SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
เชื้อก่อโรค
• โรคอีสุกอีใสเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส เชื้อ varicella zoster virus ชนิด
เดียวกับที่ทาให้เกิดงูสวัด ติดต่อได้ด้วยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน หรือโดยการ
สัมผัส ตลอดจนการใช้ของใช้ร่วมกับผู้ที่เป็น อีสุกอีใส หรืองูสวัด เช่น ผ้าปูที่นอน ผ้า
ห่ม หรือที่นอน โดยปกติจะมีระยะฟักตัวประมาณ 2-3 สัปดาห์ โดยทั่วไป โรค
อีสุกอีใส มักจะระบาดในช่วงปลายฤดูหนาวถึงต้นฤดูร้อนเช่นเดียวกับหัด แต่ก็พบได้
ประปรายตลอดทั้งปี โดยมากจะพบในกลุ่มเด็กอายุระหว่าง 5-12 ปี รองลงมาจะ
เป็นกลุ่มเด็กอายุ 1-4 ปี กลุ่มวัยรุ่น และวัยหนุ่มสาวตามลาดับ
อาการของโรค
• เด็กที่เป็ นอีสุกอีใสจะมีไข้ต่า อ่อนเพลีย และเบื่ออาหาร ส่วนใหญ่มัก
มีไข้สูง มีอาการปวดเมื่อยตามเนื้อตัวคล้ายไข้หวัด ขณะเดียวกันก็จะ
มีผื่นขึ้นพร้อม ๆ กับวันที่เริ่มมีไข้ หรือหนึ่งวันหลังจากมีไข้
อาการของโรค (ต่อ)
• - ในระยะแรกจะขึ้นเป็ นผื่นแดงราบก่อน ต่อมามีน้าใส ๆ อยู่ข้างใน และมี
อาการคัน
• - อีก 2-4 วันต่อมาก็จะตกสะเก็ดผื่น และตุ่มเหล่านี้จะขึ้นตามไรผมก่อน แล้ว
กระจายไปตาใบหน้า ลาตัว และแผ่นหลัง
• - บางคนมีตุ่มขึ้นในช่องปาก ทาให้ปาก และลิ้นเปื่ อย จะเกิดอาการเจ็บคอ
• - บางคน อาจไม่มีไข้มีเพียงผื่นและตุ่มขึ้นเท่านั้น
• - ผื่นขึ้นมากที่สุดที่ใบหน้า และลาตัว
อาการของโรค (ต่อ)
• - โดยทั่วไปผื่นจะหายโดยไม่มีแผลเป็ น ยกเว้นมีเชื้อแบคทีเรียมา
แทรกซ้อน
• - โรคนี้เมื่อหายแล้วมักจะมีเชื้อหลบอยู่ปมประสาท ซึ่งอาจจะออกมา
เป็ นโรคงูสวัดในภายหลังได้
อาการแทรกซ้อน
• ที่พบบ่อยคือ การติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนบนผิวหนัง ทาให้
กลายเป็ นหนอง และมีแผลเป็ นตามมา ในบางรายเชื้อแบคทีเรียที่
แรกซ้อน อาจจะกระจายเข้าไปในกระแสเลือดทาให้เกิดภาวะโลหิต
เป็ นพิษ และปอดบวมได้ ในผู้ใหญ่ หรือผู้ป่ วยที่มีภูมิต้านทานต่า เช่น
ใช้ยารักษามะเร็ง หรือสเตอรอยด์ เชื้อไวรัสอีสุกอีใส อาจจะกระจาย
ไปยังอวัยวะภายใน เช่น ปอด สมอง ตับ
การรักษา
• เนื่องจากโรคอีสุกอีใสเป็ นโรคที่หายเองได้ โดยอาจมีไข้อยู่เพียงไม่กี่วัน ส่วนตุ่มจะ
ตกสะเก็ด และค่อยๆ หายใน 1-3 สัปดาห์ ผู้ป่ วยจึงควรพักผ่อน และดื่มน้ามากๆ
ถ้ามีไข้สูงใช้ยาพาราเซตามอล เพื่อลดไข้ แต่ห้ามใช้ยาแอสไพริน เพราะทาให้
เกิดอาการทางสมอง และตับ ทาให้ผู้ป่ วยเด็กถึงแก่กรรมได้ ควรอาบน้า และใช้สบู่
หรือสบู่ฆ่าเชื้อฟอกผิวหนังให้สะอาด เพื่อป้ องกันเชื้อแบคทีเรียมาแทรกซ้อน ควร
ตัดเล็บให้สั้น และหลีกเลี่ยงการแกะ หรือเกาตุ่ม เพราะอาจทาให้ติดเชื้อกลายเป็ น
หนองได้ ในรายที่มีอาการคันมากอาจให้รับประทานยาพวก คลอเฟนิรามีน ช่วย
ลดอาการคันลงได้
วัคซีนป้ องกันโรคอีสุกอีใส
• สมัยก่อนโรคอีสุกอีใสเป็ นโรคที่เชื่อว่าจะเกิดขึ้นกับทุกๆ คน ในช่วง
หนึ่งช่วงใดของชีวิต เช่นเดียวกับหัด แต่เดี๋ยวนี้มีวัคซีนป้ องกันโรค
อีสุกอีใสที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายในหลายๆ ประเทศ เช่น
สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่ น คุณพ่อคุณแม่จึงสามารถนาบุตรหลานของ
ท่านไปรับการฉีดวัคซีนป้ องกัน โรคอีสุกอีใส ได้ตั้งแต่วัย 1 ปี ขึ้นไป
ข้อควรรู้เกี่ยวกับอีสุกอีใส
• โรคนี้เมื่อเป็ นแล้วอาจมีโอกาสเป็ นงูสวัดได้ภายหลังควรแยกผู้ป่ วย
ออกต่างหาก เพื่อป้ องกันการติดต่อ ทั้งนี้ระยะแพร่เชื้อจะเริ่มตั้งแต่
24 ชั่วโมง ก่อนที่ผื่น หรือตุ่มขึ้น จนตุ่มแห้งหมดแล้ว ซึ่งใช้เวลา
ประมาณ 6-7 วัน ในระยะนี้ผู้ป่ วยต้องหยุดเรียน หรือหยุดงาน
• โรคนี้ไม่มีของแสลง แต่ควรให้ผู้ป่ วยรับประทานอาหารจาพวกโปรตีน
เช่น เนื้อ นม ไข่ มากๆ เพื่อจะได้มีภูมิต้านทานโรค ปัจจุบันมีวัคซีน
ป้ องกันโรคอีสุกอีใสแล้ว โรคอีสุกอีใส ไม่ใช่โรคร้ายแรงอะไร แต่ก็
เป็ นสาเหตุของการขาดเรียน หรือขาดงาน รวมทั้งก่อให้เกิดความ
ราคาญจากอาการคัน และตุ่มหนอง และอาจส่งผลให้เกิดโรคแทรก
ซ้อน หรือแผลเป็ นขึ้นได้
อีสุก อีใส

