SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  123
สารก่อมะเร็งปอดจากสิ่งแวดล้อม
ในชุมชน
จรัส สิงห์แก้ว
1. ขั้นตอนเริ่มต้น (initiation) สิ่งก่อมะเร็ง เช่น สารเคมี ไวรัส
หรือรังสี เข้าไปทาให้ DNA หรือ โครโมโซม เกิดการ
เปลี่ยนแปลง เซลล์ที่มี DNA หรือ โครโมโซมผิดปกติ นี้
เรียกว่า initiated cell ขั้นตอนนี้เกิดอย่างรวดเร็วภายใน 1 -
2 วัน เป็ นขั้นตอนที่ย้อนกลับไม่ได้ (irreversible process)
2. ขั้นตอนส่งเสริม (Promotion) เป็ นขั้นตอนที่สิ่งก่อมะเร็งไปทา
ให้Initated cell แบ่งตัวจนกลายเป็ นก้อนเนื้องอก ซึ่งส่วน
ใหญ่จะเป็ น benign tumor
เป็ นขั้นตอนที่ย้อนกลับได้ (reversible process) และเกิดอย่าง
ช้า ๆ 5 - 10 ปี คือ ร่างกายต้องได้รับสิ่งก่อมะเร็งซ้าๆ
กันนานๆ จึงจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
Carcinogenesis
3. ขั้นตอนเปลี่ยนเป็นเซลล์มะเร็ง
(Conversion) เป็นขั้นตอนที่มีการ
เปลี่ยนแปลงจาก benign tumor ไป
เป็น malignant tumor
4. ขั้นตอนลุกลาม (Progression) เป็น
ขั้นตอนที่เซลล์มะเร็งมีความ
รุนแรงมากขึ้น ทาให ้เกิดการบุกรุก
เนื้อเยื่อใกล ้เคียงและแพร่กระจาย
ไปยังอวัยวะอื่น
การเกิดมะเร็งตามทฤษฎีของ initiation & promotion
Initiator & Promoter
Initiator หมายถึง สารที่เหนี่ยวนาให้เกิดเซลล์มะเร็ง
(เซลล์ปกติเปลี่ยนเป็นเซลล์มะเร็ง) โดยการจับกับ
DNA และเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง DNA
Promoter หมายถึง สารที่มีคุณสมบัติในการเพิ่ม
จานวนเซลล์
Initiation and Promotion
Initiation & Promotion
Induction of mutated gene expression
Normal cell
Promoter
Promoter induces
gene expression
Initiator
Mutation created in
silent proliferation gene
Abnormal
expansion
of
mutant
clone
CANCER
CANCER
CANCER
NO CANCER
NO CANCER
Time
I P
การเกิดมะเร็งเกิดขึ้นเมื่อ
• ได้รับ initiator และตามด้วย
promoter อย่างซ้าๆ
• ปริมาณ promoter ที่ได้รับสูงเกิน
กว่าค่า threshold ที่กาหนด
• การได้รับ initiator อย่างซ้าๆ
(เพียงอย่างเดียว)
Initiation and Promotion
Carcinogen
Genetic
change
Genetic
change
Cell
multiplication
Malignant
cell
Malignant
tumor
Genetic
change
INITIATION PROMOTION TRANSFORMATION PROGRESSION
Initiation and Promotion
Factors Involved Chemical
Carcinogenesis
ขนาดที่ได้รับ (Dose)
ระยะเวลาที่ได้รับ (Duration of exposure)
ระยะเวลาพักตัว (Latency)
ปัจจัยร่วมอื่นๆ (Co-factors)
วิถีทางการได้รับสารก่อมะเร็ง (Routes of Entry)
 การเกิดมะเร็งจากสารเคมีก่อมะเร็งมักเกิดจากการได้รับสารนั้นอย่าง
เรื้อรังและอาศัยเวลานาน (10-30 ปี) กว่ากระบวนการที่มีทั้งการ
ทาลาย DNA และการเปลี่ยนแปลงการแสดงออกของยีนเกิดขึ้น
โรงงาน สวล.
ภายใน
1. การเกิดสารอนุมูลอิสระ 8OHdG
2. การยับยั้งยีนส์ tp53 ซึ่งเป็น tumor
suppressor gene
3. DNA damage and
mutation
กลไกที่สาคัญในร่างกาย
ที่เกิดจากสารก่อมะเร็งในชุมชน
1.Small Cell Cancer
2.Non-small cell cancer
3. Pleural mesothelioma
1. Squamous cell carcinoma
2. Adenocarcinoma
3. Large cell carcinoma
4. Adenosquamous cell carcinoma
5. Undifferentiated carcinoma
Non-small cell cancer
ความสัมพันธ์ในการสูบบุหรี่กับชนิดของมะเร็งปอด
เปรียบเทียบผู้ป่ วยมะเร็งปอดระหว่างอายุมากกว่า และ
น้อยกว่า40ปี จาแนกตามเพศ การสูบบุหรี่ และประวัติ
ครอบครัว
ชนิดของมะเร็งปอดที่พบใน
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
อายุ<40ปี อายุ>40ปี
Lung cancer
Asbestos
Radon
Chloromethyl
ethers)
Polycyclic
aromatic
hydrocarbons
Other
chemicals
(arsenic,
chromium,
nickel, mustard
gas)
Probable lung
carcinogens
(acrylonitrile,
beryllium, cadmium,
vinyl chloride,
formaldehyde,
inorganic acid mists
cont. sulfuric acid)
Lung Cancer
Cigarette
smoking SiO2
งานวิจัยของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เกี่ยวกับการเกิดอนุมูลอิสระ8OHdG
DNA damage
PM 0.5-2.5
 • การวิเคราะห์การกลายพันธุ์ของยีน ทีพี53 ที่เอ็ก
ซอน 1, 9, 10 และ 11 ของผู้ป่ วยมะเร็งปอดในเขต
ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยและความสัมพันธ์กับ
ปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล ้อม = TP53 Gene mutation
analysis st Exons 1, 9, 10 and 11 in Upper
Northern Thai lung cancer / ภาวิณี อินนาค / 2551
/Full Text
 o logistic regression พบว่า การอาศัยอยู่ในบ ้านซึ่ง
มีห ้องครัวอยู่ภายในบ ้าน มีผลทาให ้เกิดการกลายพันธุ์
ของยีน TP53 ได ้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ทั้งนี้น่าจะ
เกิดเนื่องจากได ้รับสารก่อกลายพันธุ์จากควันใน
กระบวนการทาอาหาร
http://www.zimbio.com/Why+Should+I+Quit+Smoking/articles/660/WHY+QUIT+SMOKING+NOW (cited 20. 8. 2009)
Lung Cancer
7-10 %
CIGARETTE SMOKERS
DEVELOP LUNG CANCER
Hydrogen cyanide
Carbon monoxide
Tar
Nicotine
Carcinogens
ผู้หญิงเสี่ยงมะเร็งปอดเพราะไวต่อบุหรี่มากกว่าผู้ชาย
Cancers related to secondhand smoke exposure
Deaths from secondhand smoke
~50,000 per year
Ischaemic Heart Disease
46,150
Lung Cancer
4,400
SIDSSIDS
431
*Attributable Risks Associated with ETS; Proposed Identification of Environmental Tobacco Smoke as a
Toxic Air Contaminant, California Environmental Protection Agency, March 2005
*
Other cancers related
to SHS exposure;
– nasal
–breast
–cervix
–bladder
 Benzo[a]pyrene
(บน)
 Nicotine derive -
nitrosoamine ketone
(ล่าง)
 สองสารก่อมะเร็งปอดที่
สาคัญ มีในควันบุหรี่
Metabolic Activation of Benzo(a)pyrene
Procarcinogen Proximate Carcinogen Ultimate Carcinogen
N7(benzo[a]pyren-6-yl)guanine
0
20
40
60
80
100
FijiFijiN. Caled.GuamCook Is.Fr. Polyn.Hawaii
1986-891986-891977-871978-881978-831986-891978-82
Polynesians Micronesians Melanesians Indians
IncidenceRateper100,000 Male Lung Cancer Incidence in
Pacific Island Populations
>50-fold difference in lung
cancer susceptibility between
cigarette smokers of two
ethnic groups..!!
SPECIFICCYP1A1ACTIVITY
g TCDD/kg BODYWEIGHT
B6
D2
4.9
3.5
2.1
0.7
0
0.01 0.1 1.0 10 100
Could this
be like
cigarette
smokers
with lung
cancer?
Could this be
like cigarette
smokers who
don’t get
cancer? Cigarette-pack-years?
Highly Sensitive
(HS)
Highly
Resistant (HR)
http://www.search.com/reference/Lung_canc
ตะลึง!
ผลวิจัยชี้ควันธูปมีสารก่อมะเร็งเพียบ
 ที่กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(วท.) ศูนย์สื่อสาร
วิทยาศาสตร์ไทย สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) โดย นพ.มนูญ ลีเชวงวงศ์
หัวหน้าไอซียู รพ.วิชัยยุทธ แถลงข่าวผลงานวิจัยเรื่อง “สาร
ก่อมะเร็ง : ภัยเงียบที่มากับควันธูป” ซึ่งเป็ นผลงานการวิจัย
ร่วมกับ น.ส. พนิดา นวสัมฤทธิ์ นักวิจัยห้องปฏิบัติการ
พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
 โดยทาการศึกษาถึงอันตรายของควันธูป ที่ประชาชนชาวพุทธ
นิยมใช้จุดเพื่อบูชาพระ ทั้งนี้ เนื่องจาก จากสถิติการรักษา
ผู้ป่ วยมะเร็งปอดในเพศหญิงพบว่ากว่าร้อยละ 50 ไม่พบ
ประวัติสูบบุหรี่ หรือใกล้ชิดกับผู้สูบบุหรี่ และยังไม่พบว่ามีส่วน
เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่อาจจะทาให้เกิดโรคมะเร็ง
 นพ.มนูญ กล่าวต่อว่า จากการศึกษาควันธูปมีสารก่อมะเร็ง 3
ชนิด ได้แก่ เบนซีน บิวทาไดอีน และเบนโซเอไพรีน มี
ส่วนประกอบมาจากกาว ขี้เลื่อย น้ามันหอม และสารเคมีที่ใช้
ในอุตสาหกรรมน้าหอม เป็ นต้น โดยสารก่อมะเร็งเกิดจากการ
เผาไหม้ของกาวและน้าหอม เป็ นสาคัญ
ที่มาจากหนังสือพิมพ์
อันตรายจากธูป
สารพีเอเอช
PAH
กลุ่มสารพีเอเอช
(PAH = polycyclic aromatic
hydrocarbons) เป็นกลุ่มสารเคมี
ที่มีหลายรูปแบบ แต่ ๓,๔-เบนโซ
ไพรีน เป็นตัวที่มีความเป็นพิษ
สูงสุดในกลุ่มนี้ คือ เป็นสารที่ก่อ
มะเร็งได ้สารนี้จะเกิดระหว่างการ
เผา ปิ้ง ย่างอาหารโดยใช ้ถ่าน
หรือ แก๊สหุงต ้ม
Polycyclic Aromatic
Hydrocarbons (PAHs)
Benzo[a]pyrene
reaction with purine residue,
particularly guanine
มลภาวะเป็นพิษในอากาศ
ประเภทมลพิษอากาศ
1. ปฐมภูมิ (Primary Air Pollutants)
เกิดขึ้นและระบายออกจากแหล่งกาเนิดโดยตรง
2. ทุติยภูมิ (Secondary Air
Pollutants)
เกิดจากปฏิกิริยาของมลพิษปฐมภูมิ
56
 นักวิจัย ชี้ชาวบ้านในพื้นที่หมอกควันเสี่ยงมะเร็งสูง
 ดร.ทิพวรรณ ประภามณฑล สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวว่า ได ้รับการสนับสนุนจาก
แผนงานสร ้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี ( นสธ.) สถาบัน
ศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ
สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร ้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อ
ศึกษาวิจัยเรื่อง “การประเมินการรับสัมผัสสารมลพิษจาก
สิ่งแวดล ้อมในเด็กนักเรียนอนุบาล” โดยศึกษาในกลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนอนุบาล อายุระหว่าง 5-6 ปี เมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์-
ต ้นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 ในพื้นที่ที่มีจุดความร ้อน
(Hotspots) ซึ่งเก็บข ้อมูลจากดาวเทียมสารวจทรัพยากร โดย
แบ่งกลุ่มตัวอย่างจาก 3 อาเภอ ใน จ.เชียงใหม่ คือ อ.เชียง
ดาว 59 คน เป็นอาเภอที่มีจุดความร ้อน เทียบกับ พื้นที่ไม่มีจุด
ความร ้อน ได ้แก่ อ.เมือง เชียงใหม่ 50 คน และ อ.สารภี 51
คน เพื่อหาสาร 1-โอเอชพี (1-Hydroxypyrene; 1-OHP) ใน
ปัสสาวะ
ที่มาhttp://www.banmuang.co.th/2012/03/%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2-
%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%
B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7/
 ดร.ทิพวรรณ กล่าวว่า สาร 1-โอเอชพี เป็นสารบ่งชี้การรับ
สัมผัสสารพีเอเอช (Polycyclic aromatic hydrocarbons;
PAH) ซึ่งเป็นสารพิษที่เกิดจากการเผาไหม ้ที่ไม่สมบูรณ์ เป็น
สารชนิดเดียวกับที่อยู่ในควันท่อไอเสีย ควันบุหรี่ และไฟป่ า
โดยสารพิษเหล่านี้จะเกาะหรือจับตัวกันเป็นอนุภาคฝุ่ น
ละออง และแขวนลอยในอากาศ และเข ้าสู่ร่างกายจากการ
หายใจ สารกลุ่มนี้มีหลายชนิดที่มีฤทธิ์เป็นสารก่อมะเร็งได ้
 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเด็กอนุบาลจาก
อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ ซึ่งมีจุดความร ้อนมาก
ที่สุด พบนักเรียนมีค่าสาร 1-โอเอชพีเฉลี่ยสูงกว่า
อีก 2 กลุ่มตัวอย่างที่อยู่ในพื้นที่ที่ยังไม่เกิดจุด
ความร ้อน โดยสูงกว่าเด็กอนุบาลจากจาก อ.
สารภี จ.เชียงใหม่ 7.4 เท่า และสูงกว่า เด็ก
อนุบาลจาก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ถึง 13 เท่า
 เมื่อสารวจปัจจัยเสี่ยงด ้านสิ่งแวดล ้อมที่มีผลต่อระดับสาร
1-โอเอพี ได ้เช่น จานวนครัว การเผาในที่โล่งใกล ้บ ้าน
หรือป่ า หรือ พื้นที่เกษตรกรรม หรือ โรงงานอุตสาหกรรม
พบว่า กลุ่มตัวอย่างใน อ.เชียงดาว มีปัจจัยเสี่ยงทาง
สิ่งแวดล ้อมมากกว่าอีก 2 กลุ่มตัวอย่าง นอกจากนี้ เมื่อ
สารวจปัจจัยเสี่ยงด ้านพฤติกรรมที่จะมีผลต่อระดับสาร 1-
โอเอชพี ได ้เช่น การสูบบุหรี่ การใช ้ฟืนทาอาหาร วิธีการ
มาโรงเรียน ความถี่ในการเผาในที่โล่ง พบว่า กลุ่ม
ตัวอย่างใน อ.เชียงดาว มีความเสี่ยงมากกว่า อีก 2 กลุ่ม
ถึง 2 เท่า ทั้งนี้พบว่าสาเหตุหนึ่งที่ทาให ้ปริมาณสาร 1-โอ
เอชพี ในเขตนอกเมืองสูงกว่าในเมือง เพราะประชาชน
นิยมสุมกองไฟบริเวณบ ้าน และก่อกองไฟเพื่อเผา หรือ
ทาอาหาร ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่ง
Sources of PM and PM Precursors
Mobile Sources
(vehicles)
VOCs, NO2, PM
Stationary Sources
(power plants, factories)
NO2, SO2, PM
Area Sources
(drycleaners, gas stations)
VOCs
Natural Sources
(forest fires, volcanoes)
PM
62
เชียงใหม่อากาศวิกฤตหนัก ฝุ่น-ควันพิษท่วมเมือง นักวิชาการชี้ 3
ต้นตอ เผาขยะ-เผาศพในที่โล่งแจ้ง ไม่ถูกวิธี-การจราจรติดขัด-ควัน
จากอาหารปิ้ง-ย่างข้างถนน ตลอดจนมลพิษจากโรงแรม-
ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานอีกนับไม่ถ้วน เผยยอดผู้ป่วยมะเร็ง
ทางหายใจพุ่งสูงมากกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศไทย
10 มิถุนายน 2548
"เชียงใหม่สาลักฝุ่ น-
ควันพิษ! ชี้ต้นต่อเผาขยะ!
"จราจร" อาหารปิ้ง "
ที่มา : หนังสือพิมพ์ข่าวสด
a. Aerosols
1. Particulates solid phase
1. ฝุ่ น Dust
2. ขี้เถ้า Ash
3. ไอ Fumes
2. Solid and liquid
