SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
Télécharger pour lire hors ligne
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
1
ตะลุยโจทย์ เคมี บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
ตอนที่ 1 มวลอะตอม และ มวลโมเลกุล
1 a.m.u = 1.66 x 10–24 กรัม = 1.66 x 10–27 กิโลกรัม
มวลอะตอมเฉลี่ย =
1. ธาตุ A 2 อะตอม มีมวลเท่ากับ 1.824 x 10–22 กรัม มวลอะตอมของ A มีค่าเท่าใด
( กําหนดให้ 12
1 มวลของ C – 12 เท่ากับ 1.66x10–24 กรัม ) ( 55 )
1. ตอบ 55
วิธีทํา ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10–22 กรัม
ธาตุ A 1 อะตอม = 1824 10 22
2
. × −
= 9.12 x 10–23 กรัม
ดังนั้น มวลอะตอม A = 241066.1
231012.9
−×
−× = 55
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
2(มช 40) ธาตุ M มีมวลอะตอม 70 และมีความหนาแน่นเท่ากับ 5.02 g / cm3 ปริมาตรเฉลี่ย
ของธาตุนี้ 1 อะตอม จะมีค่ากี่ cm3 (ข้อ 1)
1. 2.31 x 10–23 2. 1.18 x 10–25 3. 4.3 x 10–23 4. 5.18 x 10–25
2(มช 40) ตอบข้อ 1.
วิธีทํา จากมวลอะตอม M = 70 amu = (70)(1.66x10–24) กรัม
ความหนาแน่น = 5.02 g/cm3 ปริมาตร = ?
จาก ความหนาแน่น =
ปริมาตร
มวล = 5.02
)2410(70)(1.66 −× = 2.31x10-23 g/cm3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
3. สมมติธาตุ X มี 3 ไอโซโทป ในธรรมชาติ คือ
เปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ มวล
ไอโซโทปที่ 1
ไอโซโทปที่ 2
ไอโซโทปที่ 3
80
15
5
12
13
14
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X (12.25 )
∑ ( % x มวล )
100
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
2
3. ตอบ 12.25
วิธีทํา มวลอะตอมเฉลี่ย x = 100
มวล)x(%∑
= 100
14)x(513)x(1512)x(80 ++
= 100
70195960 ++
= 100
1125 = 12.25
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
4. มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุออกซิเจนในธรรมชาติเท่ากับ 16.032 แสดงว่าไอโซโทปใดของ
ออกซิเจนที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ
1. 16O 2. 17O 3. 18O 4. เท่ากัน ( ข้อ 1)
4. ตอบ 1
เหตุผล เพราะมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุจะมีค่าใกล้เคียงกับมวลที่มีเปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
5. ธาตุ D ประกอบด้วยไอโซโทป 2 ชนิด ที่มีมวลอะตอม 10.00 และ 11.00 ตามลําดับ หาก
มวลอะตอมของธาตุ D เท่ากับ 10.20 ปริมาณในธรรมชาติของ D ที่มีมวลอะตอม 11.00
จะเท่ากับเท่าใด ( 20 )
5. ตอบ 20
วิธีทํา นําข้อมูลที่ได้มาเขียนตาราง ให้สมมติ % ในธรรมชาติ
D % ในธรรมชาติ มวล M – M น้อยสุด
ไอโซโทป 1
ไอโซโทป 2
100 – A
A
10
11
10 – 10 = 0
11 – 10 = 1
Mเฉลี่ย = 100
สุด)มวลน้อยที่-มวล(%∑ + มวลน้อยที่สุด
=
100
A
+ 10
A = (10.20 – 10) x 100 = 20
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
6(มช 46) มวลโมเลกุลของสารในข้อใดมีค่ามากที่สุด
1. Ca3(PO4)2 2. CuSO4 . 5H2O 3. Pb(NO3)2 4. K2Cr2O7 (ข้อ 3)
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
3
6(มช 46) ตอบ ข้อ 3
วิธีทํา ข้อ 1 มวลโมเลกุล Ca3(PO4) 2 = 3(40) + [31 + 4(16)] x 2
= 120 + (95)2 = 310
ข้อ 2 มวลโมเลกุล CuSO4 . 5H2O = 63.5 + 32 +4(16) + 5[2(1) + 16]
= 63.5 + 32 + 64 + 90 = 249.5
ข้อ 3 มวลโมเลกุล Pb(NO3)2 = 207 + [14 + 3(16)]2
= 207 + 124 = 331
ข้อ 4 มวลโมเลกุล K2Cr2O7 = 2(39) + 2(52) + 7(16)
= 78 + 104 + 112 = 294
∴ Pb (NO3)2 จะมีมวลโมเลกุลมากที่สุด = 331
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 2 โมล
H 6.02x1023 อะตอม = 1 โมล–อะตอม มวล H2O 1 โมล–โมเลกุล = 18 กรัม
NO 6.02x1023 โมเลกุล = 1 โมล–โมเลกุล
Na+ 6.02x1023 อิออน = 1 โมล–อิออน
สูตรคํานวณ n = M
g = 23106.02
N
×
= 22.4
V = 23106.02อ.อ.ย
จ.อ.ย
××
เมื่อ n = จํานวนโมล , g = มวลสารที่มีอยู่ (กรัม)
M = มวลโมเลกุล หรือ มวลอะตอม , N = จํานวนโมเลกุล
V = ปริมาตรแก๊ส (dm3, Lit)
จ.อ.ย. = จํานวนอนุภาคย่อย
อ.อ.ย.= อัตราอนุภาคย่อยในโจทย์นั้น ๆ
1 โมล
จํานวนอนุภาค
6.02x1023 อนุภาค
มีมวลเท่ากับโมเลกุลหรือ
มวลอะตอม แต่มีหน่วยเป็นกรัม
แก๊สหรือไอที่มีปริมาตร 22.4
Lit(dm3) ที่ STP (1 atm, 0oC)
**1000 cm3 = 1 Lit**
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
4
7(มช 39) ข้อความใดที่ ไม่ใช่ เป็นสมบัติของก๊าซใดๆ ปริมาตร 22.4 dm3 ที่อุณหภูมิความดัน
มาตรฐาน
1. จํานวนโมล = 6.02x1023 โมล
2. มวล = มวลโมเลกุลคิดเป็นกรัม
3. จํานวนโมเลกุล = 6.02x1023 โมเลกุล
4. จํานวนโมเลกุลของก๊าซนี้เท่ากับจํานวนโมเลกุลของไฮโดรเจน (ข้อ 1)
7(มช 39) ตอบ ข้อ 1.
เหตุผล เพราะก๊าซ 22.4 ลิตร ที่ STP มีเพียง 1 โมลเท่านั้น ไม่ใช่ 6.02 x 1023 โมล
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
8. แก๊สโพรเพน (C3H8) จํานวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลิตร (11.2)
8. ตอบ 11.2
วิธีทํา มวลโมเลกุล (M) = 3(12) + 8(1) = 36 + 8 = 44
มวลสารที่มี (g) = 22 กรัม ปริมาตรแก๊ส (Vแก๊ส) = ?
จาก
m
g
= 22.4
แก๊ส
V
Vแก๊ส = m
g
x 22.4
= 44
22 x 22.4 = 11.2
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
9. แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 67.2 ลิตร ที่ STP จะมีกี่โมเลกุล (1.806x1024)
9. ตอบ 1.806 x 1024
วิธีทํา (Vแก๊ส) = 67.2 dm3 , N = ?
จาก 2310x6.02
N = 22.4
V
N = 22.4
67.2 x 6.02 x 1023
N = 1.806 x 1024 โมเลกุล
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
10. แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 0.2 กรัม มีปริมาตร 400 cm3 ที่ STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุลเท่าไร
1. 11.2 2. 16 3. 18 4. 20.5 (ข้อ 1)
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
5
10. ตอบ ข้อ 1
วิธีทํา โจทย์กําหนด g = 0.2 กรัม , Vแก๊ส = 1000
3cm400 = 0.4 dm3 M = ?
จาก
m
g
= 22.4
V จะได้ M = V
22.4xg
M = 0.4
22.4x0.2 = 11.2
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
11(มช 38) ก๊าซชนิดหนึ่งมีปริมาณ 448 cm3 ที่ STP มีมวล 0.60 กรัม ก๊าซนี้น่าจะได้แก่
1. NH3 2. CH4 3. C2 H6 4. CO2 (ข้อ 3)
11(มช 38) ตอบข้อ 3.
วิธีทํา โจทย์บอก Vแก๊ส = 448 Cm3 = 0.448 ลิตร , g = 0.60 กรัม
จาก m
g = 22.4
v
m
0.6 = 22.4
ลิตร0.448
m = 310448
)3100.6(22.4
−×
× = 30
แสดงว่าสารนี้มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 30 ซึ่งน่าจะเป็น C2H6
เพราะ C2H6 มีมวลโมเลกุล = 2(12) + 6(1) = 30 เช่นกัน
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
12(มช 43) ถ้านักเรียนตักนํ้าบริสุทธิ์มา 2 cm3 นํ้านั้นจะมีจํานวนโมเลกุลเท่าใด
กําหนดให้ : ความหนาแน่นของนํ้าเท่ากับ 1.0 g/cm3
1. 0.11 2. 36 3. 6.69x1022 4. 1.20x1024 (ข้อ 3)
12(มช 43) ตอบ ข้อ 3.
วิธีทํา มวลโมเลกุลของนํ้า ( H2O) = 18
และ นํ้า 2 cm3 จะมีมวล = 2 กรัม
จาก 23106.02
N
m
g
×
=
23106.02
N
18
2
×
=
N = 6.69 x 1023 โมเลกุล
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
6
13(มช 41) สาร A มีมวลโมเลกุล 64 ประกอบด้วย S และ O อย่างละเท่าๆ กัน โดยมวล ถ้า
สาร A 16 กรัม มีจํานวนอนุภาคเท่ากับสาร B 19 กรัม สาร B ควรเป็นสารอะไร
1. NO2 2. CS2 3. CO2 4. SO2 (ข้อ 2)
13(มช 41) ตอบ ข้อ 2.
วิธีทํา ตอน 1 คิดสาร A
จาก m
g
23106.02
N =
×
64
16
23106.02
N =
×
N = 0.25 x 6.02 x 1023
นั่นคือ จํานวนอนุภาคของ A = 4 x 6.02 x 1023
เนื่องจากจํานวนอนุภาคของ B เท่ากับ A นั่นคือ จํานวนอนุภาค B = 4 x 6.02 x 1023
ตอน 2 คิดสาร B
จาก m
g
23106.02
N =
×
m19
23106.02
23x106.02x0.25 =
×
mB = 76
ดังนั้น สาร B ควรเป็น CS2
เพราะ CS2 มีมวลโมเลกุล = 12 + 2(32) = 76 เช่นเดียวกับ B
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
14(มช 38) กรดแอซีติก 24 กรัม จะมีจํานวนออกซิเจนอะตอมอยู่ทั้งหมดเท่ากับ
1. 6.02 x 1023 อะตอม 2. 4.82 x 1023 อะตอม
3. 2.41 x 1023 อะตอม 4. 1.20 x 1023 อะตอม (ข้อ 2)
14(มช38) ตอบข้อ 2.
วิธีทํา กรดแอซีติก (CH3COOH ) มีมวลโมเลกุล = 12+3(1)+12+16+16+1 = 60
จาก 23106.02
N
×
= m
g
N = m
g (6.02 x 1023)
N = 60
24 (6.02 x 1023)
N = 2.41 x 1023 โมเลกุล2
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
7
ตอน 2 เนื่องจาก CH3COOH 1 โมเลกุล ประกอบด้วย O 2 อะตอม
ดังนั้น CH3COOH 2.41 x 1023 โมเลกุล ประกอบด้วย O 4.82 x 1023 อะตอม
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
15(มช 44) กําหนดให้ A = Na2S4O6 , B = Al2(SO4)3 , C = H4P2O7
ถ้าสารประกอบเหล่านี้มีมวลเท่ากันเท่ากับ 2 กรัม จงเรียงลําดับจํานวนอะตอมของ
ออกซิเจน ในโมเลกุลจากมากไปหาน้อย
1. A C B 2. C B A 3. B A C 4. A B C (ข้อ 2)
15(มช 44) ตอบ ข้อ 2.
วิธีทํา จาก 2310x6.02xอ.อ.ย.
จ.อ.ย = M
g
จะได้ จ.อ.ย. = M
g x อ.อ.ย. x 6.02 x 1023
ตอน 1 Na2S4O6 1 โมเลกุล จะมี O 6 อะตอม
จํานวน O = 270
2 x 6 x 6.02 x 1023
จํานวน O = 2.68 x 1022 อะตอม
ตอน 2 Al2(SO4)3 1 โมเลกุล จะมี O 12 อะตอม
จํานวน O = 342
2 x 12 x 6.02 x 1023
จํานวน O = 4.22 x 1022 อะตอม
ตอน 3 H4P2O7 1 โมเลกุล จะมี O 7 อะตอม
จํานวน O = 178
2 x 7 x 6.02 x 1023
จํานวน O = 4.73 x 1023 อะตอม
จะเห็นว่าจํานวนอะตอมออกซิเจนในสาร C > B > A
