 
ทราบ จากนั้น จะเป็นการอา ลา และ 
อวยพร 
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 
ข้อสังเกตที่คริสตชนบางกลุ่ม อาจจะเกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน 
เกี่ยวกับพิธีมิสซาฯ คือ จริงๆ แล้ว การแก้บาป (ศีลอภัยบาป) 
ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของพิธีมิสซาฯ สัตบุรุษสามารถรับศีลอภัยบาป 
ได้ตลอดเวลา แม้ไม่ใช่เวลามิสซา แต่การที่มีการแก้บาปก่อนพิธี 
มิสซาฯนั้น ก็เพื่อประโยชน์ในด้านการอภิบาลสัตบุรุษ คืออา นวย 
ความสะดวกแก่สัตบุรุษที่มาวัดอาทิตย์ละครั้ง รวมทั้งทา ให้การ 
ร่วมพิธีมิสซาฯของสัตบุรุษที่รับศีลอภัยบาปแล้ว มีความหมายมาก 
ยิ่งขึ้น เป็นการเสริมสร้างจิตใจ แต่สิ่งที่ควรส่งเสริมคุณค่า และ 
ความหมายของศีลอภัยบาปนั้น สัตบุรุษควรรับศีลอภัยบาปอย่าง 
สม่าเสมอ ในเวลาใดก็ได้ที่เหมาะสม และมีความต้องการคืนดีกับ 
พระ ซึ่งไม่เพียงก่อนพิธีมิสซาฯ เท่านั้น

Contenu connexe

Tendances

อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียPadvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Nattha Namm
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdfNoeyWipa
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวDnnaree Ny
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1Noo Suthina
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร PopulationPat Sn
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 

Tendances (20)

ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่-10-การลำเลียงของพืช.pdf
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 

Similaire à พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาKrusangworn
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาKrusangworn
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาlinda471129101
 
เตรียมรับเสด็จ
เตรียมรับเสด็จเตรียมรับเสด็จ
เตรียมรับเสด็จThe Vatican
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาprimpatcha
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาprimpatcha
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาprimpatcha
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑลปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑลThe Vatican
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21Krusangworn
 
ปฏิทินยุคโบราณ
ปฏิทินยุคโบราณปฏิทินยุคโบราณ
ปฏิทินยุคโบราณUrassaya Thanarujeewong
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนThammasat University
 
บุบผา
บุบผาบุบผา
บุบผา0856124557
 

Similaire à พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ (20)

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
เตรียมรับเสด็จ
เตรียมรับเสด็จเตรียมรับเสด็จ
เตรียมรับเสด็จ
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑลปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
 
ปฏิทินยุคโบราณ
ปฏิทินยุคโบราณปฏิทินยุคโบราณ
ปฏิทินยุคโบราณ
 
วั
วัวั
วั
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
บุบผา
บุบผาบุบผา
บุบผา
 

Plus de The Vatican

สถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรม
สถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรมสถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรม
สถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรมThe Vatican
 
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯThe Vatican
 
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯรายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯThe Vatican
 
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรมสถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรมThe Vatican
 
ภาพประกอบพิธีกรรม
ภาพประกอบพิธีกรรมภาพประกอบพิธีกรรม
ภาพประกอบพิธีกรรมThe Vatican
 
พิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณพิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณThe Vatican
 
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณบทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณThe Vatican
 
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณThe Vatican
 
พิธีตรีวารปัสกา
พิธีตรีวารปัสกาพิธีตรีวารปัสกา
พิธีตรีวารปัสกาThe Vatican
 
การประดับดอกไม้ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
การประดับดอกไม้ในพิธีบูชาขอบพระคุณการประดับดอกไม้ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
การประดับดอกไม้ในพิธีบูชาขอบพระคุณThe Vatican
 
การอำลาบิดามารดาในพิธีบวชพระสงฆ์
การอำลาบิดามารดาในพิธีบวชพระสงฆ์การอำลาบิดามารดาในพิธีบวชพระสงฆ์
การอำลาบิดามารดาในพิธีบวชพระสงฆ์The Vatican
 
บทบาทของประธานในพิธีสหบูชาขอบพระคุณ
บทบาทของประธานในพิธีสหบูชาขอบพระคุณบทบาทของประธานในพิธีสหบูชาขอบพระคุณ
บทบาทของประธานในพิธีสหบูชาขอบพระคุณThe Vatican
 

Plus de The Vatican (12)

สถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรม
สถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรมสถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรม
สถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรม
 
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
 
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯรายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
 
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรมสถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
 
ภาพประกอบพิธีกรรม
ภาพประกอบพิธีกรรมภาพประกอบพิธีกรรม
ภาพประกอบพิธีกรรม
 
พิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณพิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณบทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
พิธีตรีวารปัสกา
พิธีตรีวารปัสกาพิธีตรีวารปัสกา
พิธีตรีวารปัสกา
 
การประดับดอกไม้ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
การประดับดอกไม้ในพิธีบูชาขอบพระคุณการประดับดอกไม้ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
การประดับดอกไม้ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
การอำลาบิดามารดาในพิธีบวชพระสงฆ์
การอำลาบิดามารดาในพิธีบวชพระสงฆ์การอำลาบิดามารดาในพิธีบวชพระสงฆ์
การอำลาบิดามารดาในพิธีบวชพระสงฆ์
 
บทบาทของประธานในพิธีสหบูชาขอบพระคุณ
บทบาทของประธานในพิธีสหบูชาขอบพระคุณบทบาทของประธานในพิธีสหบูชาขอบพระคุณ
บทบาทของประธานในพิธีสหบูชาขอบพระคุณ
 

พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ

  • 1. ปีพิธีกรรม (Liturgical Year) และ พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ (Eucharistic Celebration)
  • 2. เทศกาลในพิธีกรรม 1. เตรียมรับเสด็จฯ 2. พระคริสตสมภพ 4. ปัสกา 3. มหาพรต 5. ปกติธรรมดา
  • 3. ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 1. เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า (Advent) เริ่มต้นวันอาทิตย์ สี่สัปดาห์ก่อนคริสต์มาส จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม เป็นการเตรียมตัวเพื่อ ช่วงเวลาของพระคริสตสมภพ ที่กาลังจะมาถึง ช่วงเวลาแห่งการเตรียมนี้ เรียกว่า “เทศกาลเตรียม รับเสด็จฯ” เรารอคอยด้วยความหวัง ถึงการเสด็จมา ของพระเยซูเจ้า พร้อมกับพระแม่มารีอา
  • 4. ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 2. เทศกาลพระคริสตสมภพ (Christmastide) เริ่มต้นจากวันคริสต์มาส ถึงวันฉลองการรับพิธีล้าง ของพระเยซูเจ้า ในระหว่างสัปดาห์สุดท้ายของ เดือนธันวาคม และสัปดาห์แรกของเดือนมกราคม คริสตชนยังคงอยู่ในเทศกาลพระคริสตสมภพ ใน ช่วงเวลาแห่งความชื่นชมยินดีเหล่านี้ เราจะต้อนรับ การเสด็จมาของพระผู้ไถ่
  • 5. ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 2. เทศกาลพระคริสตสมภพ (ต่อ) - การประกาศถึงการแสดงองค์ของพระคริสตเจ้า (God’s epiphany) พระสิริรุ่งโรจน์ของพระเป็นเจ้ามายังแผ่นดิน ช่วงเวลาเตรียมรับเสด็จและช่วงเวลาพระคริสตสมภพนี้ คือ ช่วงเวลาแห่งการเตรียมตัวและการเฉลิมฉลอง นาเราให้ผ่านพ้นปีเก่า และเข้าสู่ปีใหม่ สาหรับคริสตชนแล้ว ปีของเรามิใช่เพียงการหมุนเวียน ไปของวันเวลาเท่านั้น แต่การเวียนไปจนครบรอบปีของคริสตชน คือ การนาออกนอกเวลาไปสู่ความรุ่งเรืองแห่งนิรันดร์กาลในพระเจ้า
  • 6. ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 3. เทศกาลมหาพรต เริ่มจากวันพุธรับเถ้า (Ash Wednesday) มหาพรตคือช่วงเวลา 40 วันแห่งการเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่ปัสกา เลข 40 เตือนให้เราระลึกถึงฝนที่ตกตลอด 40 วัน 40 คืน ในสมัยโนอาห์ เพื่อชาระล้างความชั่วร้ายของแผ่นดิน ให้สะอาดหมดจด 40 ปี แห่งการเดินทางของชาวฮีบรูในทะเลทราย เพื่อ จะเข้าสู่ดินแดนแห่งพระสัญญา 40 วัน ที่พระเยซูเจ้าทรงอดอาหาร และถูกประจญในถิ่น ทุรกันดาร
  • 7. ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 3. เทศกาลมหาพรต (ต่อ) มหาพรต คือช่วงเวลาแห่งการภาวนาที่เข้มข้น การอดอาหาร การพลีกรรม และประกอบกิจศรัทธา ห้วงเวลาแห่งการให้ความ สดชื่นแก่โลกของเรา เพื่อไปสู่บ้านของพระเจ้า - สัปดาห์ศักด์สิิทธ์ิ (Paschal Triduum) เราคริสตชน จะรักษา วันพระเจ้านี้ ได้อย่างเหนียวแน่น เราอดอาหารในวันศุกร์ ศักด์สิิทธ์ิ และชิดสนิทกับพระด้วยการตื่นเฝ้าในวันเสาร์ศักด์ิสิทธ์ิ เพราะเราตื่นเฝ้า และรอคอยให้การเสด็จกลับคืนพระชนมชีพใน วันอาทิตย์ปัสกาที่กาลังมาถึงเรา ด้วยความกระหายและโหยหา พระองค์