Contenu connexe

Tendances

โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..Prachaya Sriswang
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุBallista Pg
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 

Tendances (20)

โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
ไข้เลือดออก2556
ไข้เลือดออก2556ไข้เลือดออก2556
ไข้เลือดออก2556
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 

En vedette

Viral keratitis ,HSV and HZO
Viral keratitis ,HSV and HZO Viral keratitis ,HSV and HZO
Viral keratitis ,HSV and HZO Tanta University
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 

En vedette (9)

Case Presentation: Vesicular Rash
Case Presentation: Vesicular RashCase Presentation: Vesicular Rash
Case Presentation: Vesicular Rash
 
Viral keratitis ,HSV and HZO
Viral keratitis ,HSV and HZO Viral keratitis ,HSV and HZO
Viral keratitis ,HSV and HZO
 
CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Definitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionDefinitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infection
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 

Similaire à อีสุก อีใส

นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)chalunthorn teeyamaneerat
 
โรคภูมิแพ้ 2
โรคภูมิแพ้ 2โรคภูมิแพ้ 2
โรคภูมิแพ้ 2Wan Ngamwongwan
 

Similaire à อีสุก อีใส (15)

นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
URI for pharmacist 16 Jul 2017
URI for pharmacist 16 Jul 2017URI for pharmacist 16 Jul 2017
URI for pharmacist 16 Jul 2017
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
Bacterial
BacterialBacterial
Bacterial
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Allergic rhinitis cpg
Allergic rhinitis cpgAllergic rhinitis cpg
Allergic rhinitis cpg
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
 
Ebola
EbolaEbola
Ebola
 
โรคภูมิแพ้ 2
โรคภูมิแพ้ 2โรคภูมิแพ้ 2
โรคภูมิแพ้ 2
 

อีสุก อีใส

  • 1.
  • 2. เชื้อก่อโรค • โรคอีสุกอีใสเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส เชื้อ varicella zoster virus ชนิด เดียวกับที่ทาให้เกิดงูสวัด ติดต่อได้ด้วยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน หรือโดยการ สัมผัส ตลอดจนการใช้ของใช้ร่วมกับผู้ที่เป็น อีสุกอีใส หรืองูสวัด เช่น ผ้าปูที่นอน ผ้า ห่ม หรือที่นอน โดยปกติจะมีระยะฟักตัวประมาณ 2-3 สัปดาห์ โดยทั่วไป โรค อีสุกอีใส มักจะระบาดในช่วงปลายฤดูหนาวถึงต้นฤดูร้อนเช่นเดียวกับหัด แต่ก็พบได้ ประปรายตลอดทั้งปี โดยมากจะพบในกลุ่มเด็กอายุระหว่าง 5-12 ปี รองลงมาจะ เป็นกลุ่มเด็กอายุ 1-4 ปี กลุ่มวัยรุ่น และวัยหนุ่มสาวตามลาดับ
  • 3. อาการของโรค • เด็กที่เป็ นอีสุกอีใสจะมีไข้ต่า อ่อนเพลีย และเบื่ออาหาร ส่วนใหญ่มัก มีไข้สูง มีอาการปวดเมื่อยตามเนื้อตัวคล้ายไข้หวัด ขณะเดียวกันก็จะ มีผื่นขึ้นพร้อม ๆ กับวันที่เริ่มมีไข้ หรือหนึ่งวันหลังจากมีไข้
  • 4. อาการของโรค (ต่อ) • - ในระยะแรกจะขึ้นเป็ นผื่นแดงราบก่อน ต่อมามีน้าใส ๆ อยู่ข้างใน และมี อาการคัน • - อีก 2-4 วันต่อมาก็จะตกสะเก็ดผื่น และตุ่มเหล่านี้จะขึ้นตามไรผมก่อน แล้ว กระจายไปตาใบหน้า ลาตัว และแผ่นหลัง • - บางคนมีตุ่มขึ้นในช่องปาก ทาให้ปาก และลิ้นเปื่ อย จะเกิดอาการเจ็บคอ • - บางคน อาจไม่มีไข้มีเพียงผื่นและตุ่มขึ้นเท่านั้น • - ผื่นขึ้นมากที่สุดที่ใบหน้า และลาตัว
  • 5. อาการของโรค (ต่อ) • - โดยทั่วไปผื่นจะหายโดยไม่มีแผลเป็ น ยกเว้นมีเชื้อแบคทีเรียมา แทรกซ้อน • - โรคนี้เมื่อหายแล้วมักจะมีเชื้อหลบอยู่ปมประสาท ซึ่งอาจจะออกมา เป็ นโรคงูสวัดในภายหลังได้
  • 6. อาการแทรกซ้อน • ที่พบบ่อยคือ การติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนบนผิวหนัง ทาให้ กลายเป็ นหนอง และมีแผลเป็ นตามมา ในบางรายเชื้อแบคทีเรียที่ แรกซ้อน อาจจะกระจายเข้าไปในกระแสเลือดทาให้เกิดภาวะโลหิต เป็ นพิษ และปอดบวมได้ ในผู้ใหญ่ หรือผู้ป่ วยที่มีภูมิต้านทานต่า เช่น ใช้ยารักษามะเร็ง หรือสเตอรอยด์ เชื้อไวรัสอีสุกอีใส อาจจะกระจาย ไปยังอวัยวะภายใน เช่น ปอด สมอง ตับ
  • 7. การรักษา • เนื่องจากโรคอีสุกอีใสเป็ นโรคที่หายเองได้ โดยอาจมีไข้อยู่เพียงไม่กี่วัน ส่วนตุ่มจะ ตกสะเก็ด และค่อยๆ หายใน 1-3 สัปดาห์ ผู้ป่ วยจึงควรพักผ่อน และดื่มน้ามากๆ ถ้ามีไข้สูงใช้ยาพาราเซตามอล เพื่อลดไข้ แต่ห้ามใช้ยาแอสไพริน เพราะทาให้ เกิดอาการทางสมอง และตับ ทาให้ผู้ป่ วยเด็กถึงแก่กรรมได้ ควรอาบน้า และใช้สบู่ หรือสบู่ฆ่าเชื้อฟอกผิวหนังให้สะอาด เพื่อป้ องกันเชื้อแบคทีเรียมาแทรกซ้อน ควร ตัดเล็บให้สั้น และหลีกเลี่ยงการแกะ หรือเกาตุ่ม เพราะอาจทาให้ติดเชื้อกลายเป็ น หนองได้ ในรายที่มีอาการคันมากอาจให้รับประทานยาพวก คลอเฟนิรามีน ช่วย ลดอาการคันลงได้
  • 8. วัคซีนป้ องกันโรคอีสุกอีใส • สมัยก่อนโรคอีสุกอีใสเป็ นโรคที่เชื่อว่าจะเกิดขึ้นกับทุกๆ คน ในช่วง หนึ่งช่วงใดของชีวิต เช่นเดียวกับหัด แต่เดี๋ยวนี้มีวัคซีนป้ องกันโรค อีสุกอีใสที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายในหลายๆ ประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่ น คุณพ่อคุณแม่จึงสามารถนาบุตรหลานของ ท่านไปรับการฉีดวัคซีนป้ องกัน โรคอีสุกอีใส ได้ตั้งแต่วัย 1 ปี ขึ้นไป
  • 9. ข้อควรรู้เกี่ยวกับอีสุกอีใส • โรคนี้เมื่อเป็ นแล้วอาจมีโอกาสเป็ นงูสวัดได้ภายหลังควรแยกผู้ป่ วย ออกต่างหาก เพื่อป้ องกันการติดต่อ ทั้งนี้ระยะแพร่เชื้อจะเริ่มตั้งแต่ 24 ชั่วโมง ก่อนที่ผื่น หรือตุ่มขึ้น จนตุ่มแห้งหมดแล้ว ซึ่งใช้เวลา ประมาณ 6-7 วัน ในระยะนี้ผู้ป่ วยต้องหยุดเรียน หรือหยุดงาน
  • 10. • โรคนี้ไม่มีของแสลง แต่ควรให้ผู้ป่ วยรับประทานอาหารจาพวกโปรตีน เช่น เนื้อ นม ไข่ มากๆ เพื่อจะได้มีภูมิต้านทานโรค ปัจจุบันมีวัคซีน ป้ องกันโรคอีสุกอีใสแล้ว โรคอีสุกอีใส ไม่ใช่โรคร้ายแรงอะไร แต่ก็ เป็ นสาเหตุของการขาดเรียน หรือขาดงาน รวมทั้งก่อให้เกิดความ ราคาญจากอาการคัน และตุ่มหนอง และอาจส่งผลให้เกิดโรคแทรก ซ้อน หรือแผลเป็ นขึ้นได้