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
16(มช 39) ธาตุ A มีมวลอะตอมเท่ากับ 60.0 ทําปฏิกิริยากับธาตุ B ทําให้เกิดสารประกอบ AB2
ถ้า 2 กรัมของ A ทําปฏิกิริยากับ 8 กรัมของ B ได้สารประกอบ AB2 มวลอะตอมของ B คือ
1. 90 2. 120 3. 160 4. 190 (ข้อ 2)
16(มช 39) ตอบ ข้อ 2.
วิธีทํา จากสูตรโมเลกุลจะได้ว่า
โมลB
โมลA = 2
1
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
8
ดังนั้น โมล B = 2 โมล A
BmBg
=
AmAg
(2)
Bm
8 = (2) 60
2
mB = 120
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
17(มช 49) เมื่อเผาธาตุ X จํานวน 5.00 กรัม จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบ X2O หนัก
6.74 กรัม ธาตุ X มีมวลอะตอมเท่าใด
1. 13.5 2. 23.0 3. 33.5 4. 39.1 (ข้อ 2)
17(มช 49) ตอบ ข้อ 2.
วิธีทํา จาก มวล X2O = 6.74 กรัม มีมวล X = 5.00 กรัม
จะมีมวล O = 6.74 - 5.00 = 1.74 กรัม (O = 16)
จาก X2O มีอัตราส่วน
โมลO
โมลX = 1
2
จะได้ 1โมล X = 2 โมล O ; ⎥⎦
⎤
⎢⎣
⎡
=
m
g
n
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
m
g
X = 2 ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
m
g
O
Mx
5 = 2 ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
16
1.74
∴ ดังนั้น Mx = 23.0
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 3 ความเข้มข้นสารละลาย
1. ความเข้มข้นแบบร้อยละ
ร้อยละโดยมวลต่อมวล = ยมวลสารละลา
ะลายมวลตัวถูกล x 100
ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร =
ละลายปริมาตรสาร
ถูกละลายปริมาตรตัว x 100
ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร =
)3(cmละลายปริมาตรสาร
(กรัม)ะลายมวลตัวถูกล x 100
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
9
2. โมลต่อลิตร (mol / dm3 ) (โมลาร์ลิตี้) (M)
สูตรที่ 1 ใช้สําหรับการเตรียมสารละลายโดยใส่ตัวถูกละลายลงในตัวทําละลาย
n = M
g = 2310x6.02
N = 22.4
V = 2310x6.02xอ.อ.ย
จ.อ.ย = 1000
cv
เมื่อ n = จํานวนโมลตัวถูกละลาย
g = มวลตัวถูกละลายที่มีอยู่(กรัม)
M = มวลโมเลกุล หรือ มวลอะตอมตัวถูกละลาย
N = จํานวนโมเลกุลตัวถูกละลาย
V = ปริมาตรแก๊สซึ่งเป็นตัวถูกละลาย (dm3 , Lit)
จ.อ.ย. = จํานวนอนุภาคย่อยของตัวถูกละลาย
อ.อ.ย. = อัตราส่วนอนุภาคย่อยตัวถูกละลายในโจทย์
c = ความเข้มข้นของสารละลาย (mol / dm3)
v = ปริมาตรของสารละลาย (cm3)
สูตร 2 ใช้เมื่อทําการปรับเปลี่ยนความเข้มข้นและปริมาตรสารละลายเดิม
c1 v1 = c2 v2
เมื่อ c1 . c2 = ความเข้มข้นของสารละลายตอนแรก และ ตอนหลัง ตามลําดับ (mol/lit)
v1 . v2 = ปริมาตรของสารละลายตอนแรก และ ตอนหลัง ตามลําดับ
สูตร 3 ใช้เมื่อผสมสารละลายหลายตัวเข้าด้วยกัน
cรวม vรวม = c1 v1 + c2 v2 + …
เมื่อ c1 . c2 , cรวม = ความเข้มข้นของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และ สารละลายรวม ตามลําดับ
v1 . v2 , vรวม = ปริมาตรของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และ สารละลายรวม ตามลําดับ
การเปลี่ยนความเข้มข้น จากแบบร้อยละไปเป็นโมล/ลิตร
กรณีที่ 1 สูตรเปลี่ยนจากร้อยละ โดยมวล หรือ โดยปริมาตร เป็นโมล/ลิตร
c = M
%10D
กรณีที่ 2 สูตรเปลี่ยนจากร้อยละ โดยมวล/ปริมาตร เป็น โมล/ลิตร
c = M
%10
เมื่อ c = ความเข้มข้นเป็น โมล/ลิตร
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
10
D = ความหนาแน่นสารละลาย (g/cm3)
M = มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย
3. โมลต่อกิโลกรัมตัวถูกละลาย (mol/kg) (โมลแลล) (m)
บอกจํานวนโมลตัวถูกละลายที่มีในตัวทําละลาย 1 กิโลกรัม
เช่น สารละลาย ยูเรียเข้มข้น 3 mol/kg ตัวทําละลาย หมายความว่า
มียูเรีย 3 โมล ละลายในตัวทําละลาย 1 กิโลกรัม
สมการแสดงความสัมพันธ์ของความเข้มข้นแบบ โมล/ลิตร กับ โมแลล
D = c (1000
M + m1 )
เมื่อ D = ความหนาแน่น (g/cm3)
c = ความเข้มข้น (โมล/ลิตร)
M = มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย
m = ความเข้มข้น (โมแลล)
18. เมื่อละลายนํ้าตาลกลูโคส 30 กรัม ในนํ้ากลั่น 120 กรัม จงหาว่าสารละลายนี้มีความเข้ม
ข้นโดยมวลเท่าใด (20%)
18. ตอบ 20%
วิธีทํา จาก ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร = ยมวลสารละลา
ะลายมวลตัวถูกล x 100
= 30120
30
+ x 100
= 20
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
19(มช 39) จะต้องเติมนํ้าตาลทรายกี่กรัม ลงในสารละลายนํ้าตาลเข้มข้น 5% โดยมวล จํานวน
200 กรัม เพื่อให้ได้สารละลายเข้มข้น 20% โดยมวล (37.50 กรัม)
19(มช 39) ตอบ 37.5 กรัม
วิธีทํา ตอน1 สารละลายเข้มข้น 5% โดยมวล
ร้อยละโดยมวลต่อมวล = ยมวลสารละลา
ะลายมวลตัวถูกล x 100
5 = 200
มวลนํ้าตาล x 100
มวลนํ้าตาล = 10 กรัม
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
11
ทีนี้ ต้องการเปลี่ยนความเข้มข้นเป็น 20% โดยมวล สมมุติเติมนํ้าตาลเข้าไปอีก X กรัม
สุดท้ายจึงมีสารละลาย 200 + X กรัม และมีนํ้าตาล 10 + X กรัม
ร้อยละโดยมวลต่อมวล = ยมวลสารละลา
ะลายมวลตัวถูกล x 100
20 = X200
X10
+
+ x 100
X = 37.5 กรัม
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
20. เมื่อใช้ NaOH 20 กรัม เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ปริมาตร จะได้
สารละลายกี่ cm3 (66.67 cm3)
20. ตอบ 66.67 cm3
วิธีทํา จากโจทย์ มวล NaOH = 20 กรัม
ความเข้มข้นโดยมว /ปริมาตร = 30%
จะได้ % โดยมวล/ปริมาตร =
)3(cmละลายปริมาตรสาร
(กรัม)ะลายมวลตัวถูกล x 100
30 =
ปริมาตร
20 x 100
∴ ดังนั้น ปริมาตรสารละลาย = 66.67 cm3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
21. โพแทสเซียมแมงกาเนต ( K2MnO4 ) จํานวน 59.1 กรัม ละลายในสารละลาย 100 cm3
สารละลายนี้มีความเข้มข้นกี่ mol / dm3 ( K=39 , Mn=55 , O=16 ) (3 โมล/ลิตร)
21. ตอบ 3 โมล/ลิตร
วิธีทํา จากโจทย์ มวลโมเลกุล (M) = K2MnO4 = 2(39) + 55 + 4(16) = 197
g = 59.1 กรัม, V = 100 cm3 , C = ?
จากสูตร M
g = 1000
CV
197
59.1 = 1000
100xC
C = 3 โมล/ลิตร
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
12
22. เมื่อผ่านแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) 5.6 dm3 ที่ STP ลงในนํ้ากลั่นเป็นสารละลาย 300
cm3 ถ้าได้แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ละลายทั้งหมด จะได้สารละลายเข้มข้นกี่โมล / ลิตร ( 0.83 )
22. ตอบ 0.83 โมล/ลิตร
วิธีทํา จากโจทย์ Vแก๊ส = 5.6 dm3 , Vสารละลาย = 300 cm3 mol/l , C = ?
จากสูตร 22.4
แก๊ส
V
= 1000
CV
22.4
5.6 = 1000
300xC
C = 0.83 โมล/ลิตร
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
23. มี NaOH 1 mol/dm3 อยู่ 500 cm3 แบ่งมา 100 cm3 ทําให้เจือจางเป็น 1 ลิตร สาร
ละลายนี้เข้มข้นเท่าใด ( 0.1 โมล/ลิตร )
23. ตอบ 0.1 โมล/ลิตร
วิธีทํา จากโจทย์ C1 = 1 mol/ dm3 V1 = 100 cm3
C2 = ? V2 = 1000 cm3
จะได้ C1 V1 = C2 V2
1 x 100 = C2 x 1000
C2 = 0.1 mol/dm3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
24. สารละลายชนิดหนึ่ง 100 cm3 เข้มข้น 3 mol/dm3 ต้องการเตรียมให้เข้มข้นเป็น 2
mol/dm3 จะต้องเติมนํ้าจนมีปริมาตรเท่าใด (150 cm3)
24. ตอบ 150 cm3
วิธีทํา จากโจทย์ V1 = 100 cm3 C1 = 3 mol/ dm3
V2 = ? C2 = 2 mol/ dm3
จะได้ C1 V1 = C2 V2
3 x 100 = 2 x V2
V2 = 150 cm3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
13
25. ผสมสาระลายกรด HCl ขวดที่ 1 ซึ่งมีความเข้มข้น 1 mol/ dm3 จํานวน 300 cm3 กับ
HCl ขวดที่ 2 ซึ่งมีความเข้มข้น 2 mol/ dm3 จํานวน 200 cm3 แล้วเติมนํ้าลงไปอีก 500
cm3 ถามว่าสารละลายผสมที่ได้จะมีความเข้มข้นกี่ mol/ dm3 ( 0.7 )
25. ตอบ 0.7 mol /dm3
วิธีทํา จากโจทย์ C1 = 1 mol/ dm3 V1 = 300 cm3
C2 = 2 mol/ dm3 V2 = 200 cm3
VH2O = 500 cm3 Cรวม = ?
จะได้ Vรวม = 300 + 200 + 500 = 1000 cm3
จากสูตร Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2
Cรวม (1000) = 1(300) + 2(200)
Cรวม = 1000
700 = 0.7 mol/ dm3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
26(มช 45) มีขวดบรรจุสารละลาย HCl 2 ใบ ใบที่ 1 มี HCl เข้มข้น 0.50 mol/dm3 อยู่ 5.0
dm3 ใบที่ 2 มี HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 อยู่ 5.0 dm3 ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย
HCl เข้มข้น 0.20 mol/dm3 โดยการนํา HCl จากขวดใบที่ 1 มา 0.5 dm3 แล้วจะต้องนํา
HCl จากขวดใบที่ 2 จํานวนกี่ dm3 ( 1.5 )
26(มช 45) ตอบ 1.5 dm3
วิธีทํา จากโจทย์ C1 = 0.5 mol/dm3 V1 = 0.5 cm3
C2 = 0.1 mol/dm3 V2 สมมติเป็น A dm3
Cรวม = 0.2 mol/dm3 Vรวม = 0.5 + A dm3
จาก Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2
(0.2) (0.5 + A) = 0.5 (0.5) + 0.1 A
0.1 + 0.2 A = 0.25 + 0.1A
A = 1.5 dm3
แสดงว่า ต้องใช้สารจากขวดหลัง 1.5 dm3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
27. เมื่อผสม NaCl 2 mol/dm3 จํานวน 10 cm3 กับ 4 mol/dm3 จํานวน 100 cm3 แล้วเติม NaCl
อีก 175.5 g แล้วเติมนํ้าจนมีปริมาตร 500 cm3 จงหาความเข้มข้นสารผสม (6.84 mol/dm3)
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
14
27. ตอบ 6.84 mol /dm3
วิธีทํา จากโจทย์ C1 = 2 mol/ dm3 V1 = 10 cm3
C2 = 4 mol/ dm3 V2 = 100 cm3
g3 = 175.5 กรัม =>
m
g
= 1000
3V3C
C3 V3 = 1000 x
m
g
Cรวม = ? Vรวม = 500 cm3
จากสูตร Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2 + C3 V3
Cรวม (500) = 2(10) + 4(100) + 100 x
m
g
Cรวม = 500
58.5
175.5x10040020 ++
Cรวม = 6.84 mol/ dm3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
28(มช 50) สารละลาย NaOH เข้มข้น 6.0 M มีความหนาแน่น 1.24 g/cm3 จะมีความเข้มข้น
คิดเป็นร้อยละโดยมวลเท่ากับเท่าไร
1. 0.15 2. 1.86 3. 19.35 4. 24.00 (ข้อ 3)
28(มช 50) ตอบ ข้อ 3
วิธีทํา จากโจทย์ C = 6 M , D = 12.4 g /cm3 % โดยมวล = ?
มวลโมเลกุลของ NaOH = 23 + 16 1 40
จาก C = M
D10%
จะได้ว่า 6 = 40
(12.4)(10)%
% โดยมวล = 19.35
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
29(มช 46) กรดเกลือเข้มข้นมีปริมาณ HCl = 36.5% โดยนํ้าหนักและมีความหนาแน่นเท่ากับ
1.18 g/cm3 ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย HCl ที่มีความเข้มข้นเท่ากับ 0.236 mol/dm3
จะต้องนํากรดเกลือเข้มข้นกี่ cm3 มาเติมนํ้ากลั่นจนมีปริมาตรทั้งหมดเท่ากับ 100.0 cm3 ( 2 )
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
15
29. ตอบ 2 cm3
วิธีทํา โจทย์บอก ความเข้มข้น HCl แบบ % โดยมวล = 36.5
มวลโมเลกุล HCl ( m ) = 35.5 + 1 = 36.5 , D = 1.18 g/cm3
ขั้นแรก ต้องทําความเข้มข้น HCl 36.5% ให้เป็น โมล / ลิตร ก่อน
จาก C = m
D)10(% = 36.5
.18)36.5(10)(1 = 11.8 mol / dm3
ขั้น 2 จาก C1 V1 = C2 V2
11.8 V1 = 0.236 (100 cm3)
V1 = 2 cm3
นั่นคือต้องใช้สารละลาย HCl 2 cm3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
30(มช 41) สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 36.5% โดยมวล มีความหนาแน่น 1.15 g/cm3
ถ้าต้องการเตรียมกรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้น 0.345 mol/dm3 จํานวน 500 cm3 จะ
ต้องใช้กรดไฮโดรคลอริกกี่ cm3 (H = 1 , Cl = 35.5)
1. 0.5 2. 1.5 3. 15 4. 150 (ข้อ 3)
30(มช 41) ตอบข้อ 3.
วิธีทํา ขั้นแรก ต้องทําความเข้มข้น HCl 36.5% ให้เป็น โมล / ลิตร ก่อน
จาก C = m
D)10(% = 36.5
.15)36.5(10)(1 = 11.5 mol / dm3
ขั้น 2 จาก C1 V1 = C2 V2
11.5 V1 = 0.345 (500 cm3)
V1 = 15 cm3
นั่นคือต้องใช้สารละลาย HCl 15 cm3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
31(มช 51) เมื่อใช้นํ้าบริสุทธิ์ 100 cm3 ที่ 4oC เตรียมสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความหนา
แน่น 1.175 g/cm3 ที่มีเนื้อกรดไฮโดรคลอริก 34.4% โดยนํ้าหนัก จะเตรียมสารละลาย
กรดไฮโดรคลอริกได้กี่ cm3
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
16
ตอนที่ 4 สมบัติคอลลิเกตีฟ
สมการที่ใช้คํานวณเกี่ยวกับสมบัติคอลลิเกตีฟ
ΔT = Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทําละลาย = kb m
ΔT = Tแข็งตัวทําละลาย – Tแข็งสารละลาย = kf m
เมื่อ kb = ค่าคงที่การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด
kf = ค่าคงที่การลดของจุดเยือกแข็ง
m = ความเข้มข้นของสารละลายหน่วยเป็นโมลแลล
และ ΔT = Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทําละลาย = kb ( M.2w
1000.1w
)
ΔT = Tแข็งตัวทําละลาย – Tแข็งสารละลาย = kf ( M.2w
1000.1w
)
32(มช 39) สารประกอบที่ระเหยยาก และไม่แตกตัวมีมวล 5 กรัม เมื่อนําไปละลายนํ้า 500
กรัม ปรากฏว่าสารละลายที่ได้มีจุดเดือด 100.10oC มวลโมเลกุลของสารประกอบนี้มีค่า
เท่ากับเท่าใด (กําหนด Kb ของนํ้า = 0.50o C/mol/kg) (50.00)
32(มช 39) ตอบ 50
วิธีทํา จาก Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทําละลาย = kb ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
×
×
M2W
10001W
100.1 – 100 = 0.50( )M500
10005
×
×
M = 50
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
33(มช 42) ในการทดลองครั้งหนึ่ง เมื่อละลายสารA 2.76 g ในเอทานอล 10 g พบว่าสารละลาย
มีจุดเดือด 82.16oC จงหามวลโมเลกุลของสาร A (กําหนดให้ จุดเดือดของเอทานอลเท่ากับ
78.50oC ค่าคงที่ของการเพิ่มของจุดเดือด (Kb) ของเอทานอลเท่ากับ 1.22oC / (mol/kg)
33(มช 42) ตอบ 92
วิธีทํา จาก Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทําละลาย = kb ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
×
×
M2W
10001W
m =
ลาย(kg)มวลตัวทําละ
วถูกละลายจํานวนโมลตั
หรือ m = M.2w
1000.1w
เมื่อ w1 คือ มวลตัวถูกละลาย
w2 คือ มวลตัวทําละลา
M คือ มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
17
82.16 – 78.5 = 1.22 ( )M10
10002.76
×
×
M = 92
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
34(มช 36) สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวทําละลายที่มีจุดเดือดอยู่ที่ 61.70o C และตัว
ถูกละลายที่มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 500 เมื่อนําเอาสารละลายนี้มาหาจุดเดือดปรากฏว่าได้จุด
เดือดอยู่ที่ 62.20o C จงหาว่าในสารละลายนี้ 100 กรัม จะมีตัวถูกละลายอยู่กี่กรัม
กําหนดค่า Kb ของตัวทําละลายเท่ากับ 5.00oC Kg/mol (4.76 )
34(มช 36) ตอบ 4.762 กรัม
วิธีทํา สมมุติ มีมวลตัวถูกละลายเป็น A กรัม
ดังนั้น มวลตัวทําละลาย = 100 – A กรัม
จาก Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทําละลาย = kb ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
×
×
M2W
10001W
62.20 – 61.70 = 5.00 500A)(100
1000A
−
×
A = 4.762 กรัม
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
35(มช 40) ถ้าสารละลายซูโครส (C12H22O11) 342 กรัม ในนํ้า 1 กิโลกรัม มีจุดเยือกแข็ง
–1.8oC สารละลายที่มีซูโครส 114 กรัม ในนํ้า 500 กรัม จะมีจุดเยือกแข็งอยู่ที่กี่ oC
1. –1.0 2. –1.2 3. –1.6 4. –1.8 (ข้อ 2)
35(มช 40) ตอบข้อ 2.
วิธีทํา ตอนแรก จาก Tเยือกแข็งตัวทํา – Tเยือกแข็งสารละลาย = kf ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
×
×
M2W
10001W
0 – (–1.8) = kf ( ))(1000)(342
)(342)(1000
kf = 1.8
ตอนหลัง จาก Tเยือกแข็งตัวทํา – Tเยือกแข็งสารละลาย = kf ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
×
×
M2W
10001W
0 – Tเยือกแข็งสารละลาย = 1.8( )(342)(500)
(1000)(114)
Tเยือกแข็งสารละลาย = 1.2oc
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
18
36(มช 50) สารละลายที่มีนํ้าเป็นตัวทําละลายและมีความเข้มข้นเป็น 0.100 โมลต่อกิโลกรัม มี
จุดเยือกแข็งเป็น –0.60 องศาเซลเซียส ตัวถูกละลายในสารละลายดังกล่าวจะเป็นสารใด
( กําหนดค่า Kf ของนํ้าบริสุทธิ์ 1.86oC/m)
1. MgCl2 2. CuSO4 3. LiCl 4. Na3 PO4 (ข้อ 4)
36(มช 50) ตอบข้อ 1.
วิธีทํา จากโจทย์ ความเข้มข้น (m) = 0.1 mol /Kg Tเยือกแข็งสารละลาย = - 0.6 oC
จะได้ = Tเยือกแข็งตัวทําละลาย – Tเยือกแข็งสารละลาย = kf mI
0 – (- 0.6) = (1.86)(0.1)I
I = 3.22
I ≈ 3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 5 สูตรเคมี
37(มช 44) ถ้านํา C 6 กรัม รวมกับ H 1 กรัม และ S 8 กรัม จะได้สารประกอบชนิด
หนึ่งที่มีมวลโมเลกุล 180 กรัม สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้ คือข้อใด
1. C6 H12 S3 2. C2 H4 S 3. C3 H6 S3 4. CH2 S (ข้อ 1)
37(มช 44) ตอบ ข้อ 1.
วิธีทํา ตอน 1 อัตราส่วนโดยมวล C : H : S = 6 : 1 : 8
อัตราส่วนโดยอะตอม C : H : S = 12
6 : 1
1: 32
8
= 0.5 : 1 : 0.25
อัตราส่วนโดยอะตอม C : H : S = 2 : 4 : 1
ดังนั้น สูตรอย่างง่าย = C2H4S
ต่อไป (มวลจากสูตรอย่างง่าย) n = มวลโมเลกุล
(C2H4S)n = 180
60 n = 180
n = 3
แสดงว่าสูตรโมเลกุล = (C2H4S)n = (C2H4S)3 = C6H12S3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
19
38(มช 43) สารอย่างหนึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และคลอรีน จากการทดลองเมื่อ
นําสารนี้มา 125 กรัม วิเคราะห์พบว่ามี C อยู่ 48 กรัม และไฮโดรเจน 6 กรัม สูตร
เอมพิริคัลของสารนี้เป็นอย่างไร ( กําหนดให้ : C = 12 , H = 1 , Cl = 35.5 )
1. C2H3Cl 2. C8HCl12 3. C4H3Cl2 4. C4H6Cl (ข้อ 1)
38(มช 43) ตอบข้อ 1.
วิธีทํา มวลสารทั้งหมด = 125 กรัม , มวล C = 48 กรัม , มวล = 6 กรัม
ดังนั้น มวลออกซิเจน O = 125 – 48 – 6 = 71
อัตราส่วน C : H : Cl = 48 : 6 : 71 โดยมวล
= 35.5
71:1
6:12
48 โดยอะตอม
= 4 : 6 : 2
C : H : Cl = 2 : 3 : 1
สูตรเอมพิริคัล คือ C2H3Cl
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
39(มช 39) ธาตุ A 2 อะตอม มีมวลเท่ากับ 1.824 x 10–22 กรัม สารประกอบของออกไซด์
ของ A ประกอบด้วย A 72.03% และออกซิเจน 27.97% โดยมวล สารประกอบนี้จะมี
สูตรอย่างง่ายเป็น ( กําหนดให้ 12
1 มวลของ C – 12 เท่ากับ 1.66x10–24 กรัม )
1. A2O3 2. A2O5 3. A3O4 4. AO2 (ข้อ 3)
39(มช 39) ตอบ ข้อ 3.
วิธีทํา ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10–22 กรัม
ธาตุ A 1 อะตอม = 1824 10 22
2
. × −
= 9.12 x 10–23 กรัม
ดังนั้น มวลอะตอม A = 9.12 10 23
166 10 24
× −
× −.
= 55
ต่อไป หาสูตรอย่างง่าย
อัตราส่วนโดยมวล A : O = 72.03 : 27.97
อัตราส่วนโดยอะตอม = 72.03
55
27.97
16:
= 1.309 : 1.748
= 1 : 1.33
= 3 : 4
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
20
ดังนั้น สารประกอบนี้จะมีสูตรอย่างง่ายเป็น A3O4
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 6 การหามวลร้อยละจากสูตรโมเลกุล
สูตรการหามวลร้อยละของสาร จากสูตรโมเลกุล
ร้อยละของสาร =
มวลทั้งหมด
มวลสาร x 100
40. จงหามวลร้อยละของธาตุ O ใน CuSO4 . 5H2O (Cu = 63.5 , S = 32) (57.72%)