  • 8. ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 3. เทศกาลมหาพรต (ต่อ) การร่วมชิดสนิท และการอวยพร วันศุกร์ศักด์ิสิทธ์ิ วันเสาร์ศักด์ิสิทธ์ิ และวันอาทิตย์ปัสกานี้ รวมเรียกว่า “Paschal Triduum” หมายถึง สามวันแห่งการผ่านพ้น Triduum คือ หัวใจของปีพิธีกรรม ส่วน วันแห่งความตาย การถูกขัง และการกลับคืนชีพของพระเยซูคริสตเจ้า ตลอดช่วงวันอันศักด์สิิทธ์ินี้ เราจะฉลองการเสดจ็ผ่านความตายของ พระเยซูเจ้า (และของเรา) ด้วยการโปรดศีลล้างบาป พิธียืนยันการเป็น คริสตชน และการรับศีลมหาสนิทในช่วงปัสกานี้ (แก่คริสตชนใหม่)
  • 9. ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 4. เทศกาลปัสกา เริ่มจากวันอาทิตย์ปัสกา จนถึงวันอาทิตย์สมโภช พระจิตเจ้า เทศกาลปัสกา คือ ช่วงเวลา 50 วัน แห่งการ เฉลิมฉลอง ซึ่งอยู่ถัด Triduum นับได้ว่าเป็น เทศกาลที่เก่าแก่ และงดงามที่สุดของพระศาสนจักร วันแห่งความชื่นชมยินดีของโลก ซึ่งตื่นจากการ หลับไหล 50 วัน (เปนเตก๊อสเต) คือ สัปดาห์ที่ทวีคูณ 7 x 7 = 49 บวกอีก 1 วันอาทิตย์ปัสกา ดังนั้น เทศกาลปัสกาจึงมีวันอาทิตย์ 8 ครั้ง (8 วัน) ซึ่งเป็น สัญลักษณ์ถึงความลึกลับของนิรันดรภาพ
  • 10. ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม 4. เทศกาลปัสกา (ต่อ) แต่ละสัปดาห์ เรามีวันพระเจ้า และแต่ละปี เรามีเทศกาลปัสกา 50 วันแห่ง การเปล่งเสียง “อัลเลลูยา” สรรเสริญแด่พระเจ้า 50 วัน แห่งการใช้ชีวิต ตามบทบัญญัติแห่งความยุติธรรม และสันติสุข ซึ่งเต็มเปี่ยมในตัวเรา เมื่อรวมท้งั 3 ช่วงเข้าด้วยกัน คือ มหาพรต สัปดาห์ศักด์สิิทธ์ิและ ปัสกา จึงกลายเป็นการผลิบานที่ศักด์สิิทธ์ิของพระศาสนจักร
  • 11. 5. เทศกาลธรรมดา ความหมายของเทศกาลในปีพิธีกรรม เป็นเทศกาลที่แทรกอยู่ระหว่าง เทศกาลพระคริสตสมภพ กับมหาพรต และระหว่างเทศกาลปัสกา กับเทศกาลเตรียม รับเสด็จพระคริสตเจ้า เป็นเวลาประมาณ 34 สัปดาห์ นอกเหนือไปจากเทศกาลสาคัญ ของพระศาสนจักรแล้ว สัปดาห์เหล่านี้เรียกว่า เทศกาลธรรมดา ดังนั้นในแต่ละ สัปดาห์จึงมีการนับเป็นตัวเลข เพื่อช่วยให้เราแบ่งการอ่าน บทอ่าน บทสวดต่างๆ ในหนังสือพิธีกรรมได้อย่างถูกต้อง และรวมท้งัหนังสือสวดเป็นทางการ ของพระศาสนจักร ที่เรียกว่าหนังสือทาวัตรอีกด้วย
  • 14. 2. เทศกาลพระคริสตสมภพ สมโภชพระคริสตสมภพ 25 ธค. ฉลองครอบครัวศักด์ิสิทธ์ิของพระเยซูเจ้า สมโภชพระนางมารีพระชนนีพระเป็นเจ้า สมโภชพระคริสตเจ้าแสดงองค์
  • 15. 3. เทศกาลมหาพรต วันอาทิตย์ใบลาน วันพฤหัสศักด์ิสิทธ์ิ วันศุกร์ศักด์ิสิทธ์ิ วันเสาร์ศักด์ิสิทธ์ิ
  • 16. 4. เทศกาลปัสกา สมโภชปัสกา สมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ สมโภชพระจิตเจ้า
  • 18. 5. เทศกาลธรรมดา สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากลจักรวาล สมโภชนักบุญทั้งหลาย สมโภชแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ 15 สค. สมโภชพระวรกายและพระโลหิตของพระคริสตเจ้า สมโภชพระตรีเอกภาพ
  • 19. พิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ) พิธีมิสซาฯ คือ พิธีบูชาขอบพระคุณ ในความเป็นหนึ่งเดียวกัน ของคริสตชน โดยมีองค์พระเยซูเจ้าเอง เป็นเครื่องบูชาเพื่อ ไถ่บาปแทนเรามนุษย์ อาศัยพระกาย และพระโลหิต ที่ยอมสละ และพลีชีวิตเพอื่เรา ดงันั้น พิธีมิสซาฯ จึงควรเป็นพิธีของ ส่วนรวมในความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน ที่คริสตชนจะ ขอบพระคุณพระเจ้า ที่ได้ทรงประทานพระบุตรของพระองค์ ลงมาไถ่บาปแทนเรามนุษย์ทุกคน
  • 20. พิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ) ในความเป็นจริง คาว่า “มิสซา” หมายถึง “การถูกส่งไป” เพื่อ ประกาศข่าวดี และเป็นแบบอย่าง รวมทั้งมอบตนเอง และชีวิตให้มี คุณค่าต่อคนอื่นๆ เช่นเดียวกันกับที่เราได้รับจากพระเจ้า ความหมายที่แท้จริงของคาว่ามิสซา จึงไม่ถูกต้องตรงกับ ที่เป็นอยู่ในเวลานี้ เราจึงควรเรียกพิธีกรรมในปัจจุบันว่า “พิธีบูชาขอบพระคุณ” (Eucharistic Celebration) โดยเน้นที่ ความหมายของพิธีกรรมว่า เป็นการขอบพระคุณอย่างแท้จริง คือ พระเยซูเจ้า เป็นทั้งผู้ถวาย และเป็นเครื่องบูชาเอง โดยผ่านทางพิธีการ หักปังบนพระแท่นเพื่อขอบพระคุณพระบิดา สาหรับการส่งพระบุตร ให้มาไถ่กู้มนุษยชาติ จะเห็นได้ว่าคา ว่ามิสซา จึงไม่ตรงกับคา ศัพท์ และ ความหมายทางพิธีกรรม เพียงแต่มีความเข้าใจ และถือกันมาจาก ธรรมเนียมประเพณีเดิมมากกว่า
  • 21. พิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ) ในพิธีมิสซาฯ คริสตชนเชื่อว่า องค์พระเยซูเจ้าประทับอยู่ อย่างแท้จริงใน 3 วิธีการ คือ 1. จากพระวาจาของพระองค์ ในบทอ่านจากพระคัมภีร์ 2. ระหว่างการเสกปัง และเหล้าองุ่น เป็นช่วงเวลาที่สาคัญที่สุด ในการที่พระเยซูเจ้าจะสถิตอยู่ในพิธีมิสซาฯ เพราะเป็นการ รื้อฟื้นการเลี้ยงอาหารค่ามื้อสุดท้ายของพระเยซูเจ้า 3. การรับศีลมหาสนิท ซึ่งเป็น “ปังทรงชีวิต”
  • 22. พิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ) เมื่อพิธีมิสซาฯ สิ้นสุดแล้ว พระเยซูเจ้ายังคงประทับอยู่ใน ศีลมหาสนิท ธรรมเนียมการเก็บรักษาศีลมหาสนิทไว้หลังมิสซา จึงเกิดขึ้น เพราะความต้องการที่จะใช้เป็นศีลเสบียง สาหรับคน เจ็บป่วย และแจกศีลแก่ผู้ที่ไม่สามารถมาร่วมพิธีมิสซาฯ ได้ จึงเกิด ธรรมเนียม “การเฝ้าศีล” เกิดขึ้นในภายหลังด้วย จะเห็นได้ว่า มิสซา เกี่ยวข้องโดยตรงกับชีวิตคริสตชน ไม่ใช่เฉพาะเพียงแต่พิธีกรรม ภายนอกเท่านั้น หรือการบริจาคทาน คริสตชนทุกคนควรมีส่วนร่วม ในพิธีกรรมต่างๆที่ประกอบขึ้นทุกขั้นตอน
  • 23. องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ พิธีการต่างๆ ของพิธีมิสซาฯนั้น ประกอบด้วยภาคต่างๆ ดังนี้ 1. ภาคเริ่มพิธี ต้งัแต่เริ่มพิธี ไปจนถึงบทภาวนาของประธาน (Collecta) 2. ภาควจนพิธีกรรม เริ่มจากบทอ่านแรกจากพันธสัญญาเดิม บทอ่านที่สองซึ่งเป็นบทจดหมาย หรือหนังสืออื่นๆ ในพันธสัญญาใหม่ และพระวรสารซึ่งถือเป็นพระวาจา ของพระเจ้าที่ตรัสผ่านทางองค์พระบุตร คือ พระเยซูเจ้า การเทศน์ เตือนใจของพระสงฆ์ การประกาศยืนยันความเชื่อ และบทภาวนา ของมวลชน
  • 24. 3. ภาคศีลมหาสนิท เริ่มจากภาคถวายเครื่องบูชา จนถึงบทภาวนาหลังรับศีล คือ การเตรียมเครื่องบูชา - การเสกศีลฯ และการรับศีลฯ เป็นต้น 4. ภาคปิดพิธี องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ การอวยพร และการส่งไป ที่ให้เรากลับไปสู่ชีวิต กับเพื่อนพี่น้องในสังคมของเราต่อไป