1. หมอกควัน Smoke (from
combustion)
2. ละออง Coastal aerosols
3. Liquid
4. Aggregate gases (sulfate,
nitrate)
Types of air pollution
b. Gases
1. COx
2. SOx
3. Nox
4. OZONE
5. PAH
โฟโตเคมิคัลออกซิแดนท์ NO2, PAN, (O3)
แหล่งกาเนิด
สารประกอบHC
สารประกอบNOx
พื้นดิน
ต้นไม้
แหล่งน้า
คือสารมลพิษที่มีคุณสมบัติออกซิไดซ์ มักเกิดขึ้นจากปฏิกิริยาของสารประกอบHCและ
สารประกอบNOxเมื่อโดนรังสีอุลตราไวโอเล็ต (เรียกปฏิกิริยานี้ว่าPhotochemical)
Photochemical smog
Photochemical oxidants
เช่น NO NO2 PAN (Peroxy
acyl nitrates) O3 ฯลฯ
เกิดการออกซิไดซ์สารต่างๆ ทาให้เกิดสารพิษใหม่ๆมากมาย
รังสีอุลตราไวโอเล็ต
+ O2
16
1. Individual pollutants
2. Reducing pollution (SO2)
1. Acid rain (fog)
2. Corrosive, eroding
3. Photochemical pollution
1. Aldehydes, electrophilic HCs
2. Oxidative, carcinogenic?
4. Mixtures and complex patterns
Types of air pollution
1. Ozone
2. Particulate Matter
3. Carbon Monoxide
4. Nitrogen Oxides
5. Sulfur Dioxide
6. Lead
1. VOCs
2. NOx
3. N-organics
4. Halo-organics
5. Metals
6. CO
Combustion pollutants
1. บุหรี่
2. โรงไฟฟ้ า
3. เมรุ
4. ยานพาหนะ
5. โรงงาน
Sources of combustion
1. Particulate matter
1. C + PAHs + N-aromatics
2. Gases
1. NOx, CO, SOx
3. VOCs
1. formaldehyde, acrolein, aldehydes
4. Respiratory inflammation
5. Cytotoxicity to airway cells
Diesel pollutants
Indoor air pollution
Sources of Indoor Air Pollution in a Typical
Household
หมายถึง สารประกอบเคมีที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ
และมีความดันไอมากกว่า 2 มิลลิเมตรปรอท (0.27 kPa)
ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส แต่ไม่รวมถึงมีเทน
คาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์
สาร VOCs มีชื่อเต็มว่า Volatile Organic Compounds
หรือ สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายเป็นสารที่มีคาร์บอน
เป็นองค์ประกอบระเหยได ้ง่ายที่อุณหภูมิห ้องโดยอยู่ในรูป
ของไอหรือก๊าซ
ประเทศไทยได ้มีการกาหนดมาตรฐานค่าสาร VOCs ใน
บรรยากาศโดยทั่วไป ในเวลา 1 ปี ในกลุ่มที่เป็นสารก่อ
มะเร็ง จานวน 9 ชนิด ได ้แก่
1. เบนซิน
2. ไวนิลคลอไรด์
3. 1,2-ไดคลอโรอีเทน
4. ไตรคลอโรเอทธิลีน
5. ไดคลอโรมีเทน
6. 1,2-ไดคลอโรโพรเพน
7. เตตระคลอโรเอทธิลีน
8. คลอโรฟอร์ม และ
9. 1,3-บิวทาไดอีน
ปี พ.ศ.2550
1. Hazardous air pollutants
1. ไม่รวม 6 criteria air pollutants
2. รวม
1. Organic chemicals (acrolein, benzene)
2. Minerals (asbestos)
3. PAH (benzo[a]pyrene)
4. Metals (Hg, Be)
5. Pesticides (carbaryl, parathion)
3. Some are carcinogenic
Hazardous air pollutants
HAPs
 แหล่ง : Petroleum emissions, fuel combustion,
incineration, biomass burning
 ปริมาณ~14% of all air pollution
 เป็ นส่วนสาคัญของ indoor air pollution
 ประเภท
1. Aliphatic
2. Alcohols (ethylene glycol, MTBE)
3. Aldehydes (formaldehyde)
4. Aromatic (benzene, toluene, xylene)
5. Halogenated (TCE, PERC, Methylene Chloride)
6. Polycyclic (PAHs)
7. Other (Carbon disulfide)
Volatile Organic Pollutants (VOCs)
Polycyclic aromatic hydrocarbons (PAH)
incomplete combustion of organic materials, incineration, industry,
natural processes
 16 of 126 priority pollutants
 Environmental transport, accumulation
 Photo - bio- degradation
 Carcinogens exposure* (metabolic activation) -
1. Air exposure 0.02-3ug/day
2. Cigarette smoke 0.1-0.25ug/cig
3. Unfiltered cigarettes 2-5ug/day
4. Vegetarian diet 3-9ug/day
5. Drinking water 0.2-120ng/day
6. Soil (urban) 0.003-0.4ug/day
VOCs Health Effects
* Menzie et.al. 1992, Env. Sci and Technol. Vol. 26: p.1278
Asian female adenocarcinoma
 อยู่ในเอเชียมากที่สุด
 หญิงเอเชีย ไม่สูบบุหรี่ ปัจจัยเสี่ยง
1. Cocking oil ?
2. Female
3. Radon
4. Second hand smoking
Adenocarcinoma
Cocking burning and lung cancer
EGFR TK mutations in Asian countries
• 3 จุดหลักของการเกิดmutation
– 18 and 21 Exons
• G719A (4%)
• L858R (38%)
– 19 axon deletion
• E746–A750 (45%)
Paez JG, et al. Science 2004;304:1497–500
 สารก่อมะเร็งพบในอาหารปิ้งย่าง
 ส่วนมากเป็นสาร 2-amino-1-methyl-6-
pheylimidazo[4,5-b]pyridine (PhIP)
Mechanisms
 ทาให้ยีนส์และนิวคลีโอไทด์เปลี่ยนแปลงง่าย
สารHeterocyclic Amines
อวัยวะเป้ าหมายของกลุ่มcarcinogenic heterocyclic amines
1. Liver
2. Small intestine
3. Large intestine
4. Skin
5. Lung
6. Mammary glands
7. Lymphoid tissues
8. Prostate
PM
สารPMมาจากไหน ?
VOCs
NO2
SO2
Ammonia (NH3)
Ammonia (NH3)
precursors transformed
แหล่งกาเนิด PM และ PM Precursors
Mobile Sources
(vehicles)
VOCs, NO2, PM
Stationary Sources
(power plants, factories)
NO2, SO2, PM
Area Sources
(drycleaners, gas stations)
VOCs
Natural Sources
(forest fires, volcanoes)
PM
 Eye irritation
 Respiratory tract infection
 Exacerbation of asthma
 Bronchial irritation
 Heart disease
 Possibly cancer (controversial) (diesel, TiO2, talc,
carbon black, toner black)
 Elevated hospital admissions, mortality
 Causation(s) not fully understood
Health effects of particulate pollutants
- starting at 10ug/m3
Radon Gas
 ก๊าซเรดอนเป็ นก๊าซกัมมันตรังสี ที่เปลี่ยนรูปมา
จากยูเรเนี่ยม แทรกซึมออกมาจากหินและดิน
 สามารถทาลายเซลล์เยื่อปอดได้ และเกิดมะเร็ง
 งานวิจัยพบมะเร็งปอดในคนงานเหมืองยูเรเนียม
สูงกว่าคนทั่วไป 5 เท่า
คุณสมบัติของกาซเรดอน
1. น้ำหนัก อะตอม 222 amu [atomic mass units ]
2. เป็นก๊ำซเฉื่อย
3. half-life 3.8 วัน.
4. เป็นก๊ำซที่หนักที่สุด.
5. มีลักษณะเป็น radioactive air pollutant.
6. สำรประกอบของเรดอนมีชนิดเดียวคือ Radon Fluoride.
Radon decay
Natural radioactivity (half-life)
in the ground
uranium-238   radium-226 
4.47 billion years 1620 years
radon-222 gas has time to leak into the air 
3.8 days
lead-210  lead-206
22 years stable
radon progeny (daughters)
radioactive isotopes of lead, bismuth, and polonium can be
inhaled and deposited in the lungs
90
อานาจทะลุทะลวงของคลื่นรังสีแต่ละชนิด
Alpha
Beta
Gamma
กระดาษ
แท่งคอนกรีตฝ่ ามือ
91
ความแรงของคลื่นอัลฟ่ า
เกิดจุดบนพลาสติกได ้
 Plastic chip from
passive radon test
(alpha track).
 Magnified only 100
times.
 Exposed for 3 months
at EPA to Action Level
of 4 pCi/L.
Radon Risk Estimates
1. USEPA’s 2003 วิเคราะห์ความเสี่ยงของการสัมผัส
เรดอนพบว่าเป็นสาเหตุของการตายด ้วยมะเร็งปอดปีละ
21,000 ราย
2. The Illinois Emergency Management Agency and
the USEPA ประมาณการว่า ประชากรของรัฐอิลลินอยส์เสี่ยงต่อการ
เป็นมะเร็งปอดจากเรดอน ปีละประมาณจานวน1,160 คน
Indoor Radon Became an Issue in 1984
 Stanley Watrus measured 2700 picocuries of
radon per liter (pCi/L) of air in his
Pennsylvania home.
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับเรดอนในอาคารกับมะเร็งปอดในอาเภอสารภี จังหวัด
เชียงใหม่
รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช
LL.B., M.D., Ph.D.
ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะ
แพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200
E-mail: pwiwatanadate@gmail.com
บทนา
 ในประเทศไทย มะเร็งปอดนับได้ว่าเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของมะเร็งด้วยกัน
 อุบัติการณ์สูงสุดพบที่ภาคเหนือ
 อุบัติการณ์เฉลี่ยต่อปีที่มีการปรับมาตรฐานตามอายุ (age-standardized) ใน
เชียงใหม่ ระหว่าง 2531-2534คือ 49.8 ต่อ 100,000 ในเพศชาย และ 37.4
ต่อ 100,000 ในเพศหญิง
บทนา
 การสูบบุหรี่พบว่าคือ สาเหตุหลัก แต่ไม่ใช่ปัจจัยเสี่ยงที่มีนัยสาคัญในจังหวัดเชียงใหม่
 การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า การได้รับเรดอนเป็นสาเหตุของการตายจาก
มะเร็งปอดปีละ 5,000 ถึง 20,000 ราย และเป็นสาเหตุของมะเร็งปอดเป็น
อันดับสองรองจากการสูบบุหรี่
 การสารวจระดับเรดอนในอาคารทั่วประเทศตั้งแต่ปี 2536 พบว่าจังหวัดต่างๆ ใน