40. ตอบ 57.72%
วิธีทํา มวลโมเลกุล CuSO4 . 5H2O = 63.5 + 32 + 4(16) + 5[2(1) + 16]
= 249.5
จะได้มวล O =
มวลทั้งหมด
Oมวล x 100
= 249.5
144 x 100 = 57.72
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
41. จากข้อที่ผ่านมา จงหามวลร้อยละของนํ้า ( 36.07%)
41. ตอบ 36.07%
วิธีทํา จากข้อที่ผ่านมา มวล CuSO4 . 5H2O = 249.5
มวล H2O = 5(18) = 90
ดังนั้น % มวล H2O =
มวลทั้งหมด
O2Hมวล
x 100
= 249.5
90 x 100 = 36.07
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
42(มช 35) สารประกอบอย่างหนึ่งมีสูตรเป็น X2CO3 . 10 H2O จากการทดลองพบว่า มีมวล
นํ้าผลึกทั้งหมด 60% มวลอะตอมของ X เท่ากับเท่าใด (C=12 , O=16 , H=1) (30.00)
42(มช 35) ตอบ 30
วิธีทํา สมมติ X มีมวลอะตอม = A
ดังนั้น X2CO3 . 10H2O มีมวลโมเลกุล = 2A + 12 + 48 + 180 = 2A + 240
และ ในโมเลกุลจะมีนํ้าอยู่ = 10H2O = 10 (18) = 180
ทีนี้โจทย์บอก X2CO3 . 10H2O มี H2O = 60%
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
21
จาก ร้อยละของนํ้า =
มวลทั้งหมด
มวลนํ้า x 100
60 = 2402A
180
+ x 100
A = 30
นั่นคือ X มีมวลอะตอม = 30
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
43(มช 40) สาร A เป็นสารบริสุทธิ์ โดยใน 1 โมเลกุลของสารนี้ประกอบด้วยคาร์บอน 27
อะตอม คิดเป็นร้อยละโดยมวลของคาร์บอนเท่ากับ 80.50 อยากทราบว่าสาร A มีมวล
โมเลกุลเท่าไร
1. 348.3 2. 402.5 3. 430.3 4. 490.8 (ข้อ 2)
43(มช 40) ตอบข้อ 2.
วิธีทํา สมมุติสารประกอบนี้มีคาร์บอน 27 อะตอม
ดังนั้นเฉพาะมวลคาร์บอน = 27 x 12 = 324
จาก ร้อยละของคาร์บอน =
มวลโมเลกุล
มวลคาร์บอน x 100
80.5 = m
324 x 100
m = 402.5
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 7 สมการเคมี
44. จงดุลสมการเคมีต่อไปนี้โดยใช้วิธีตรวจพินิจ
1. Fe2O3 + H2 → Fe + H2O ( Fe2 O3 + 3H2 → 2Fe + 3 H2O )
2. Fe2O3 + C → Fe + CO2 ( 2Fe2 O3 + 3C → 4Fe + 3CO2 )
3. PCl5(l) + H2O(l) → H3PO4(aq) + HCl(aq) ( PCl5(l) + 4H2O(l) → H3PO4 (aq) + 5HCl(aq) )
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
22
45. ในการเผา KClO3 จะเกิดปฎิกิริยาดังนี้
2KClO3 → 2KCl + 3O2 (K = 39.1 , Cl = 35.5 , O = 16)
ถ้าเผา KClO3 จํานวน 12.26 กรัม จะได้แก๊ส O2 กี่ลิตรที่ STP (3.36 ลิตร)
45. ตอบ 3.36 ลิตร
วิธีทํา จากสมการ 2KClO3 → 2KCl + 3O2
จะเห็นได้ว่า 3
2
3Oโมล
3KClOโมล
=
และเนื่องจาก 3โมล KClO3 = 2โมล O2
3 ( m
g )KClO3 = 2( 22.4
แก๊ส
V
)O2
3 ( 122.6
12.26 ) = 2( 22.4
แก๊ส
V
O2)
∴ Vแก๊ส O2 = 3.36 ลิตร
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
46(มช 42) ปฏิกิริยาระหว่าง X กับ Y เป็นไปตามสมการ 2X + 3Y → 2A + 3B
ถ้าใช้สารละลาย X 100 cm3 ซึ่งเตรียมจากสาร X 0.20 กรัม ละลายนํ้าจนเป็นสารละลาย
100 cm3 จะทําปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย Y ที่มีความเข้มข้น 0.10 mol/dm3 จํานวน
20 cm3 จงหามวลโมเลกุลของสาร X ( 150 )
46(มช 42) ตอบ 150
วิธีทํา จาก 2 X + 3Y → 2 A + 3 B
จะเห็นว่า 3
2
Yโมล
Xโมล =
และเนื่องจาก 3 โมล X = 2 โมล Y
3 ( m
g ) = 2 (1000
CV )
1000
2(0.1)20
m
0.23 =
m = 150
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
23
47(มช 38) สมการแสดงปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสาร A อย่างสมบูรณ์ เขียนได้ดังนี้
2 A + 17 O2 → 12 CO2 + 10 H2O
สูตรโมเลกุลของสาร A ควรเป็นแบบใด
1. C4H6 2. C4H10 3. C6H10 4. C6H12 (ข้อ 3)
47(มช 38) ตอบ 3
วีธีทํา จากสมการ 2A + 17O2 → 12CO2 + 10H2O
จะได้ว่า 2(CxHy)+ 10H2O → 12CO2 + 10H2O
จาก 12CO2 + 10H2O มี C = 12 ตัว H = 20 ตัว
∴ 2(C6H10)+ 17O2 → 12CO2 + 10H2O
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
48(มช 47) การแยกตกตะกอนของเงินออกจากสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตทําได้โดยการเติมกรด
เกลือลงไป ซึ่งจะทําให้เกิดปฏิกิริยาได้ตะกอนของ ซิลเวอร์คลอไรด์ ดังนี้คือ
AgNO3(aq) + HCl(aq) → AgCl(s) + HNO3(aq)
หากต้องการใช้สารละลายกรดเกลือที่มีความเข้มข้นเท่ากับ 37% โดยนํ้าหนัก และมีความ
หนาแน่นเท่ากับ 1.017 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ในการตกตะกอนของซิลเวอร์คลอไรด์
จากสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตความเข้มข้น 0.50 โมลต่อลิตร ปริมาตร 25.00 ลูกบาศก์
เซนติเมตรอย่างสมบูรณ์ จะต้องใช้สารละลายกรดเกลืออย่างน้อยกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (1.21)
48(มช 47) ตอบ 1.21 cm3
วิธีทํา ตอน 1 โจทย์บอก % HCl = 37 , DHCl = 1.017 g / cm3
หาความเข้มข้นเป็นโมลต่อลิตร โดย
จาก C = m
D)10(% = 5.36
)017.1)(10(37
= 10.3 mol / dm3
ตอน 2 จากปฏิกิริยา Ag NO3 + HCl → AgCl + HNO3
จะได้ว่า โมล AgNO3 = โมล HCl
( ) 3AgNO1000
cv = ( )HCl1000
cv
(0.5) (25) = 10.3 VHCl
VHCl = 1.21 cm3
นั่นคือปริมาตร HCl เท่ากับ 1.21 ลูกบาศก์เซนติเมตร
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
24
49(มช 36) สารละลายที่มี CaCl2 ถูกเติมลงในสารละลายของ AgNO3 เตรียมสารละลาย
AgNO3 โดยละลาย Ag 2.16 กรัม ลงในกรดไนตริก จงหามวลเป็นกรัมของแคลเซียม
คลอไรด์ในสารละลาย ถ้าแคลเซียมคลอไรด์ทั้งหมดทําปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย AgNO3
เกิด AgClปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมีดังนี้ ( สมการยังไม่ได้ดุล )
(1) Ag(s) + HNO3 (aq) → AgNO3 (aq) + NO2 (g) + H2 O(1)
(2) AgNO3 (aq) + CaCl2 (aq) → AgCl(s) + Ca(NO3 )2 (aq)
(ใช้ Ag = 108 , Ca = 40 , Cl = 35.5) (1.11)
49(มช 36) ตอบ 1.11 กรัม
วิธีทํา เมื่อดุลสมการจะได้
2Ag + 4HNO3 → 2AgNO3 + 2NO2 + 2H2O
2AgNO3 + CaCl2 → 2AgCl + Ca(NO3)2
จะเห็นว่าใน 2 สมการนี้ มีจํานวน AgNO3 เท่ากันแล้ว จึงไม่ต้องปรับแต่งอีก
จากสมการจะได้ 1
2
2CaClโมล
Agโมล =
โมล Ag = 2 โมล CaCl2
( m
g )เงิน = 2 ( m
g )แคลเซียมคลอไรด์
( 108
2.16 )เงิน = 2 (111
g )แคลเซียมคลอไรด์
gแคลเซียมคลอไรด์ = 1.11 กรัม
นั่นคือมวล CaCl2 ที่ใช้ คือ 1.11 กรัม
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
50(มช 47) ในการทดลองครั้งหนึ่งได้นําโลหะแคลเซียมหนัก 0.65 กรัม ใส่ลงไปในสาร
ละลายกรดเกลือที่มีความเข้มข้น 3.50 โมลต่อลิตร ปริมาตร 8.0 cm3 พบว่ามีก๊าซไฮโดรเจน
เกิดขึ้นดังปฏิกิริยาต่อไปนี้ Ca(s) + HCl(aq) → CaCl2(aq) + H2 (g) จงคํานวณ
หาปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นในหน่วยลิตรที่สภาวะ STP
1. 0.31 2. 0.36 3. 0.63 4. 0.72 (ข้อ 1)
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
25
50(มช 47) ตอบข้อ 1.
วิธีทํา ก่อนอื่นต้องหา หาสัดส่วนของ
โมลที่ใช้
โมลที่มี
สัดส่วน Ca = 1
ที่มี
n
= 1
(g/m) = 1
(0.65/40) = 0.01625
สัดส่วน HCl = 2
ที่มี
n
= 2
(cv/1000) = 2
03.5(8)/100 = 0.014
จะเห็นว่าสัดส่วน HCl มีน้อยกว่า แสดงว่า HCl จะถูกใช้จนหมด
การคํานวณหา H2(g) ต่อไปจึงต้องคิดจาก HCl
จากสมการที่ดุลแล้ว Ca(s) + 2 HCl(aq) → CaCl2(aq) + H2(g)
จะได้ โมล HCl = 2 โมล H2
1000
cv = 2 22.4
ก๊าซ
V
1000
3.5(8) = 2 22.4
ก๊าซ
V
Vก๊าซ = 0.3136 ลิตร
นั่นคือ จะเกิดก๊าซไฮโดรเจน 0.31 ลิตร โดยประมาณ
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
51(มช 49) จากปฏิกิริยา 2 AgNO3(aq) + BaCl2(aq) → 2 AgCl(s) + Ba(NO3)2(aq)
ถ้าใช้ AgNO3 5.10 กรัม ทําปฏิกิริยากับ BaCl2 2.08 กรัม จะได้ AgCl กี่กรัม
1. 1.44 2. 2.87 3. 3.58 4. 4.30 (ข้อ 2)
52(มช 50) ถ้านําสารละลาย Na2CO3 เข้มข้น 1.00 mol/dm3 ปริมาตร 250.00 cm3 ซึ่งหนัก
276.50 กรัม มาผสมกับสารละลาย HCl เข้มข้น 2.00 mol/dm3 ปริมาตร 200.00 cm3
ซึ่งหนัก 214.60 กรัม จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ
Na2CO3(aq) + HCl(aq) → NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g) (ยังไม่ดุล)
หลังจากทิ้งไว้จนฟองแก๊สหมด สารละลายผสมที่ได้มีมวลเป็นเท่าไร (481.7)
53(มช 50) ในการทดลองเตรียมแก๊ส NO จากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH3 กับ แก๊ส O2
ดังสมการ 4 NH3(g) + 5O2(g) → 6 H2O(g) + 4 NO(g) ถ้าผสมแก๊ส NH3
ปริมาตร 5.00 ลิตรที่ STP และแก๊ส O2 5.00 ลิตร ที่ STP เข้าด้วยกัน พบว่าเมื่อ
ปฏิกิริยาสิ้นสุด ได้แก๊ส NO คิดเป็นนํ้าหนัก 4.50 กรัม จงหาผลได้ร้อยละ (83.96)
Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1
26
ตอนที่ 8 ปริมาณสารสัมพันธ์ของแก๊ส
54(มช 44) ธาตุ Y จํานวน 4 โมล ทําปฏิกิริยากับ O2 (g) 67.2 ที่ STP เกิดเป็นสารประกอบ
Z 2 โมล เพียงอย่างเดียวหนัก 272 กรัม ธาตุ Y มีมวลอะตอมเท่าใด ( 44 )
55(มช 46) ธาตุ A จํานวน 5 โมล ทําปฏิกิริยาพอดีกับก๊าซออกซิเจน 89.6 ลิตร ที่ STP
เกิดเป็นสารประกอบ X ชนิดเดียว 3 โมล หนัก 338.0 กรัม ธาตุ A มีมวลอะตอมกี่กรัม ( 42)
56. กําหนดปฏิกริยา 4 X2(g) + 7 Y2(g) → 2 X4Y7 (g)
ถ้าใช้ Y2 28 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทําปฏิกิริยากับ X2 ปริมาณมากเกินพอที่อุณหภูมิ และ
ความดันเดียวกัน จะเกิดแก๊ส X4Y7 กี่ลูกบาศก์ เซนติเมตร ( 8 )
57. นํา H2 และ O2 อย่างละ 4 dm3 มาทําปฏิกิริยากันที่อุณหภูมิ 100oC ดังสมการ
2H2 (g) + O2 (g) → 2H2O(g)
เมื่อปฏิกิริยาเกิดอย่างสมบูรณ์ จะมีแก๊สในระบบเท่าใด (6 dm3)

Contenu connexe

Tendances

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumพัน พัน
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 

Tendances (20)

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 

En vedette

โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.10901901181
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 

En vedette (7)

โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 

Similaire à เคมี

ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Chicciiz Pu
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550Review Wlp
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptLeeMinho84
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลKrujake
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 25609GATPAT1
 

Similaire à เคมี (20)

ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
Mole
MoleMole
Mole
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมล
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
 

เคมี

  • 1. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 1 ตะลุยโจทย์ เคมี บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 ตอนที่ 1 มวลอะตอม และ มวลโมเลกุล 1 a.m.u = 1.66 x 10–24 กรัม = 1.66 x 10–27 กิโลกรัม มวลอะตอมเฉลี่ย = 1. ธาตุ A 2 อะตอม มีมวลเท่ากับ 1.824 x 10–22 กรัม มวลอะตอมของ A มีค่าเท่าใด ( กําหนดให้ 12 1 มวลของ C – 12 เท่ากับ 1.66x10–24 กรัม ) ( 55 ) 1. ตอบ 55 วิธีทํา ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10–22 กรัม ธาตุ A 1 อะตอม = 1824 10 22 2 . × − = 9.12 x 10–23 กรัม ดังนั้น มวลอะตอม A = 241066.1 231012.9 −× −× = 55 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 2(มช 40) ธาตุ M มีมวลอะตอม 70 และมีความหนาแน่นเท่ากับ 5.02 g / cm3 ปริมาตรเฉลี่ย ของธาตุนี้ 1 อะตอม จะมีค่ากี่ cm3 (ข้อ 1) 1. 2.31 x 10–23 2. 1.18 x 10–25 3. 4.3 x 10–23 4. 5.18 x 10–25 2(มช 40) ตอบข้อ 1. วิธีทํา จากมวลอะตอม M = 70 amu = (70)(1.66x10–24) กรัม ความหนาแน่น = 5.02 g/cm3 ปริมาตร = ? จาก ความหนาแน่น = ปริมาตร มวล = 5.02 )2410(70)(1.66 −× = 2.31x10-23 g/cm3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 3. สมมติธาตุ X มี 3 ไอโซโทป ในธรรมชาติ คือ เปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ มวล ไอโซโทปที่ 1 ไอโซโทปที่ 2 ไอโซโทปที่ 3 80 15 5 12 13 14 จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X (12.25 ) ∑ ( % x มวล ) 100
  • 2. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 2 3. ตอบ 12.25 วิธีทํา มวลอะตอมเฉลี่ย x = 100 มวล)x(%∑ = 100 14)x(513)x(1512)x(80 ++ = 100 70195960 ++ = 100 1125 = 12.25 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 4. มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุออกซิเจนในธรรมชาติเท่ากับ 16.032 แสดงว่าไอโซโทปใดของ ออกซิเจนที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ 1. 16O 2. 17O 3. 18O 4. เท่ากัน ( ข้อ 1) 4. ตอบ 1 เหตุผล เพราะมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุจะมีค่าใกล้เคียงกับมวลที่มีเปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 5. ธาตุ D ประกอบด้วยไอโซโทป 2 ชนิด ที่มีมวลอะตอม 10.00 และ 11.00 ตามลําดับ หาก มวลอะตอมของธาตุ D เท่ากับ 10.20 ปริมาณในธรรมชาติของ D ที่มีมวลอะตอม 11.00 จะเท่ากับเท่าใด ( 20 ) 5. ตอบ 20 วิธีทํา นําข้อมูลที่ได้มาเขียนตาราง ให้สมมติ % ในธรรมชาติ D % ในธรรมชาติ มวล M – M น้อยสุด ไอโซโทป 1 ไอโซโทป 2 100 – A A 10 11 10 – 10 = 0 11 – 10 = 1 Mเฉลี่ย = 100 สุด)มวลน้อยที่-มวล(%∑ + มวลน้อยที่สุด = 100 A + 10 A = (10.20 – 10) x 100 = 20 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 6(มช 46) มวลโมเลกุลของสารในข้อใดมีค่ามากที่สุด 1. Ca3(PO4)2 2. CuSO4 . 5H2O 3. Pb(NO3)2 4. K2Cr2O7 (ข้อ 3)
  • 3. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 3 6(มช 46) ตอบ ข้อ 3 วิธีทํา ข้อ 1 มวลโมเลกุล Ca3(PO4) 2 = 3(40) + [31 + 4(16)] x 2 = 120 + (95)2 = 310 ข้อ 2 มวลโมเลกุล CuSO4 . 5H2O = 63.5 + 32 +4(16) + 5[2(1) + 16] = 63.5 + 32 + 64 + 90 = 249.5 ข้อ 3 มวลโมเลกุล Pb(NO3)2 = 207 + [14 + 3(16)]2 = 207 + 124 = 331 ข้อ 4 มวลโมเลกุล K2Cr2O7 = 2(39) + 2(52) + 7(16) = 78 + 104 + 112 = 294 ∴ Pb (NO3)2 จะมีมวลโมเลกุลมากที่สุด = 331 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 2 โมล H 6.02x1023 อะตอม = 1 โมล–อะตอม มวล H2O 1 โมล–โมเลกุล = 18 กรัม NO 6.02x1023 โมเลกุล = 1 โมล–โมเลกุล Na+ 6.02x1023 อิออน = 1 โมล–อิออน สูตรคํานวณ n = M g = 23106.02 N × = 22.4 V = 23106.02อ.อ.ย จ.อ.ย ×× เมื่อ n = จํานวนโมล , g = มวลสารที่มีอยู่ (กรัม) M = มวลโมเลกุล หรือ มวลอะตอม , N = จํานวนโมเลกุล V = ปริมาตรแก๊ส (dm3, Lit) จ.อ.ย. = จํานวนอนุภาคย่อย อ.อ.ย.= อัตราอนุภาคย่อยในโจทย์นั้น ๆ 1 โมล จํานวนอนุภาค 6.02x1023 อนุภาค มีมวลเท่ากับโมเลกุลหรือ มวลอะตอม แต่มีหน่วยเป็นกรัม แก๊สหรือไอที่มีปริมาตร 22.4 Lit(dm3) ที่ STP (1 atm, 0oC) **1000 cm3 = 1 Lit**
  • 4. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 4 7(มช 39) ข้อความใดที่ ไม่ใช่ เป็นสมบัติของก๊าซใดๆ ปริมาตร 22.4 dm3 ที่อุณหภูมิความดัน มาตรฐาน 1. จํานวนโมล = 6.02x1023 โมล 2. มวล = มวลโมเลกุลคิดเป็นกรัม 3. จํานวนโมเลกุล = 6.02x1023 โมเลกุล 4. จํานวนโมเลกุลของก๊าซนี้เท่ากับจํานวนโมเลกุลของไฮโดรเจน (ข้อ 1) 7(มช 39) ตอบ ข้อ 1. เหตุผล เพราะก๊าซ 22.4 ลิตร ที่ STP มีเพียง 1 โมลเท่านั้น ไม่ใช่ 6.02 x 1023 โมล ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 8. แก๊สโพรเพน (C3H8) จํานวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลิตร (11.2) 8. ตอบ 11.2 วิธีทํา มวลโมเลกุล (M) = 3(12) + 8(1) = 36 + 8 = 44 มวลสารที่มี (g) = 22 กรัม ปริมาตรแก๊ส (Vแก๊ส) = ? จาก m g = 22.4 แก๊ส V Vแก๊ส = m g x 22.4 = 44 22 x 22.4 = 11.2 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 9. แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 67.2 ลิตร ที่ STP จะมีกี่โมเลกุล (1.806x1024) 9. ตอบ 1.806 x 1024 วิธีทํา (Vแก๊ส) = 67.2 dm3 , N = ? จาก 2310x6.02 N = 22.4 V N = 22.4 67.2 x 6.02 x 1023 N = 1.806 x 1024 โมเลกุล ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 10. แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 0.2 กรัม มีปริมาตร 400 cm3 ที่ STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุลเท่าไร 1. 11.2 2. 16 3. 18 4. 20.5 (ข้อ 1)
  • 5. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 5 10. ตอบ ข้อ 1 วิธีทํา โจทย์กําหนด g = 0.2 กรัม , Vแก๊ส = 1000 3cm400 = 0.4 dm3 M = ? จาก m g = 22.4 V จะได้ M = V 22.4xg M = 0.4 22.4x0.2 = 11.2 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 11(มช 38) ก๊าซชนิดหนึ่งมีปริมาณ 448 cm3 ที่ STP มีมวล 0.60 กรัม ก๊าซนี้น่าจะได้แก่ 1. NH3 2. CH4 3. C2 H6 4. CO2 (ข้อ 3) 11(มช 38) ตอบข้อ 3. วิธีทํา โจทย์บอก Vแก๊ส = 448 Cm3 = 0.448 ลิตร , g = 0.60 กรัม จาก m g = 22.4 v m 0.6 = 22.4 ลิตร0.448 m = 310448 )3100.6(22.4 −× × = 30 แสดงว่าสารนี้มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 30 ซึ่งน่าจะเป็น C2H6 เพราะ C2H6 มีมวลโมเลกุล = 2(12) + 6(1) = 30 เช่นกัน ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 12(มช 43) ถ้านักเรียนตักนํ้าบริสุทธิ์มา 2 cm3 นํ้านั้นจะมีจํานวนโมเลกุลเท่าใด กําหนดให้ : ความหนาแน่นของนํ้าเท่ากับ 1.0 g/cm3 1. 0.11 2. 36 3. 6.69x1022 4. 1.20x1024 (ข้อ 3) 12(มช 43) ตอบ ข้อ 3. วิธีทํา มวลโมเลกุลของนํ้า ( H2O) = 18 และ นํ้า 2 cm3 จะมีมวล = 2 กรัม จาก 23106.02 N m g × = 23106.02 N 18 2 × = N = 6.69 x 1023 โมเลกุล ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
  • 6. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 6 13(มช 41) สาร A มีมวลโมเลกุล 64 ประกอบด้วย S และ O อย่างละเท่าๆ กัน โดยมวล ถ้า สาร A 16 กรัม มีจํานวนอนุภาคเท่ากับสาร B 19 กรัม สาร B ควรเป็นสารอะไร 1. NO2 2. CS2 3. CO2 4. SO2 (ข้อ 2) 13(มช 41) ตอบ ข้อ 2. วิธีทํา ตอน 1 คิดสาร A จาก m g 23106.02 N = × 64 16 23106.02 N = × N = 0.25 x 6.02 x 1023 นั่นคือ จํานวนอนุภาคของ A = 4 x 6.02 x 1023 เนื่องจากจํานวนอนุภาคของ B เท่ากับ A นั่นคือ จํานวนอนุภาค B = 4 x 6.02 x 1023 ตอน 2 คิดสาร B จาก m g 23106.02 N = × m19 23106.02 23x106.02x0.25 = × mB = 76 ดังนั้น สาร B ควรเป็น CS2 เพราะ CS2 มีมวลโมเลกุล = 12 + 2(32) = 76 เช่นเดียวกับ B ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 14(มช 38) กรดแอซีติก 24 กรัม จะมีจํานวนออกซิเจนอะตอมอยู่ทั้งหมดเท่ากับ 1. 6.02 x 1023 อะตอม 2. 4.82 x 1023 อะตอม 3. 2.41 x 1023 อะตอม 4. 1.20 x 1023 อะตอม (ข้อ 2) 14(มช38) ตอบข้อ 2. วิธีทํา กรดแอซีติก (CH3COOH ) มีมวลโมเลกุล = 12+3(1)+12+16+16+1 = 60 จาก 23106.02 N × = m g N = m g (6.02 x 1023) N = 60 24 (6.02 x 1023) N = 2.41 x 1023 โมเลกุล2
  • 7. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 7 ตอน 2 เนื่องจาก CH3COOH 1 โมเลกุล ประกอบด้วย O 2 อะตอม ดังนั้น CH3COOH 2.41 x 1023 โมเลกุล ประกอบด้วย O 4.82 x 1023 อะตอม ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 15(มช 44) กําหนดให้ A = Na2S4O6 , B = Al2(SO4)3 , C = H4P2O7 ถ้าสารประกอบเหล่านี้มีมวลเท่ากันเท่ากับ 2 กรัม จงเรียงลําดับจํานวนอะตอมของ ออกซิเจน ในโมเลกุลจากมากไปหาน้อย 1. A C B 2. C B A 3. B A C 4. A B C (ข้อ 2) 15(มช 44) ตอบ ข้อ 2. วิธีทํา จาก 2310x6.02xอ.อ.ย. จ.อ.ย = M g จะได้ จ.อ.ย. = M g x อ.อ.ย. x 6.02 x 1023 ตอน 1 Na2S4O6 1 โมเลกุล จะมี O 6 อะตอม จํานวน O = 270 2 x 6 x 6.02 x 1023 จํานวน O = 2.68 x 1022 อะตอม ตอน 2 Al2(SO4)3 1 โมเลกุล จะมี O 12 อะตอม จํานวน O = 342 2 x 12 x 6.02 x 1023 จํานวน O = 4.22 x 1022 อะตอม ตอน 3 H4P2O7 1 โมเลกุล จะมี O 7 อะตอม จํานวน O = 178 2 x 7 x 6.02 x 1023 จํานวน O = 4.73 x 1023 อะตอม จะเห็นว่าจํานวนอะตอมออกซิเจนในสาร C > B > A ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 16(มช 39) ธาตุ A มีมวลอะตอมเท่ากับ 60.0 ทําปฏิกิริยากับธาตุ B ทําให้เกิดสารประกอบ AB2 ถ้า 2 กรัมของ A ทําปฏิกิริยากับ 8 กรัมของ B ได้สารประกอบ AB2 มวลอะตอมของ B คือ 1. 90 2. 120 3. 160 4. 190 (ข้อ 2) 16(มช 39) ตอบ ข้อ 2. วิธีทํา จากสูตรโมเลกุลจะได้ว่า โมลB โมลA = 2 1
  • 8. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 8 ดังนั้น โมล B = 2 โมล A BmBg = AmAg (2) Bm 8 = (2) 60 2 mB = 120 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 17(มช 49) เมื่อเผาธาตุ X จํานวน 5.00 กรัม จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบ X2O หนัก 6.74 กรัม ธาตุ X มีมวลอะตอมเท่าใด 1. 13.5 2. 23.0 3. 33.5 4. 39.1 (ข้อ 2) 17(มช 49) ตอบ ข้อ 2. วิธีทํา จาก มวล X2O = 6.74 กรัม มีมวล X = 5.00 กรัม จะมีมวล O = 6.74 - 5.00 = 1.74 กรัม (O = 16) จาก X2O มีอัตราส่วน โมลO โมลX = 1 2 จะได้ 1โมล X = 2 โมล O ; ⎥⎦ ⎤ ⎢⎣ ⎡ = m g n ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ m g X = 2 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ m g O Mx 5 = 2 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 16 1.74 ∴ ดังนั้น Mx = 23.0 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 3 ความเข้มข้นสารละลาย 1. ความเข้มข้นแบบร้อยละ ร้อยละโดยมวลต่อมวล = ยมวลสารละลา ะลายมวลตัวถูกล x 100 ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร = ละลายปริมาตรสาร ถูกละลายปริมาตรตัว x 100 ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร = )3(cmละลายปริมาตรสาร (กรัม)ะลายมวลตัวถูกล x 100
  • 9. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 9 2. โมลต่อลิตร (mol / dm3 ) (โมลาร์ลิตี้) (M) สูตรที่ 1 ใช้สําหรับการเตรียมสารละลายโดยใส่ตัวถูกละลายลงในตัวทําละลาย n = M g = 2310x6.02 N = 22.4 V = 2310x6.02xอ.อ.ย จ.อ.ย = 1000 cv เมื่อ n = จํานวนโมลตัวถูกละลาย g = มวลตัวถูกละลายที่มีอยู่(กรัม) M = มวลโมเลกุล หรือ มวลอะตอมตัวถูกละลาย N = จํานวนโมเลกุลตัวถูกละลาย V = ปริมาตรแก๊สซึ่งเป็นตัวถูกละลาย (dm3 , Lit) จ.อ.ย. = จํานวนอนุภาคย่อยของตัวถูกละลาย อ.อ.ย. = อัตราส่วนอนุภาคย่อยตัวถูกละลายในโจทย์ c = ความเข้มข้นของสารละลาย (mol / dm3) v = ปริมาตรของสารละลาย (cm3) สูตร 2 ใช้เมื่อทําการปรับเปลี่ยนความเข้มข้นและปริมาตรสารละลายเดิม c1 v1 = c2 v2 เมื่อ c1 . c2 = ความเข้มข้นของสารละลายตอนแรก และ ตอนหลัง ตามลําดับ (mol/lit) v1 . v2 = ปริมาตรของสารละลายตอนแรก และ ตอนหลัง ตามลําดับ สูตร 3 ใช้เมื่อผสมสารละลายหลายตัวเข้าด้วยกัน cรวม vรวม = c1 v1 + c2 v2 + … เมื่อ c1 . c2 , cรวม = ความเข้มข้นของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และ สารละลายรวม ตามลําดับ v1 . v2 , vรวม = ปริมาตรของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และ สารละลายรวม ตามลําดับ การเปลี่ยนความเข้มข้น จากแบบร้อยละไปเป็นโมล/ลิตร กรณีที่ 1 สูตรเปลี่ยนจากร้อยละ โดยมวล หรือ โดยปริมาตร เป็นโมล/ลิตร c = M %10D กรณีที่ 2 สูตรเปลี่ยนจากร้อยละ โดยมวล/ปริมาตร เป็น โมล/ลิตร c = M %10 เมื่อ c = ความเข้มข้นเป็น โมล/ลิตร
  • 10. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 10 D = ความหนาแน่นสารละลาย (g/cm3) M = มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย 3. โมลต่อกิโลกรัมตัวถูกละลาย (mol/kg) (โมลแลล) (m) บอกจํานวนโมลตัวถูกละลายที่มีในตัวทําละลาย 1 กิโลกรัม เช่น สารละลาย ยูเรียเข้มข้น 3 mol/kg ตัวทําละลาย หมายความว่า มียูเรีย 3 โมล ละลายในตัวทําละลาย 1 กิโลกรัม สมการแสดงความสัมพันธ์ของความเข้มข้นแบบ โมล/ลิตร กับ โมแลล D = c (1000 M + m1 ) เมื่อ D = ความหนาแน่น (g/cm3) c = ความเข้มข้น (โมล/ลิตร) M = มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย m = ความเข้มข้น (โมแลล) 18. เมื่อละลายนํ้าตาลกลูโคส 30 กรัม ในนํ้ากลั่น 120 กรัม จงหาว่าสารละลายนี้มีความเข้ม ข้นโดยมวลเท่าใด (20%) 18. ตอบ 20% วิธีทํา จาก ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร = ยมวลสารละลา ะลายมวลตัวถูกล x 100 = 30120 30 + x 100 = 20 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 19(มช 39) จะต้องเติมนํ้าตาลทรายกี่กรัม ลงในสารละลายนํ้าตาลเข้มข้น 5% โดยมวล จํานวน 200 กรัม เพื่อให้ได้สารละลายเข้มข้น 20% โดยมวล (37.50 กรัม) 19(มช 39) ตอบ 37.5 กรัม วิธีทํา ตอน1 สารละลายเข้มข้น 5% โดยมวล ร้อยละโดยมวลต่อมวล = ยมวลสารละลา ะลายมวลตัวถูกล x 100 5 = 200 มวลนํ้าตาล x 100 มวลนํ้าตาล = 10 กรัม
  • 11. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 11 ทีนี้ ต้องการเปลี่ยนความเข้มข้นเป็น 20% โดยมวล สมมุติเติมนํ้าตาลเข้าไปอีก X กรัม สุดท้ายจึงมีสารละลาย 200 + X กรัม และมีนํ้าตาล 10 + X กรัม ร้อยละโดยมวลต่อมวล = ยมวลสารละลา ะลายมวลตัวถูกล x 100 20 = X200 X10 + + x 100 X = 37.5 กรัม ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 20. เมื่อใช้ NaOH 20 กรัม เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ปริมาตร จะได้ สารละลายกี่ cm3 (66.67 cm3) 20. ตอบ 66.67 cm3 วิธีทํา จากโจทย์ มวล NaOH = 20 กรัม ความเข้มข้นโดยมว /ปริมาตร = 30% จะได้ % โดยมวล/ปริมาตร = )3(cmละลายปริมาตรสาร (กรัม)ะลายมวลตัวถูกล x 100 30 = ปริมาตร 20 x 100 ∴ ดังนั้น ปริมาตรสารละลาย = 66.67 cm3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 21. โพแทสเซียมแมงกาเนต ( K2MnO4 ) จํานวน 59.1 กรัม ละลายในสารละลาย 100 cm3 สารละลายนี้มีความเข้มข้นกี่ mol / dm3 ( K=39 , Mn=55 , O=16 ) (3 โมล/ลิตร) 21. ตอบ 3 โมล/ลิตร วิธีทํา จากโจทย์ มวลโมเลกุล (M) = K2MnO4 = 2(39) + 55 + 4(16) = 197 g = 59.1 กรัม, V = 100 cm3 , C = ? จากสูตร M g = 1000 CV 197 59.1 = 1000 100xC C = 3 โมล/ลิตร ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
  • 12. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 12 22. เมื่อผ่านแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) 5.6 dm3 ที่ STP ลงในนํ้ากลั่นเป็นสารละลาย 300 cm3 ถ้าได้แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ละลายทั้งหมด จะได้สารละลายเข้มข้นกี่โมล / ลิตร ( 0.83 ) 22. ตอบ 0.83 โมล/ลิตร วิธีทํา จากโจทย์ Vแก๊ส = 5.6 dm3 , Vสารละลาย = 300 cm3 mol/l , C = ? จากสูตร 22.4 แก๊ส V = 1000 CV 22.4 5.6 = 1000 300xC C = 0.83 โมล/ลิตร ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 23. มี NaOH 1 mol/dm3 อยู่ 500 cm3 แบ่งมา 100 cm3 ทําให้เจือจางเป็น 1 ลิตร สาร ละลายนี้เข้มข้นเท่าใด ( 0.1 โมล/ลิตร ) 23. ตอบ 0.1 โมล/ลิตร วิธีทํา จากโจทย์ C1 = 1 mol/ dm3 V1 = 100 cm3 C2 = ? V2 = 1000 cm3 จะได้ C1 V1 = C2 V2 1 x 100 = C2 x 1000 C2 = 0.1 mol/dm3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 24. สารละลายชนิดหนึ่ง 100 cm3 เข้มข้น 3 mol/dm3 ต้องการเตรียมให้เข้มข้นเป็น 2 mol/dm3 จะต้องเติมนํ้าจนมีปริมาตรเท่าใด (150 cm3) 24. ตอบ 150 cm3 วิธีทํา จากโจทย์ V1 = 100 cm3 C1 = 3 mol/ dm3 V2 = ? C2 = 2 mol/ dm3 จะได้ C1 V1 = C2 V2 3 x 100 = 2 x V2 V2 = 150 cm3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
  • 13. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 13 25. ผสมสาระลายกรด HCl ขวดที่ 1 ซึ่งมีความเข้มข้น 1 mol/ dm3 จํานวน 300 cm3 กับ HCl ขวดที่ 2 ซึ่งมีความเข้มข้น 2 mol/ dm3 จํานวน 200 cm3 แล้วเติมนํ้าลงไปอีก 500 cm3 ถามว่าสารละลายผสมที่ได้จะมีความเข้มข้นกี่ mol/ dm3 ( 0.7 ) 25. ตอบ 0.7 mol /dm3 วิธีทํา จากโจทย์ C1 = 1 mol/ dm3 V1 = 300 cm3 C2 = 2 mol/ dm3 V2 = 200 cm3 VH2O = 500 cm3 Cรวม = ? จะได้ Vรวม = 300 + 200 + 500 = 1000 cm3 จากสูตร Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2 Cรวม (1000) = 1(300) + 2(200) Cรวม = 1000 700 = 0.7 mol/ dm3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 26(มช 45) มีขวดบรรจุสารละลาย HCl 2 ใบ ใบที่ 1 มี HCl เข้มข้น 0.50 mol/dm3 อยู่ 5.0 dm3 ใบที่ 2 มี HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 อยู่ 5.0 dm3 ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย HCl เข้มข้น 0.20 mol/dm3 โดยการนํา HCl จากขวดใบที่ 1 มา 0.5 dm3 แล้วจะต้องนํา HCl จากขวดใบที่ 2 จํานวนกี่ dm3 ( 1.5 ) 26(มช 45) ตอบ 1.5 dm3 วิธีทํา จากโจทย์ C1 = 0.5 mol/dm3 V1 = 0.5 cm3 C2 = 0.1 mol/dm3 V2 สมมติเป็น A dm3 Cรวม = 0.2 mol/dm3 Vรวม = 0.5 + A dm3 จาก Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2 (0.2) (0.5 + A) = 0.5 (0.5) + 0.1 A 0.1 + 0.2 A = 0.25 + 0.1A A = 1.5 dm3 แสดงว่า ต้องใช้สารจากขวดหลัง 1.5 dm3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 27. เมื่อผสม NaCl 2 mol/dm3 จํานวน 10 cm3 กับ 4 mol/dm3 จํานวน 100 cm3 แล้วเติม NaCl อีก 175.5 g แล้วเติมนํ้าจนมีปริมาตร 500 cm3 จงหาความเข้มข้นสารผสม (6.84 mol/dm3)
  • 14. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 14 27. ตอบ 6.84 mol /dm3 วิธีทํา จากโจทย์ C1 = 2 mol/ dm3 V1 = 10 cm3 C2 = 4 mol/ dm3 V2 = 100 cm3 g3 = 175.5 กรัม => m g = 1000 3V3C C3 V3 = 1000 x m g Cรวม = ? Vรวม = 500 cm3 จากสูตร Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2 + C3 V3 Cรวม (500) = 2(10) + 4(100) + 100 x m g Cรวม = 500 58.5 175.5x10040020 ++ Cรวม = 6.84 mol/ dm3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 28(มช 50) สารละลาย NaOH เข้มข้น 6.0 M มีความหนาแน่น 1.24 g/cm3 จะมีความเข้มข้น คิดเป็นร้อยละโดยมวลเท่ากับเท่าไร 1. 0.15 2. 1.86 3. 19.35 4. 24.00 (ข้อ 3) 28(มช 50) ตอบ ข้อ 3 วิธีทํา จากโจทย์ C = 6 M , D = 12.4 g /cm3 % โดยมวล = ? มวลโมเลกุลของ NaOH = 23 + 16 1 40 จาก C = M D10% จะได้ว่า 6 = 40 (12.4)(10)% % โดยมวล = 19.35 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 29(มช 46) กรดเกลือเข้มข้นมีปริมาณ HCl = 36.5% โดยนํ้าหนักและมีความหนาแน่นเท่ากับ 1.18 g/cm3 ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย HCl ที่มีความเข้มข้นเท่ากับ 0.236 mol/dm3 จะต้องนํากรดเกลือเข้มข้นกี่ cm3 มาเติมนํ้ากลั่นจนมีปริมาตรทั้งหมดเท่ากับ 100.0 cm3 ( 2 )
  • 15. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 15 29. ตอบ 2 cm3 วิธีทํา โจทย์บอก ความเข้มข้น HCl แบบ % โดยมวล = 36.5 มวลโมเลกุล HCl ( m ) = 35.5 + 1 = 36.5 , D = 1.18 g/cm3 ขั้นแรก ต้องทําความเข้มข้น HCl 36.5% ให้เป็น โมล / ลิตร ก่อน จาก C = m D)10(% = 36.5 .18)36.5(10)(1 = 11.8 mol / dm3 ขั้น 2 จาก C1 V1 = C2 V2 11.8 V1 = 0.236 (100 cm3) V1 = 2 cm3 นั่นคือต้องใช้สารละลาย HCl 2 cm3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 30(มช 41) สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 36.5% โดยมวล มีความหนาแน่น 1.15 g/cm3 ถ้าต้องการเตรียมกรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้น 0.345 mol/dm3 จํานวน 500 cm3 จะ ต้องใช้กรดไฮโดรคลอริกกี่ cm3 (H = 1 , Cl = 35.5) 1. 0.5 2. 1.5 3. 15 4. 150 (ข้อ 3) 30(มช 41) ตอบข้อ 3. วิธีทํา ขั้นแรก ต้องทําความเข้มข้น HCl 36.5% ให้เป็น โมล / ลิตร ก่อน จาก C = m D)10(% = 36.5 .15)36.5(10)(1 = 11.5 mol / dm3 ขั้น 2 จาก C1 V1 = C2 V2 11.5 V1 = 0.345 (500 cm3) V1 = 15 cm3 นั่นคือต้องใช้สารละลาย HCl 15 cm3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 31(มช 51) เมื่อใช้นํ้าบริสุทธิ์ 100 cm3 ที่ 4oC เตรียมสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความหนา แน่น 1.175 g/cm3 ที่มีเนื้อกรดไฮโดรคลอริก 34.4% โดยนํ้าหนัก จะเตรียมสารละลาย กรดไฮโดรคลอริกได้กี่ cm3
  • 16. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 16 ตอนที่ 4 สมบัติคอลลิเกตีฟ สมการที่ใช้คํานวณเกี่ยวกับสมบัติคอลลิเกตีฟ ΔT = Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทําละลาย = kb m ΔT = Tแข็งตัวทําละลาย – Tแข็งสารละลาย = kf m เมื่อ kb = ค่าคงที่การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด kf = ค่าคงที่การลดของจุดเยือกแข็ง m = ความเข้มข้นของสารละลายหน่วยเป็นโมลแลล และ ΔT = Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทําละลาย = kb ( M.2w 1000.1w ) ΔT = Tแข็งตัวทําละลาย – Tแข็งสารละลาย = kf ( M.2w 1000.1w ) 32(มช 39) สารประกอบที่ระเหยยาก และไม่แตกตัวมีมวล 5 กรัม เมื่อนําไปละลายนํ้า 500 กรัม ปรากฏว่าสารละลายที่ได้มีจุดเดือด 100.10oC มวลโมเลกุลของสารประกอบนี้มีค่า เท่ากับเท่าใด (กําหนด Kb ของนํ้า = 0.50o C/mol/kg) (50.00) 32(มช 39) ตอบ 50 วิธีทํา จาก Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทําละลาย = kb ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × × M2W 10001W 100.1 – 100 = 0.50( )M500 10005 × × M = 50 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 33(มช 42) ในการทดลองครั้งหนึ่ง เมื่อละลายสารA 2.76 g ในเอทานอล 10 g พบว่าสารละลาย มีจุดเดือด 82.16oC จงหามวลโมเลกุลของสาร A (กําหนดให้ จุดเดือดของเอทานอลเท่ากับ 78.50oC ค่าคงที่ของการเพิ่มของจุดเดือด (Kb) ของเอทานอลเท่ากับ 1.22oC / (mol/kg) 33(มช 42) ตอบ 92 วิธีทํา จาก Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทําละลาย = kb ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × × M2W 10001W m = ลาย(kg)มวลตัวทําละ วถูกละลายจํานวนโมลตั หรือ m = M.2w 1000.1w เมื่อ w1 คือ มวลตัวถูกละลาย w2 คือ มวลตัวทําละลา M คือ มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย
  • 17. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 17 82.16 – 78.5 = 1.22 ( )M10 10002.76 × × M = 92 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 34(มช 36) สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวทําละลายที่มีจุดเดือดอยู่ที่ 61.70o C และตัว ถูกละลายที่มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 500 เมื่อนําเอาสารละลายนี้มาหาจุดเดือดปรากฏว่าได้จุด เดือดอยู่ที่ 62.20o C จงหาว่าในสารละลายนี้ 100 กรัม จะมีตัวถูกละลายอยู่กี่กรัม กําหนดค่า Kb ของตัวทําละลายเท่ากับ 5.00oC Kg/mol (4.76 ) 34(มช 36) ตอบ 4.762 กรัม วิธีทํา สมมุติ มีมวลตัวถูกละลายเป็น A กรัม ดังนั้น มวลตัวทําละลาย = 100 – A กรัม จาก Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทําละลาย = kb ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × × M2W 10001W 62.20 – 61.70 = 5.00 500A)(100 1000A − × A = 4.762 กรัม ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 35(มช 40) ถ้าสารละลายซูโครส (C12H22O11) 342 กรัม ในนํ้า 1 กิโลกรัม มีจุดเยือกแข็ง –1.8oC สารละลายที่มีซูโครส 114 กรัม ในนํ้า 500 กรัม จะมีจุดเยือกแข็งอยู่ที่กี่ oC 1. –1.0 2. –1.2 3. –1.6 4. –1.8 (ข้อ 2) 35(มช 40) ตอบข้อ 2. วิธีทํา ตอนแรก จาก Tเยือกแข็งตัวทํา – Tเยือกแข็งสารละลาย = kf ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × × M2W 10001W 0 – (–1.8) = kf ( ))(1000)(342 )(342)(1000 kf = 1.8 ตอนหลัง จาก Tเยือกแข็งตัวทํา – Tเยือกแข็งสารละลาย = kf ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × × M2W 10001W 0 – Tเยือกแข็งสารละลาย = 1.8( )(342)(500) (1000)(114) Tเยือกแข็งสารละลาย = 1.2oc ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
  • 18. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 18 36(มช 50) สารละลายที่มีนํ้าเป็นตัวทําละลายและมีความเข้มข้นเป็น 0.100 โมลต่อกิโลกรัม มี จุดเยือกแข็งเป็น –0.60 องศาเซลเซียส ตัวถูกละลายในสารละลายดังกล่าวจะเป็นสารใด ( กําหนดค่า Kf ของนํ้าบริสุทธิ์ 1.86oC/m) 1. MgCl2 2. CuSO4 3. LiCl 4. Na3 PO4 (ข้อ 4) 36(มช 50) ตอบข้อ 1. วิธีทํา จากโจทย์ ความเข้มข้น (m) = 0.1 mol /Kg Tเยือกแข็งสารละลาย = - 0.6 oC จะได้ = Tเยือกแข็งตัวทําละลาย – Tเยือกแข็งสารละลาย = kf mI 0 – (- 0.6) = (1.86)(0.1)I I = 3.22 I ≈ 3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 5 สูตรเคมี 37(มช 44) ถ้านํา C 6 กรัม รวมกับ H 1 กรัม และ S 8 กรัม จะได้สารประกอบชนิด หนึ่งที่มีมวลโมเลกุล 180 กรัม สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้ คือข้อใด 1. C6 H12 S3 2. C2 H4 S 3. C3 H6 S3 4. CH2 S (ข้อ 1) 37(มช 44) ตอบ ข้อ 1. วิธีทํา ตอน 1 อัตราส่วนโดยมวล C : H : S = 6 : 1 : 8 อัตราส่วนโดยอะตอม C : H : S = 12 6 : 1 1: 32 8 = 0.5 : 1 : 0.25 อัตราส่วนโดยอะตอม C : H : S = 2 : 4 : 1 ดังนั้น สูตรอย่างง่าย = C2H4S ต่อไป (มวลจากสูตรอย่างง่าย) n = มวลโมเลกุล (C2H4S)n = 180 60 n = 180 n = 3 แสดงว่าสูตรโมเลกุล = (C2H4S)n = (C2H4S)3 = C6H12S3 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
  • 19. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 19 38(มช 43) สารอย่างหนึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และคลอรีน จากการทดลองเมื่อ นําสารนี้มา 125 กรัม วิเคราะห์พบว่ามี C อยู่ 48 กรัม และไฮโดรเจน 6 กรัม สูตร เอมพิริคัลของสารนี้เป็นอย่างไร ( กําหนดให้ : C = 12 , H = 1 , Cl = 35.5 ) 1. C2H3Cl 2. C8HCl12 3. C4H3Cl2 4. C4H6Cl (ข้อ 1) 38(มช 43) ตอบข้อ 1. วิธีทํา มวลสารทั้งหมด = 125 กรัม , มวล C = 48 กรัม , มวล = 6 กรัม ดังนั้น มวลออกซิเจน O = 125 – 48 – 6 = 71 อัตราส่วน C : H : Cl = 48 : 6 : 71 โดยมวล = 35.5 71:1 6:12 48 โดยอะตอม = 4 : 6 : 2 C : H : Cl = 2 : 3 : 1 สูตรเอมพิริคัล คือ C2H3Cl ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 39(มช 39) ธาตุ A 2 อะตอม มีมวลเท่ากับ 1.824 x 10–22 กรัม สารประกอบของออกไซด์ ของ A ประกอบด้วย A 72.03% และออกซิเจน 27.97% โดยมวล สารประกอบนี้จะมี สูตรอย่างง่ายเป็น ( กําหนดให้ 12 1 มวลของ C – 12 เท่ากับ 1.66x10–24 กรัม ) 1. A2O3 2. A2O5 3. A3O4 4. AO2 (ข้อ 3) 39(มช 39) ตอบ ข้อ 3. วิธีทํา ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10–22 กรัม ธาตุ A 1 อะตอม = 1824 10 22 2 . × − = 9.12 x 10–23 กรัม ดังนั้น มวลอะตอม A = 9.12 10 23 166 10 24 × − × −. = 55 ต่อไป หาสูตรอย่างง่าย อัตราส่วนโดยมวล A : O = 72.03 : 27.97 อัตราส่วนโดยอะตอม = 72.03 55 27.97 16: = 1.309 : 1.748 = 1 : 1.33 = 3 : 4
  • 20. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 20 ดังนั้น สารประกอบนี้จะมีสูตรอย่างง่ายเป็น A3O4 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 6 การหามวลร้อยละจากสูตรโมเลกุล สูตรการหามวลร้อยละของสาร จากสูตรโมเลกุล ร้อยละของสาร = มวลทั้งหมด มวลสาร x 100 40. จงหามวลร้อยละของธาตุ O ใน CuSO4 . 5H2O (Cu = 63.5 , S = 32) (57.72%) 40. ตอบ 57.72% วิธีทํา มวลโมเลกุล CuSO4 . 5H2O = 63.5 + 32 + 4(16) + 5[2(1) + 16] = 249.5 จะได้มวล O = มวลทั้งหมด Oมวล x 100 = 249.5 144 x 100 = 57.72 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 41. จากข้อที่ผ่านมา จงหามวลร้อยละของนํ้า ( 36.07%) 41. ตอบ 36.07% วิธีทํา จากข้อที่ผ่านมา มวล CuSO4 . 5H2O = 249.5 มวล H2O = 5(18) = 90 ดังนั้น % มวล H2O = มวลทั้งหมด O2Hมวล x 100 = 249.5 90 x 100 = 36.07 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 42(มช 35) สารประกอบอย่างหนึ่งมีสูตรเป็น X2CO3 . 10 H2O จากการทดลองพบว่า มีมวล นํ้าผลึกทั้งหมด 60% มวลอะตอมของ X เท่ากับเท่าใด (C=12 , O=16 , H=1) (30.00) 42(มช 35) ตอบ 30 วิธีทํา สมมติ X มีมวลอะตอม = A ดังนั้น X2CO3 . 10H2O มีมวลโมเลกุล = 2A + 12 + 48 + 180 = 2A + 240 และ ในโมเลกุลจะมีนํ้าอยู่ = 10H2O = 10 (18) = 180 ทีนี้โจทย์บอก X2CO3 . 10H2O มี H2O = 60%
  • 21. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 21 จาก ร้อยละของนํ้า = มวลทั้งหมด มวลนํ้า x 100 60 = 2402A 180 + x 100 A = 30 นั่นคือ X มีมวลอะตอม = 30 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 43(มช 40) สาร A เป็นสารบริสุทธิ์ โดยใน 1 โมเลกุลของสารนี้ประกอบด้วยคาร์บอน 27 อะตอม คิดเป็นร้อยละโดยมวลของคาร์บอนเท่ากับ 80.50 อยากทราบว่าสาร A มีมวล โมเลกุลเท่าไร 1. 348.3 2. 402.5 3. 430.3 4. 490.8 (ข้อ 2) 43(มช 40) ตอบข้อ 2. วิธีทํา สมมุติสารประกอบนี้มีคาร์บอน 27 อะตอม ดังนั้นเฉพาะมวลคาร์บอน = 27 x 12 = 324 จาก ร้อยละของคาร์บอน = มวลโมเลกุล มวลคาร์บอน x 100 80.5 = m 324 x 100 m = 402.5 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 7 สมการเคมี 44. จงดุลสมการเคมีต่อไปนี้โดยใช้วิธีตรวจพินิจ 1. Fe2O3 + H2 → Fe + H2O ( Fe2 O3 + 3H2 → 2Fe + 3 H2O ) 2. Fe2O3 + C → Fe + CO2 ( 2Fe2 O3 + 3C → 4Fe + 3CO2 ) 3. PCl5(l) + H2O(l) → H3PO4(aq) + HCl(aq) ( PCl5(l) + 4H2O(l) → H3PO4 (aq) + 5HCl(aq) )
  • 22. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 22 45. ในการเผา KClO3 จะเกิดปฎิกิริยาดังนี้ 2KClO3 → 2KCl + 3O2 (K = 39.1 , Cl = 35.5 , O = 16) ถ้าเผา KClO3 จํานวน 12.26 กรัม จะได้แก๊ส O2 กี่ลิตรที่ STP (3.36 ลิตร) 45. ตอบ 3.36 ลิตร วิธีทํา จากสมการ 2KClO3 → 2KCl + 3O2 จะเห็นได้ว่า 3 2 3Oโมล 3KClOโมล = และเนื่องจาก 3โมล KClO3 = 2โมล O2 3 ( m g )KClO3 = 2( 22.4 แก๊ส V )O2 3 ( 122.6 12.26 ) = 2( 22.4 แก๊ส V O2) ∴ Vแก๊ส O2 = 3.36 ลิตร ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 46(มช 42) ปฏิกิริยาระหว่าง X กับ Y เป็นไปตามสมการ 2X + 3Y → 2A + 3B ถ้าใช้สารละลาย X 100 cm3 ซึ่งเตรียมจากสาร X 0.20 กรัม ละลายนํ้าจนเป็นสารละลาย 100 cm3 จะทําปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย Y ที่มีความเข้มข้น 0.10 mol/dm3 จํานวน 20 cm3 จงหามวลโมเลกุลของสาร X ( 150 ) 46(มช 42) ตอบ 150 วิธีทํา จาก 2 X + 3Y → 2 A + 3 B จะเห็นว่า 3 2 Yโมล Xโมล = และเนื่องจาก 3 โมล X = 2 โมล Y 3 ( m g ) = 2 (1000 CV ) 1000 2(0.1)20 m 0.23 = m = 150 ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
  • 23. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 23 47(มช 38) สมการแสดงปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสาร A อย่างสมบูรณ์ เขียนได้ดังนี้ 2 A + 17 O2 → 12 CO2 + 10 H2O สูตรโมเลกุลของสาร A ควรเป็นแบบใด 1. C4H6 2. C4H10 3. C6H10 4. C6H12 (ข้อ 3) 47(มช 38) ตอบ 3 วีธีทํา จากสมการ 2A + 17O2 → 12CO2 + 10H2O จะได้ว่า 2(CxHy)+ 10H2O → 12CO2 + 10H2O จาก 12CO2 + 10H2O มี C = 12 ตัว H = 20 ตัว ∴ 2(C6H10)+ 17O2 → 12CO2 + 10H2O ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 48(มช 47) การแยกตกตะกอนของเงินออกจากสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตทําได้โดยการเติมกรด เกลือลงไป ซึ่งจะทําให้เกิดปฏิกิริยาได้ตะกอนของ ซิลเวอร์คลอไรด์ ดังนี้คือ AgNO3(aq) + HCl(aq) → AgCl(s) + HNO3(aq) หากต้องการใช้สารละลายกรดเกลือที่มีความเข้มข้นเท่ากับ 37% โดยนํ้าหนัก และมีความ หนาแน่นเท่ากับ 1.017 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ในการตกตะกอนของซิลเวอร์คลอไรด์ จากสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตความเข้มข้น 0.50 โมลต่อลิตร ปริมาตร 25.00 ลูกบาศก์ เซนติเมตรอย่างสมบูรณ์ จะต้องใช้สารละลายกรดเกลืออย่างน้อยกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (1.21) 48(มช 47) ตอบ 1.21 cm3 วิธีทํา ตอน 1 โจทย์บอก % HCl = 37 , DHCl = 1.017 g / cm3 หาความเข้มข้นเป็นโมลต่อลิตร โดย จาก C = m D)10(% = 5.36 )017.1)(10(37 = 10.3 mol / dm3 ตอน 2 จากปฏิกิริยา Ag NO3 + HCl → AgCl + HNO3 จะได้ว่า โมล AgNO3 = โมล HCl ( ) 3AgNO1000 cv = ( )HCl1000 cv (0.5) (25) = 10.3 VHCl VHCl = 1.21 cm3 นั่นคือปริมาตร HCl เท่ากับ 1.21 ลูกบาศก์เซนติเมตร ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
  • 24. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 24 49(มช 36) สารละลายที่มี CaCl2 ถูกเติมลงในสารละลายของ AgNO3 เตรียมสารละลาย AgNO3 โดยละลาย Ag 2.16 กรัม ลงในกรดไนตริก จงหามวลเป็นกรัมของแคลเซียม คลอไรด์ในสารละลาย ถ้าแคลเซียมคลอไรด์ทั้งหมดทําปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย AgNO3 เกิด AgClปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมีดังนี้ ( สมการยังไม่ได้ดุล ) (1) Ag(s) + HNO3 (aq) → AgNO3 (aq) + NO2 (g) + H2 O(1) (2) AgNO3 (aq) + CaCl2 (aq) → AgCl(s) + Ca(NO3 )2 (aq) (ใช้ Ag = 108 , Ca = 40 , Cl = 35.5) (1.11) 49(มช 36) ตอบ 1.11 กรัม วิธีทํา เมื่อดุลสมการจะได้ 2Ag + 4HNO3 → 2AgNO3 + 2NO2 + 2H2O 2AgNO3 + CaCl2 → 2AgCl + Ca(NO3)2 จะเห็นว่าใน 2 สมการนี้ มีจํานวน AgNO3 เท่ากันแล้ว จึงไม่ต้องปรับแต่งอีก จากสมการจะได้ 1 2 2CaClโมล Agโมล = โมล Ag = 2 โมล CaCl2 ( m g )เงิน = 2 ( m g )แคลเซียมคลอไรด์ ( 108 2.16 )เงิน = 2 (111 g )แคลเซียมคลอไรด์ gแคลเซียมคลอไรด์ = 1.11 กรัม นั่นคือมวล CaCl2 ที่ใช้ คือ 1.11 กรัม ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 50(มช 47) ในการทดลองครั้งหนึ่งได้นําโลหะแคลเซียมหนัก 0.65 กรัม ใส่ลงไปในสาร ละลายกรดเกลือที่มีความเข้มข้น 3.50 โมลต่อลิตร ปริมาตร 8.0 cm3 พบว่ามีก๊าซไฮโดรเจน เกิดขึ้นดังปฏิกิริยาต่อไปนี้ Ca(s) + HCl(aq) → CaCl2(aq) + H2 (g) จงคํานวณ หาปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นในหน่วยลิตรที่สภาวะ STP 1. 0.31 2. 0.36 3. 0.63 4. 0.72 (ข้อ 1)
  • 25. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 25 50(มช 47) ตอบข้อ 1. วิธีทํา ก่อนอื่นต้องหา หาสัดส่วนของ โมลที่ใช้ โมลที่มี สัดส่วน Ca = 1 ที่มี n = 1 (g/m) = 1 (0.65/40) = 0.01625 สัดส่วน HCl = 2 ที่มี n = 2 (cv/1000) = 2 03.5(8)/100 = 0.014 จะเห็นว่าสัดส่วน HCl มีน้อยกว่า แสดงว่า HCl จะถูกใช้จนหมด การคํานวณหา H2(g) ต่อไปจึงต้องคิดจาก HCl จากสมการที่ดุลแล้ว Ca(s) + 2 HCl(aq) → CaCl2(aq) + H2(g) จะได้ โมล HCl = 2 โมล H2 1000 cv = 2 22.4 ก๊าซ V 1000 3.5(8) = 2 22.4 ก๊าซ V Vก๊าซ = 0.3136 ลิตร นั่นคือ จะเกิดก๊าซไฮโดรเจน 0.31 ลิตร โดยประมาณ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 51(มช 49) จากปฏิกิริยา 2 AgNO3(aq) + BaCl2(aq) → 2 AgCl(s) + Ba(NO3)2(aq) ถ้าใช้ AgNO3 5.10 กรัม ทําปฏิกิริยากับ BaCl2 2.08 กรัม จะได้ AgCl กี่กรัม 1. 1.44 2. 2.87 3. 3.58 4. 4.30 (ข้อ 2) 52(มช 50) ถ้านําสารละลาย Na2CO3 เข้มข้น 1.00 mol/dm3 ปริมาตร 250.00 cm3 ซึ่งหนัก 276.50 กรัม มาผสมกับสารละลาย HCl เข้มข้น 2.00 mol/dm3 ปริมาตร 200.00 cm3 ซึ่งหนัก 214.60 กรัม จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ Na2CO3(aq) + HCl(aq) → NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g) (ยังไม่ดุล) หลังจากทิ้งไว้จนฟองแก๊สหมด สารละลายผสมที่ได้มีมวลเป็นเท่าไร (481.7) 53(มช 50) ในการทดลองเตรียมแก๊ส NO จากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH3 กับ แก๊ส O2 ดังสมการ 4 NH3(g) + 5O2(g) → 6 H2O(g) + 4 NO(g) ถ้าผสมแก๊ส NH3 ปริมาตร 5.00 ลิตรที่ STP และแก๊ส O2 5.00 ลิตร ที่ STP เข้าด้วยกัน พบว่าเมื่อ ปฏิกิริยาสิ้นสุด ได้แก๊ส NO คิดเป็นนํ้าหนัก 4.50 กรัม จงหาผลได้ร้อยละ (83.96)
  • 26. Chem Online pec9.com ตะลุยโจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชุด 1 26 ตอนที่ 8 ปริมาณสารสัมพันธ์ของแก๊ส 54(มช 44) ธาตุ Y จํานวน 4 โมล ทําปฏิกิริยากับ O2 (g) 67.2 ที่ STP เกิดเป็นสารประกอบ Z 2 โมล เพียงอย่างเดียวหนัก 272 กรัม ธาตุ Y มีมวลอะตอมเท่าใด ( 44 ) 55(มช 46) ธาตุ A จํานวน 5 โมล ทําปฏิกิริยาพอดีกับก๊าซออกซิเจน 89.6 ลิตร ที่ STP เกิดเป็นสารประกอบ X ชนิดเดียว 3 โมล หนัก 338.0 กรัม ธาตุ A มีมวลอะตอมกี่กรัม ( 42) 56. กําหนดปฏิกริยา 4 X2(g) + 7 Y2(g) → 2 X4Y7 (g) ถ้าใช้ Y2 28 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทําปฏิกิริยากับ X2 ปริมาณมากเกินพอที่อุณหภูมิ และ ความดันเดียวกัน จะเกิดแก๊ส X4Y7 กี่ลูกบาศก์ เซนติเมตร ( 8 ) 57. นํา H2 และ O2 อย่างละ 4 dm3 มาทําปฏิกิริยากันที่อุณหภูมิ 100oC ดังสมการ 2H2 (g) + O2 (g) → 2H2O(g) เมื่อปฏิกิริยาเกิดอย่างสมบูรณ์ จะมีแก๊สในระบบเท่าใด (6 dm3)