  • 25. 1. ภาคเริ่มพิธี องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ เริ่มจากเพลงแห่เข้า (ในความเป็นจริงจะไม่มีเพลงก็ได้ แต่การที่มี เพลง เพื่อให้สัตบุรุษรวมเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน เพื่อสรรเสริญ พระเจ้า และถือเป็นการภาวนาอย่างหนึ่ง เพลงในพิธีกรรมที่ดี ควรเป็นเพลงที่สื่อความหมาย ให้เข้าใจในพิธีกรรม และร่วมจิตใจได้) - คาทักทาย - การสารภาพความผิด - บทกีรีเอ - (พัฒนามาจากบท ลีตานีอาในยุคแรกเริ่ม) -บทกลอรีอา และจบที่บทภาวนาของประธาน ซึ่งเป็นช่วงเชื่อมต่อไปสู่ช่วงที่สอง ในภาควจนพิธีกรรม
  • 26. องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 1. ภาคเริ่มพิธี (ต่อ) สาระโดยรวมของภาคเริ่มพิธีนี้ มีจุดประสงค์เพื่อเริ่มต้น นา และเตรียมให้บรรดาสัตบุรุษที่ชุมนุมอยู่ด้วยกันมีความ รู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกัน และเป็นการการโน้มน้าวจิตใจให้พร้อม ที่จะฟังพระวาจาของพระเจ้าอย่างถูกต้อง และให้เฉลิมฉลอง ศีลมหาสนิทอย่างสมควร
  • 27. 2. ภาควจนพิธีกรรม องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ ภาควจนพิธีกรรมนี้ เป็นส่วนหนึ่งของพิธีที่ชาวยิว ปฏิบัติกันมาแต่เดิม ก่อนยุคของพระเยซูคริสตเจ้า โดย ในพิธีมิสซาฯ จะจัดให้มี “โต๊ะพระวาจา” หรือธรรมาสน์ เพื่อใช้อ่านพระวาจาของพระเป็นเจ้า แยกออกจาก “โต๊ะศีลมหาสนิท” หรือพระแท่น อันเป็นจุดสาคัญ ที่สุดของพิธีกรรม
  • 28. 2. ภาควจนพิธีกรรม (ต่อ) องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ การอ่านบทอ่าน ไม่ใช่หน้าที่ของประธาน แต่เป็นหน้าที่ของศาสนบริกร เช่น สังฆานุกร หรือผู้อ่านพระคัมภีร์ สาหรับการอ่านพระวรสารนั้น เป็นหน้าที่ของสังฆานุกร หรือประธานในพิธี จะต้องแสดงออกถึงการ คารวะอย่างยิ่งต่อพระวรสารที่อ่าน โดยให้เกียรติอย่างพิเศษกว่าบทอ่าน อื่น ๆ ไม่ว่าในการเลือกผู้อ่านระดับศาสนบริกร หรือพระสงฆ์เอง สัตบุรุษเอง ก็ต้องแสดงความคารวะอย่างพิเศษโดยการยืนฟัง และ พนมมืออย่างสารวม
  • 29. 2. ภาควจนพิธีกรรม (ต่อ) องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ ในระหว่างการอ่านบทอ่าน จะมีการร้องเพลงคั่น ในช่วงแรกจะเป็นเพลงสดุดี (Psalms) และส่วนที่สองจะเป็นเพลงสรรเสริญ (Acclamation) หรือเพลง Hymn บทอัลเลลูยา ซึ่งจะร้องก่อน การอ่านพระวรสาร
  • 30. 2. ภาควจนพิธีกรรม (ต่อ) องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ การเทศนาเตือนใจ (Homily) เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม เป็นส่วน ที่จาเป็นในการหล่อเลี้ยงชีวิตคริสตชน และจะต้องอธิบายบางแง่ ในบทอ่านจากพระคัมภีร์ของมิสซาประจาวันนั้น ๆ การเทศนาเตือนใจ มีลักษณะพิเศษ แตกต่างกว่าการเทศน์ในรูปอื่น เพราะการเทศน์แบบนี้ เป็นการเทศน์เพื่ออธิบาย หรือโน้มน้าวจิตใจผู้ฟัง ให้ปฏิบัติตาม พระวาจาของพระเจ้า ที่ตรัสกับเราผ่านทางพระคัมภีร์ มากกว่าจะมุ่ง เน้นแบบการสอนศาสนาให้คนกลับใจ (Evangelization) หรือการเทศน์ แบบสอนคาสอน (Catechesis)
  • 31. 2. ภาควจนพิธีกรรม (ต่อ) องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ เมื่อพระสงฆ์เทศน์เตือนใจแล้ว จะเป็นการประกาศยืนยันความเชื่อ (Credo) เพื่อให้ประชากรเห็นพ้อง และสนองตอบพระวาจาของ พระเจ้า ที่ได้ฟังในบทอ่าน และการเทศน์ และให้รื้อฟื้นข้อความเชื่อ ก่อนที่จะเริ่มพิธีศีลมหาสนิท และยังนับว่าเป็นบทสรุป “ประวัติศาสตร์แห่งความรอด” ซึ่งสัตบุรุษประกาศยืนยันความเชื่อ ของพระศาสนจักรที่มีมาแต่เดิม รวมทั้งแสดงความหวังที่จะมี ส่วนร่วมในชีวิตนิรันดร กับพระเจ้าในบั้นปลายด้วย บทภาวนาเพื่อมวลชน มีขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงหน้าที่ของ คริสตชนที่จะต้องภาวนาเพื่อมนุษยโลกในสังคม ในเรื่องต่างๆ ที่ พระศาสนจักรได้กาหนดไว้
  • 32. 3. ภาคศีลมหาสนิท องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ เริ่มจากการเตรียมเครื่องบูชา โดยต้องเตรียมพระแท่น ซึ่งเป็น ศูนย์กลางของพิธีกรรมศีลมหาสนิททั้งมวล โดยปูผ้ารอง ถ้วยกาลิกส์ และจานศีล (Corporal) นาผ้าเช็ดถ้วยกาลิกส์ (Purificator) ถ้วยกาลิกส์ และหนังสือมิสซาวางบนพระแท่น และนาแผ่นปัง และเหล้าองุ่นมาเตรียมไว้ รวมทั้งมีการบริจาค ใส่ถุงทานสาหรับคนยากไร้ หรือทางวัดด้วย
  • 33. 3. ภาคศีลมหาสนิท (ต่อ) องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ คาภาวนาแห่งศีลมหาสนิท หรือการเสกปัง และเหล้าองุ่นให้เป็น พระกาย และพระโลหิตของพระเยซูเจ้า ถือเป็นหัวใจสาคัญของ พิธีมิสซาฯ ประกอบด้วยการเสกศีลเพื่อระลึกถึง และรื้อฟื้นถึง การตั้งศีลมหาสนิทของพระเยซูเจ้า ในอาหารค่า มื้อสุดท้ายก่อน ทรงรับทรมาน และสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน การขับร้องเพลง ศักด์สิิทธ์ิ บทข้าแต่พระบิดา การบิปัง และการรับศีลมหาสนิท ของสัตบุรุษ ซึ่งการรับศีลมหาสนิท นับว่าเป็นส่วนสาคัญยิ่งในพิธี มิสซาบูชาขอบพระคุณพระเจ้า
  • 34. องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ 3. ภาคศีลมหาสนิท (ต่อ) การรับศีลมหาสนิทให้ความหมายหลายประการเช่น 1. เป็นการร่วมสนิท เป็นหนึ่งเดียวกับพระเยซูเจ้า 2. เป็นการร่วมมีส่วนในงานกอบกู้ของพระเยซูเจ้า 3. เป็นการร่วมสนิทสัมพันธ์กับพี่น้องคริสตชนด้วยกัน
  • 35. 4. ภาคปิดพิธี เมื่อสัตบุรุษรับศีลเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะเข้าสู่ภาคปิดพิธี ในภาคนี้ ทางวัด สามารถประกาศข่าวต่างๆให้สัตบุรุษ ทราบ จากนั้น จะเป็นการอา ลา และ อวยพร องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ
  • 36. องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ ข้อสังเกตที่คริสตชนบางกลุ่ม อาจจะเกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน เกี่ยวกับพิธีมิสซาฯ คือ จริงๆ แล้ว การแก้บาป (ศีลอภัยบาป) ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของพิธีมิสซาฯ สัตบุรุษสามารถรับศีลอภัยบาป ได้ตลอดเวลา แม้ไม่ใช่เวลามิสซา แต่การที่มีการแก้บาปก่อนพิธี มิสซาฯนั้น ก็เพื่อประโยชน์ในด้านการอภิบาลสัตบุรุษ คืออา นวย ความสะดวกแก่สัตบุรุษที่มาวัดอาทิตย์ละครั้ง รวมทั้งทา ให้การ ร่วมพิธีมิสซาฯของสัตบุรุษที่รับศีลอภัยบาปแล้ว มีความหมายมาก ยิ่งขึ้น เป็นการเสริมสร้างจิตใจ แต่สิ่งที่ควรส่งเสริมคุณค่า และ ความหมายของศีลอภัยบาปนั้น สัตบุรุษควรรับศีลอภัยบาปอย่าง สม่าเสมอ ในเวลาใดก็ได้ที่เหมาะสม และมีความต้องการคืนดีกับ พระ ซึ่งไม่เพียงก่อนพิธีมิสซาฯ เท่านั้น