ภาคเหนือมีระดับเรดอนสูงที่สุดในประเทศ
Isotope Old Name Half-life
U-238 Uranium I 4.47109
years
Th-234 Uranium X1 24.1 days
Pa-234m Uranium X2 1.17 minutes
U-234 Uranium II 244,500 years
Th-230 Ionium 75,000 years
Ra-226 Radium 1,600 years
Rn-222 Radon 3.82 days
Po-218 Radium A 3.11 minutes
Pb-214 Radium B 26.8 minutes
Bi-214 Radium C 19.8 minutes
Po-214 Radium C’ 1.610-4
seconds
Pb-210 Radium D 22.3 years
Bi-210 Radium E 5.01 days
Po-210 Radium F 138 days
Pb-206 Radium G Stable
การสลายตัวของยูเรเนียม
วัตถุประสงค์
ศึกษาปัจจัยเสี่ยงต่างๆ รวมทั้ง ระดับ
เรดอนในอาคารที่สัมพันธ์กับมะเร็ง
ปอดในอาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
หาแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ของ
มะเร็งปอดที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
วิธีการศึกษา
 ใช้การศึกษาแบบ case-control ที่อาเภอสารภีโดยใช้พื้นที่สารภีและจอมทอง
เป็นกลุ่มควบคุม
 กลุ่ม cases คือ ผู้ป่วยมะเร็งปอดย้อนหลัง 5 ปีในอาเภอสารภี จานวน 224 คน
, กลุ่ม controls มี 428 คน ที่ใกล ้เคียงกับกลุ่ม case ใน
แง่ อายุ เพศ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ชนิดของยาสูบที่
บริโภค และลักษณะของที่อยู่อาศัย
วิธีการศึกษา
กลุ่ม case และ controls จะถูกสัมภาษณ์โดย
นักวิจัยที่ผ่านการฝึกมาแล้ว
ทาการเก็บตัวอย่างอากาศในบ้านของกลุ่มตัวอย่างด้วย
charcoal canisters และส่งวิเคราะห์ระดับ
เรดอนด้วยวิธี gamma spectrometer ที่
สานักปรมาณูเพื่อสันติ
ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย logistic regression
ผลการศึกษา
ข้อมูลทั่วไป
 สัดส่วนชาย:หญิงในกลุ่ม case คือ 1.07:1 โดยอายุอยู่ในช่วง 36–85 ปี
ค่าเฉลี่ยคือ 63.09.0 ปี
 ผู้ป่วยส่วนมากมีการสูบบุหรี่ และมักเป็นบุหรี่ “ขี้โย” โดยระยะเวลาที่สูบคือ
35.617.2 ปี
ผลการศึกษา
การวัดระดับเรดอน
 ระดับเรดอนในบ ้านของผู้ป่ วยอยู่ในช่วง 6.6–150.3 Bqm–
3 มีค่าเฉลี่ย 26.41 Bqm–3 เมื่อเทียบกับ 18.32 Bqm–3
ของกลุ่มควบคุมในอาเภอจอมทองและ 16.68 Bqm–3
ของกลุ่มควบคุมในอาเภอสารภี
การกระจายของระดับเรดอนในบ้านของผู้ป่ วยมะเร็งปอด
Arith. Mean = 26.41 Bq·m–3
Arith. S.D. = 14.66 Bq·m–3
Geo. Mean = 23.80 Bq·m–3
N = 201
ความเข้มข้นของเรดอนในอาคาร (Bq∙m–3)
จานวนหลังคาเรือน
การกระจายของระดับเรดอนในบ้านของกลุ่มควบคุม อาเภอจอมทอง
ความเข้มข้นของเรดอนในอาคาร (Bq∙m–3)
จานวนหลังคาเรือน
Arith. Mean = 18.32 Bq·m–3
Arith. S.D. = 10.16 Bq·m–3
Geo. Mean = 16.28 Bq·m–3
N = 193
การกระจายของระดับเรดอนในบ้านของกลุ่มควบคุมอาเภอสารภี
ความเข้มข้นของเรดอนในอาคาร (Bq∙m–3)
จานวนหลังคาเรือน
Arith. Mean = 16.68 Bq·m–3
Arith. S.D. = 8.90 Bq·m–3
Geo. Mean = 14.46 Bq·m–3
N = 225
ผลการศึกษา
ปัจจัยเสี่ยง
เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมในอาเภอจอมทอง ปัจจัยเสี่ยง
ที่สัมพันธ์กับมะเร็งปอดคือ เรดอนในอาคาร ประวัติการเป็น
มะเร็งปอดในครอบครัว ระยะเวลาที่อาศัยในที่อยู่ปัจจุบัน
และประวัติของการได้รับควันบุหรี่
ระดับเรดอนพบว่ามีอิทธิพลต่อการเกิดมะเร็งปอดมากที่สุด
(R = 0.2145)
ผลการศึกษา
ปัจจัยเสี่ยง
เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมในอาเภอสารภี ปัจจัย
เสี่ยงที่สัมพันธ์กับมะเร็งปอดคือ เรดอนในอาคาร
ระยะเวลาของการสูบบุหรี่ และอายุ
ระดับเรดอนพบว่ามีอิทธิพลต่อการเกิดมะเร็งปอดมาก
ที่สุด (R = 0.2883)
สรุป
มะเร็งปอดเกิดจากหลายสาเหตุ
สาเหตุหลักของมะเร็งปอดในอาเภอสารภี คือ การ
สูบบุหรี่ โดยมีปัจจัยเสริมคือ การได้รับเรดอน
ควรมีมาตรการรณรงค์งดการสูบบุหรี่ในอาเภอ
สารภี ร่วมกับการลดปริมาณเรดอนในที่อยู่อาศัย
Social Background
Persistent Organic Pollutants (e.g. DDT, Aldrin, PCB’s,
Dioxins, etc.) are a group of chemicals well known for
their toxicity and recalcitrant behaviour.
Organochlorine insecticides
 DDT
 Chlordane
 Lindane
 Dieldrin
 Toxaphene
 Methoxychlor
 NHL, leukemia, STS, pancreas,
lung, liver, mm, skin, breast
 Lymphoma, lung, neuroblastoma
 Lymphoma, breast
 Breast
 Lymphoma
 Leukemia
Asbestos

Asbestos ใยหินเป็นแร่ที่ใช้ในอุตสาหกรรมหลายชนิด เช่น
การก่อสร้าง โครงสร้างอาคาร ผ้าเบรค คลัช ฉนวนความ
ร้อน อุตสาหกรรมสิ่งทอ เหมือง แร่ ผู้ที่เสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่ทางาน
ในสิ่งแวดล้อมที่มีการใช้แอสเบสตอสเป็นส่วน
ประกอบ ระยะเวลาตั้งแต่สัมผัสฝุ่ นแอสเบสตอสจนเป็นมะเร็ง
ปอด อาจใช้ เวลา 15–35 ปี ผู้ไม่สูบบุหรี่ แต่ทางานกับฝุ่ นแร่
แอสเบสตอส เสี่ยงต่อมะเร็ง ปอดมากกว่าคนทั่ว ไป 5 เท่า ผู้
สูบบุหรี่และทางานกับฝุ่ นแอสเบสตอสด้วยเสี่ยงต่อมะเร็งปอด
มากกว่าคนทั่วไปถึง 90 เท่า
ลักษณะ
 Aerodynamic
Serpentine
(93% of commercial use)
Amphibole
(7% of commercial use)
Chrysotile
Actinolite, Amosite, Anthophyllite,
Crocidolite, Richterite, Tremolite
ชนิด
 Crocidolite (สีน้าเงิน) <1 % อันตราย
ที่สุด
Asbestos
ทาให้เกิดมะเร็งปอดเนื่องจากการสูดดมโดย
asbestos fiberเกี่ยวข้องกับการที่ macrophage
พยายามทาลาย fiber โดยจับไว้ใน mesothelial surface
และปล่อยอนุมูลอิสระ ส่งผลให้เกิดการทาลาย DNA
(DNA damage) ใน mesothelial cell ที่กาลังแบ่งตัว
(proliferating mesothelial cell)
Macrophage Cell
Mesothelioma
Asbestos-Smoking-Lung Cancer
 สัมผัสแร่ใยหินอย่างเดียว=5 X lung cancerของคนปกติ
 สูบบุหรี่อย่างเดียว =10 X lung cancer
 Asbestos exposure of Smoker=50 X lung CA
↓
Newest figures now say= 88 X greater chance

Contenu connexe

Tendances

สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisPharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisUtai Sukviwatsirikul
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 

Tendances (20)

Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisPharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 

Similaire à สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม

อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfpitsanu duangkartok
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททpakpoomounhalekjit
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfSitthichaiChaikhan
 
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste managementNithimar Or
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แผนงาน นสธ.
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)The Field Alliance
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 

Similaire à สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม (20)

อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
Dioxin
DioxinDioxin
Dioxin
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
 
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
 
มะเร็ง
มะเร็งมะเร็ง
มะเร็ง
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
8
88
8
 
Basic oncology
Basic oncology  Basic oncology
Basic oncology
 

Plus de โรงพยาบาลสารภี

จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่โรงพยาบาลสารภี
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังโรงพยาบาลสารภี
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภีโครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภีโรงพยาบาลสารภี
 

Plus de โรงพยาบาลสารภี (11)

Saraphi , From HIS to Health.
Saraphi , From HIS to Health.Saraphi , From HIS to Health.
Saraphi , From HIS to Health.
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
หมอครอบครัว ระบบยาชุมชน
หมอครอบครัว  ระบบยาชุมชนหมอครอบครัว  ระบบยาชุมชน
หมอครอบครัว ระบบยาชุมชน
 
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
อำเภอสารภีสร้างสุข
อำเภอสารภีสร้างสุขอำเภอสารภีสร้างสุข
อำเภอสารภีสร้างสุข
 
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
 
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภีโครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
 

สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม