SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรป 
ต่อทวีปเอเชีย 
วิชา ส33102 สังคมศึกษา 
จัดทาโดย 
นางสาวธนบดีไชยยันต์บูรณ์ม.6.1 เลขที่ 9 
นางสาววรารัตน์ ลีระเติมพงษ์ ม.6.1 เลขที่ 23 
อาจารย์ผู้สอน 
อ. ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล
ผลกระทบของการขยายอิทธิพล 
ของประเทศในยุโรป
การเมืองการปกครอง
อา นาจและบทบาททางการเมืองของชนชั้นปกครองพื้นเมือง 
แลสถาบันทางการเมืองแบบเดิมถูกทดแทนด้วยผู้ปกครอง 
ชาวตะวันตกและสถาบันทางการเมืองการปกครองแบบใหม่ที่ดาเนิน 
อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ อานาจและบทบาททางการเมือง 
ถูกถ่ายโอนไปที่ข้าหลวงที่ชาวตะวันตก เช่น อินเดีย มลายูเป็นต้น
นอกจากนี้ดินแดนบางแห่งถูกกาหนดให้เป็นดินแดนใน 
อารักขา ชาวตะวันตกเข้าควบคุมด้านการทหาร การคลัง และ 
การต่างประเทศ
สาหรับประเทศจีน เป็นเขตอิทธิพลของชาวตะวันตก เนื่องจาก 
ความขัดแย้งทางการค้าระหว่างจีนกับพ่อค้าชาวอังกฤษนาสู่สงคราม 
ฝิ่น จีนเป็นฝ่ายแพ้ต้องยอมทาสนธิสัญญาหนานจิง ซึ่งเป็นเหตุให้จีน 
เสียเปรียบชาวต่างชาติ
สงครามฝิ่น
หลังจากทาสนธิสัญญาหนานจิงกับอังกฤษ จีนทาสนธิสัญญา 
ในลักษณะเดียวกันนี้กับชาติต่างๆ เพื่อเปิดโอกาสให้ประเทศต่างๆ 
เหล่านั้นมาแข่งขันแสวงหาผลประโยชน์บนแผ่นดินจีน ดังนั้นอ่าว 
และเมืองท่าที่สาคัญที่สุดของจีนกลายเป็นเขตเช่าของพ่อค้า 
ต่างชาติ ถูกพ่อค้าต่างชาติเข้าควบคุม
เศรษฐกิจ
เป้าหมายสาคัญของจักรวรรดินิยมตะวันตก คือให้เอเชียกลายเป็น 
แหล่งป้อนวัตถุดิบสาหรับอุตสาหกรรมของโลกตะวันตก และระบาย 
สินค้าอุตสาหกรรมอาศัยการบังคับทางตรงและบังคับทางอ้อม โดยบังคับ 
ด้านภาษีอากร การปล่อยสินเชื่อ การสร้างแรงจูงใจทางด้านการลงทุน
นั่นทาให้ระบบเศรษฐกิจแบบพอยังชีพเดิมต้องเสื่อมสลายไป 
วิถีชีวิตของชาวนาและคนชั้นล่างส่วนใหญ่เริ่มถูกครอบงาจากระบบ 
เศรษฐกิจแบบตลาดที่มุ่งการผลิตเพื่อขายและหารายได้เพื่อซื้อหา 
สินค้าอุปโภคบริโภคแทน
สังคม
รัฐแบบใหม่ ระบบราชการ และการผลิตในระบบทุนนิยม นา ไปสู่ 
การขยายตัวของสังคมเมือง ทา ให้ภาคเกษตรแบบพอยังชีพในชนบท 
เสื่อมโทรมลง ในขณะที่โอกาสทางเศรษฐกิจ บริการทางสาธารณูปโภค 
สาธารณสุข และการศึกษาที่ดีกว่ากระจุกตัวอยู่ตามเมืองใหญ่ทา ให้ผู้คน 
เข้าสู่เมืองอยู่ในอัตราสูง นา ไปสู่การเกิดวัฒนธรรมเมือง เช่น จาการ์ตา 
บอมเบย์ย่างกุ้ง สิงค์โปร์ไซง่อน
กราฟ ความหนาแน่นของประชากร (คนต่อตารางกิโลเมตร) ในโลก ในทวีปเอเชีย 
และในประเทศไทย ค.ศ. 1970 – 2030 (พ.ศ. 2513 – 2573) 
วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมของชาวพื้นเมืองก็ได้เปลี่ยนไป คือ มีการเลียนแบบ 
ชาวตะวันตกมากขึ้น เช่น การแต่งกาย ค่านิยม การศึกษา และสิ่งที่ 
หลีกเลี่ยงไม่ได้คือการเติบโตของจา นวนประชากร และ ปัญหาของ 
แหล่งเสื่อมโทรม
ตัวอย่างของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปในเอเชียหลังจากได้รับอิทธิพล 
ของตะวันตก เช่น 
ระบบวรรณะอันเป็นระบบทางสังคมที่ 
สา คัญของอินเดียได้เสื่อมคลายลง ทั้งนี้ 
เนื่องจากการเป็นสังคมขนาดใหญ่ทา ให้ไม่ 
สามารถแบ่งแยกได้ว่า ใครเป็นใคร อยู่ใน 
วรรณะใด ระบบวรรณะจึงเจริญเติบโตอยู่ใน 
สังคมแคบๆ หรือในหมู่บ้านชนบทของ 
อินเดียมากกว่า
นอกจากนี้อังกฤษยังได้วางรากฐานการศึกษาในอินเดียตั้งแต่ระบบ 
โรงเรียนถึงมหาวิทยาลัย ใช้หลักสูตรและภาษาอังกฤษในการเรียนการ 
สอน มีการศึกษาแนวคิดและวิทยาการความก้าวหน้าแบบอังกฤษ ดงันั้น 
จึงเป็นพื้นฐานสา คัญที่ทา ให้ชาวอินเดียมีการศึกษาในเวลาต่อมา
สังคมของญี่ปุ่น ในสมัยโบราณที่เคยแบ่งชนชั้นตามระดับตามหลักการ 
ของลัทธิขงจื๊อ โดยแบ่งคนในสังคมออกเป็น 4 กลุ่ม คือ ซามูไร ชาวนา 
ช่างฝีมือ และพ่อค้า
ต่อมาในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่19 ในสมัยเมจิมีการยกเลิกการ 
แบ่งคนในสังคมเป็น 4 ชนชั้น และประกาศยกเลิกสิทธิพิเศษของ 
ซามูไร และให้ประชาชนทุกคนมีฐานะเท่าเทียมกัน ต่อมารัฐบาล 
ประกาศใช้นโยบายการศึกษา ค.ศ.1872 ซึ่งแสดงความคิดแบบเสรีนิยม 
ที่ได้รับอิทธิพลจากชาติตะวันตก
ประชาชนญี่ปุ่นมีสิทธิที่จะได้รับการศึกษาทั่วถึงกัน รัฐบาลได้ปรับปรุง 
การศึกษาโดยจัดตั้งโรงเรียนท้องถิ่นต่างๆมีการแบ่งเขตการศึกษา 
ออกเป็นส่วนๆ มีการจัดตั้งโรงเรียนประถมและมหาวิทยาลัย ในแต่ละ 
เขตตามแบบการศึกษาในประเทศตะวันตก ชาติที่มีอิทธิพลต่อการศึกษา 
ของญี่ปุ่นคือ สหรัฐอเมริกา
จากการที่ชาวเอเชียอยู่ภายใต้การควบคุมของชาติตะวันตก 
ก่อให้เกิดความรู้สึกแบบชาตินิยมขึ้น ซึ่งการปกครองแบบรวมศูนย์ 
ระบบเศรษฐกิจแบบใหม่ ประกอบกับการศึกษาสมัยใหม่ ทา ให้ชาว 
พื้นเมืองภายใต้ระบอบอาณานิคมมีโลกทัศน์ที่กว้างขวางมาก 
กว่าเดิมก่อให้เกิดสา นึกเกี่ยวกับการมีอยู่ร่วมกันของภาษา 
วัฒนธรรม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเมืองภายใต้การปกครองของชาวตะวันตก เห็น 
ได้จากบรรดาผู้นา ของขบวนการชาตินิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
ส่วนใหญ่เป็นผู้นา ที่ผ่านระบบการศึกษาสมัยใหม่ของชาวตะวันตก 
โดยตรง เช่น โฮเซ รีชัล ชาวฟิลิปปินส์ ออง ซาน ชาวพม่า และ อะห์ 
เม็ด ซูการ์โน ชาวอินโดนีเซีย 
โฮเซ รีชัล ออง ซาน อะห์เม็ด ซูการ์โน
วัฒนธรรม
ชาวเอเชียมีวัฒนธรรมที่หลากหลาย ซึ่งเป็นวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่ม 
หรือชนชาติเมื่อชาวตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลในดินแดนแถบนี้ได้รวบรวม 
ชนชาติต่างๆให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันภายใต้กฎที่เคร่งครัด วัฒนธรรม 
เฉพาะกลุ่มจึงเปลี่ยนเป็นวัฒนธรรมของชนหมู่มาก เช่น ภาษา ชาวอินเดีย 
ตั้งแต่โบราณมีความแตกต่างกันในด้านการใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นอย่างมาก 
ซึ่งอุปสรรคอย่างหนึ่งที่ทา ให้คนอินเดียที่อยู่ต่างถิ่นกันไม่สามารถเข้าใจ 
ภาษาซึ่งกันและกันได้
การที่อังกฤษนา ภาษาอังกฤษเข้ามาใช้เป็นภาษาราชการ จึงหมายถึงการ 
เป็นสื่อกลางของความเข้าใจในหมู่คนอินเดียด้วยกันเองด้วย
ศาสนา เมื่อสเปนเข้ามาหาประโยชน์ในฟิลิปปินส์ได้นา คริสต์ศาสนานิกาย 
โรมันคาทอลิกเข้ามาเผยแผ่จนในที่สุดคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก 
กลายเป็นศาสนาที่มีชาวฟิลิปปินส์นับถือมากที่สุด และเป็นส่วนหนึ่งในวิถี 
ชีวิตของชาวฟิลิปปินส์
ศิลปกรรม
วรรณกรรมเรื่อง สามก๊ก 
ฉบับภาษาอังกฤษ 
ศิลปกรรมและความเจริญทางด้านความคิดถือว่าเป็นมรดกดั้งเดิมของชาว 
เอเชีย ซึ่งเป็นที่สนใจของชาวตะวันตก เช่น การศึกษาปรัชญาจีน การศึกษา 
ภาษาสันสกฤตของอินเดีย การแปลวรรณกรรมสาคัญของชาวเอเชียเป็นภาษา 
ต่างๆ ในขณะที่ชาวตะวันตกสนใจศึกษาศิลปกรรมของเอเชียนั้น ในทาง 
กลับกันชาวเอเชียก็ได้รับอิทธิพลของชาวตะวันตกด้วย
เริ่มจากชนชั้นปกครองและกลุ่มชนชั้นกลางที่ได้รับ 
การศึกษาตามแบบตะวันตก รับศิลปกรรมตะวันตกในรูปแบบ 
ผสมผสาน กล่าวคือ ใช้วิธีคิดที่เป็นเหตุเป็นผลของชาวตะวันตก 
รวมกับมรดกทางปัญญาที่มีอยู่ในการสร้างสรรค์ผลงาน 
ศิลปกรรม ต่อมาศิลปกรรมตะวันตกก็มีรูปแบบชัดเจนขึ้นจน 
กลายเป็นแบบตะวันตกอย่างแท้จริง
เมืองโตเกียวมีการจ้างสถาปนิกจากประเทศอังกฤษเข้ามาอา นวยการ 
ก่อสร้าง นอกจากนี้ยังมีการสร้างตึกแบบยุโรป เช่น ตึกโระกเุมะอิคัง 
ซึ่งเป็นสถานที่จัดเลี้ยงแบบตะวันตก
จิตรกรรมฝีมือ 
ขรัวอินโข่ง 
มีการวาดภาพตามแบบยุโรป เช่น ผลงานของขรัวอินโข่ง จิตรกรเอกใน 
สมัย รัชกาลที่4 วาดภาพแบบสามมิติ ซึ่งแตกต่างจากจิตรกรรมไทย 
ประเพณีที่เป็นแบบสองมิติ
มีการใช้ภาษาพูดในการเขียนวรรณกรรมแทนภาษาเขียนที่ใช้อยู่เดิม 
เนื่องจากภาษาพูดเข้าใจง่าย วรรณกรรมจึงเป็นที่แพร่หลายในหมู่ผู้อ่าน 
อย่างกว้างขวาง รวมทั้งมีแนวคิดใหม่ๆ ในการสร้างสรรค์เนื้อเรื่องของ 
วรรณกรรมอย่างแนวคิดสัจนิยมที่นักเขียนจีนและญี่ปุ่นสะท้อนให้เห็น 
ความทุกข์ของกรรมกรในโรงงานอุตสาหกรรม ความเสื่อมโทรมของ 
สังคม
จัดทาโดย 
นางสาวธนบดี ไชยยันต์บูรณ์ ม.6.1 เลขที่ 9 
นางสาววรารัตน์ ลีระเติมพงษ์ ม.6.1 เลขที่ 23

Contenu connexe

Tendances

ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 

Tendances (20)

ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย