SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช
จัดทาโดย
นายพงศ์พาณิช ภพักตร์จันทร์
เลขที่10
นายนิรุตติ พึ่งสุขแดง
เลขที่17
นายภัทรชนนท์ เทพวงศ์ษา
เลขที่20
นางสาวปัญฑารีย์ จันทวงศ์
เลขที่22
นางสาวพชรมน อินคล้า
เลขที่26
นางสาวธารัญญา พูลสวัสดิ์
เลขที่32
นาวสาวแก้วตา ขาญาติ
เลขที่35
นางสาวณัชชา วิริยาลัย
เลขที่37
เสนอ
อาจารรุจิกร พิมพ์สอน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนสุคนธีรวิทย์
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4
โดยมีจุดประสงค์เพื่อรายงานเรื่องวิวัฒนาการและการปรับตัวจา
กสาหร่ายสู่พืช
โดยรายงานเล่มนี้จะแสดงให้เห็นข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับพืชและสา
หร่ายสีเขียวต้นกาเนิดและวิวัฒนาการ
ผู้จัดทาคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทาเอกสารฉบับนี้จะมีข้อมู
ลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในวิชาชีววิทยาเป็นอย่างดี
สาหร่ายคืออะไร?
- สาหร่าย(algae)
เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถสังเคราะห์แสงได้ด้วยตนเอง
พบในที่มีความชื้น แต่จะพบมากในน้า ทั้งน้าจืด
น้าเค็มและน้ากร่อย แม้แต่ในสิ่งแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง
เช่นในทะเลทราย น้าพุร้อน
หรือกระทั่งในสถานที่ที่มีอุณหภูมิต่ามาก
บริเวณขั้วโลกหรือในหิมะก็พบว่าสาหร่ายสามารถดารงชีวิตอยู่ไ
ด้ สาหร่ายมีความหลากหลายตั้งแต่รูปร่างไปจนถึงขนาด
มีทั้งขนาดที่มองโครงสร้างของเซลล์ไม่เห็นด้วยตาเปล่าต้องใช้ก
ล้องจุลทรรศน์ซึ่งจัดเป็นสาหร่ายขนาดเล็ก(microalgae)สาหร่
ายขนาดเล็กมีทั้งพวกที่เป็นโปรแคริโอต คือไซยาโนแบคทีเรีย
หรือชื่อเดิมคือสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน
พืชคืออะไร
- พืชเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์แบบยูคาริโอต
เป็นพวกที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้
และสร้างสารอินทรีย์จากสารอนินทรีย์ได้
พืชมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกลุ่มสาหร่ายสีเขียวเชื่อว่าวิวัฒนาก
ารมาจากสาหร่ายสีเขียวเพื่อสามารถอาศัยบนบกได้พวกคาโรไ
ฟซีน(Charophycean) หรือพวกคาโรไฟต์ (Charophyte)
หรือสาหร่ายไฟ ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพืชมากที่สุด
ซึ่งในอณาจักรของพืชจะประกอบไปด้วยพืชที่แท้จริง
แบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ
โดยยึดหลักของการที่มีหรือไม่มีระบบท่อลาเลียงเป็นเกณฑ์
- พวกที่ไม่มีระบบท่อลาเลียงจะเรียกว่า Bryophytes หรือพวก
Non-vascular plants
- ส่วนพวกที่มีท่อลาเลียงจะเรียกว่า Trachephytes หรือพวก
Vascular plants จะประกอบด้วย Bryophytes
ที่จัดเป็นพืชครึ่งบกครึ่งน้าที่เจริญจากสาหร่ายมาเป็นพืชบกพวก
แรกจึงยังต้องอาศัยความชื้นในการสืบพันธุ์อยู่ alternation of
generations
ที่เป็นลักษณะของพืชบนบกจะเริ่มเห็นชัดในพืชกลุ่มนี้
มีต้นสปอโรไฟต์และต้นแกมีโทไฟต์แยกกัน เช่น พวกมอส
ลิเวอร์เวิร์ต และ ฮอร์นเวิร์ต จะพบอยู่ประมาณ 35,000 ชนิด
ส่วน Tracheophytes จะได้แก่พืชที่มีท่อลาเลียงน้าและอาหาร
จึงสามารถขึ้นมาอยู่บนบกได้ เป็นพืชที่มีราก ลาต้น และ
ใบที่แท้จริง ส่วนการสืบพันธุ์มีทั้งที่อาศัย spore และเมล็ด
แบ่งเป็น2กลุ่มคือพวก primitive vascular plants
เป็นพืชที่ไม่มีเมล็ดและสืบพันธุ์โดยspore และกลุ่ม higher
vascular plants เป็นพวกพืชมีเมล็ด
ต้นกาเนิดของวิวัฒนาการจากสาหร่ายสู่พืช
- จากหลักฐานทางวิวัฒนาการและการศึกษาเปรียบเทียบลาดับเบ
สของ DNA จากคลอโรพลาสต์(Chloroplast)
และนิวเคลียส(Nucleus) พบว่า พืชและสาหร่ายในกลุ่ม
Charophyte มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันทางวิวัฒนาการ
ประกอบกับการเรียงตัวของเซลลูโลสที่ผนังเซลล์
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่เกิดมาแล้วไม่ต่ากว่า400ล้านปี ในยุคออโดวิเ
ชียน (Ordovician)
มีหลักฐานหลายอย่างที่ทาให้เชื่อว่าพืชมีวิวัฒนาการมาจากสาหร่
ายสีเขียว กลุ่ม Charophytes
โดยมีการปรับตัวจากสภาพที่เคยอยู่ในน้าขึ้นมาอยู่บนบกด้วยกา
รสร้างคุณสมบัติต่างๆที่เหมาะสมขึ้นมา เช่น
มีการสร้างคิวติน(cutin)ขึ้นมาปลกคลุมผิวของลาต้นและใบเรีย
กว่าคิวทิเคิล(cuticle)เพื่อปกกันการสูญเสียน้าและการเกิดsto
mata เพื่อทาหน้าที่ระบายน้าและแลกเปลี่ยนก๊าซ
ซึ่งจากหลักฐานทางวิวัฒนาการและการศึกษาเปรียบเทียบลาดับ
เบสของDNAจากคลอโรพลาสต์(Chloroplast)
และนิวเคลียส(Nucleus) แล้วพบว่า
พืชและสาหร่ายในกลุ่ม(Charopyte)มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน
ทางวิวัฒนาการ ประกอบกับมีการเรียงตัวของเซลล์เหมือนกัน
มีสารสีที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ คลอโรฟิลล์
aและbรวมทั้งมีโครงสร้างที่ทาหน้าที่ป้ องกันเซลล์สืบพันธุ์และไ
ซโกตที่คล้ายคลึงกับการป้ องกันเอ็มบริโอในพืช
สาหร่าย (Algae)
เซลล์สืบพันธุ์ - มีแบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศได้
ไม่อาศัยเพศ 1.แฟลกเมนเตชั่น(Fragmentation)
เกิดการแตกหักของสาหร่ายเป็นท่อน
2.สปอร์รูเลชั่น(Sporulation)
เกิดการสร้างสเปอร์ที่เคลื่อนที่ได้
อาศัยเพศ เกิดการผสมกันของแกมีต(Gamete)
จนได้เป็นไซโกต(Zygote)
การใช้ชีวิต - ความชื้นที่เหมาะสม
การสังเคราะห์แสง -
สังเคราะห์แสงได้/หาอาหารเองได้/ดูซับแร่ธาตุจากน้าทะเลสู้เซล
ล์โดยตรง
ที่อยู่อาศัย - อาศัยในน้า
การลาเลียงอาหาร - ไม่มีระบบลาเลียงอาหาร
ลักษณะโดยรวม - ไม่มีราก ลาต้น และใบที่แท้จริง
พืช (Plant)
เซลล์สืบพันธุ์ - มีเซลล์สืบพันธุ์คือแกมีแทนเจียม / มี Sporangium
ไว้สร้างสปอร์
การใช้ชีวิต - ใช้ชีวิตแบบสลับ คือเป็น Sporophyte กับ
gametophyte
การสังเคราะห์แสง - สังเคราะห์แสงเองได้
ที่อยู่อาศัย - ส่วนใหญ่จะอาศัยบนบก
การลาเลียงอาหาร - มีท่อลาเลียงหมด/ดูดแร่ธาตุผ่านทางราก
ยกเว้นพวก Non-vascular plant
ลักษณะโดยรวม - มีเนื้อเยื่อเจริญที่ปลาย คือ มีรากและลาต้น
ยกเว้นพวก Bryophyta
- มีการสร้างชั้นคิวติเคิล (Cuticle)
เพื่อป้ องกันการสูญเสียน้า
ข้อดีข้อเสียของสาหร่ายที่อยู่ในน้ากับบนบก
ข้อดีในน้า
- ได้รับความชุ่มชื่นตลอดเวลา
ข้อเสียในน้า
- การสังเคราะห์แสงที่ไม่มีประสิทธิภาพเท่าบนบก
เนื่องจากความโปร่งแสงในน้านั้นแสงจะส่องมาในน้าได้ยากกว่า
ข้อดีบนบก
- สามารถสังเคราะห์แสงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อเสียบนบก
- สภาพอากาศที่ร้อนขึ้น การเสียน้าเยอะขึ้น
การปรับตัวด้านต่างๆของสาหร่ายเพื่อขึ้นมาอาศัยบนบกสู่การเป็นพืช
- การคายน้า
- ระบบหายใจ
- ด้านการสืบพันธุ์
- การหาอาหาร
การคายน้าของสาหร่ายที่ปรับตัวขึ้นบนบก
- สาหร่าย
- สาหร่ายต้องปรับตัวจากสภาพแวดล้อมที่ร้อนและแห้งมากขึ้นเนื่
องจากปราศจากการอาศัยน้าทาให้ต้องเสียน้า
ต้องคายน้าจากความร้อนมากขึ้นเพื่อไม่ให้ตัวมันแห้งตายพืชจึง
ปรับตัวบริเวณผิวชั้นนอกสุดเรียกว่า
Epidermisชั้นนี้มีสารประกอบประเภทไขมันอยู่มาก
มีคุณสมบัติ ไม่ยอมให้น้าผ่านเรียกชั้นนี้ว่า Cuticle
มีความสาคัญมากต่อการสูญเสียน้า
ซึ่งองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นไขมัน(wax)สามารถป้ องกันการเ
ข้าออกของน้าได้เพราะมีคุณสมบัติเป็น Hydrophobic
ระบบหายใจ
- การปรับตัวทางด้านระบบหายใจก็เป็นส่วนสาคัญอีกอย่างในการ
เอาตัวรอด
โดยต้องเจอปัญหาอากาศร้อนแห้งดังนั้นพืชบกจึงมีลาต้นหนา
และแข็งแรง
มีอวัยวะหายใจทาหน้าที่นาก๊าซออกซิเจนจากอากาศไปให้พืชใช้
หายใจภายในต้นจะพบช่องว่างระหว่างเนื้อเยื่อเต็มไปด้วยอากา
ศที่ให้ประโยชน์คือนาก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ใช้สังเคราะห์แส
งและนาออกซิเจนไปใช้ในการหายใจ
หรือแม้แต่ตอนสังเคราะห์แสงก็ยังได้ออกซิเจนมา
ด้านการสืบพันธุ์
- การแพร่พันธุ์ที่หลากหลาย
จะแพร่พันธุ์ด้วยตัวเองหรืออาศัยสัตว์เป็นตัวกลางและสายพันธุ์
ที่เห็นได้ชัดว่ามีความหลากหลายมากโดยพืชจะปรับสายพันธุ์ตา
มสภาพแวดล้อมของตัวเอง
การหาสารอาหาร
- สาหร่าย สามารถสังเคราะห์แสงได้ด้วยต้นเอง
- พืชสามารถทาการสังเคราะห์อาหารเองได้เมื่อขึ้นมาบนบกต้อง
มีการปรับตัวหลายอย่าง
ทาให้การสังเคราะห์แสง/ม่ได้เป็นแหล่งอาหารอย่างเดียวทาให้มี
การปรับตัวเพิ่มเข้ามามีราก ลาต้น
สร้างเนื้อเยื่อเพื่อลาเลียงอาหารดึงน้าและแร่ธาตุจากรากไปสู่ทั้ง
ต้น
อ้างอิง
1.จาก Michael D Guiry. (2012,Sep 20). HOW MANY
SPECIES OF ALGAE ARE THERE?. National of library
medicine. https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/27011267/
2.จาก L.Naselli-Flores,R.Barone, (2009). Encyclopedia
of Inland Waters
https://www.sciencedirect.com/topics/earth-and-
planetary-sciences/green-alga
3.จาก Hisayoshi Nozaki, (2003). Freshwater Algae of
North America
https://www.sciencedirect.com/topics/earth-and-
planetary-sciences/green-alga
4.จากความหลากหลายทางชีวภาพ ม.6 โดยน.ส.พิไลวรรณ
ภักดีเรือง และน.ส.วรรณนิภา หนูขวัญ (2014)
https://sites.google.com/site/khwamhlakhlaythangchiwp
haphm6/xanacakr-khxng-sing-mi-chiwit/xanacakr-phuch
5.จาก อาณาจักรพืช(Kingdom Plantae) โดย
เจ้าของร้าน(2016)http://www.tinyworld2013.com/article
6 . จ า ก วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง พื ช
โดยสถาบันและพัฒนาก ระบวนการเรียน มหาลัยมหิดล
( 2009) https: / / il. mahidol. ac. th/ e- media/ 150charles-
darwin/Less7_2.html
7.จากสาหร่ายวิทยาphycology โดยสรฉัตร เทียมดาว (2016)
https://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/1735zin9o02
N6FKFh3FF.pdf
8.จากอาณาจักรพืช โดยยุพา วรยศ
http://old-book.ru.ac.th/e-book/b/BI115/bi115-13.pdf
9.จากอาณาจักรพืช โดยณัฐพงษ์ บุญปอง (2021)
https: / / www. scimath. org/ lesson- biology/ item/ 11307-
2020-02-17-07-09-1
10.จาก Evolution โดย นันทวัน นันทวนิช และ ดร.ศศิวิมล แสวงผล
https: / / il. mahidol. ac. th/ e- media/ 150charles-
darwin/Less7_2.html
11.จาก พืชเปลี่ยนแปลงตัวเองอย่างไร จนมาถึงปัจจุบัน โดย
admin@inc2010.org
2019
https://www.inc2010.org/%E0%B8%9E%E0%B8%B7%
E0%B8%8A%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5
%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%9
9%E0
12.จาก ในการเคลือบผลไม้ด้วยใบ – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดย
น.ส.กุลธิดา เลาอโศก ,น.ส.จรีรัตน์ สาตราวาหะ, น.ส.วิไล นุชท่าโพ,
น.ส.อรวรรณ ชัชวาลการพาณิชย์ และ น.ส.เอมอร
ธีระวงษ์ไพโรจน์
file:///C:/Users/zolo/Downloads/HJ21020649c%20(1).pdf
.

Contenu connexe

Tendances

กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรYosiri
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกFah Philip
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มNattha-aoy Unchai
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงPonpirun Homsuwan
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2Kritsada Changmai
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5Worrachet Boonyong
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
พัฒนาการวัยมัธยมต้ม
พัฒนาการวัยมัธยมต้มพัฒนาการวัยมัธยมต้ม
พัฒนาการวัยมัธยมต้มPuttinan Inchan
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 

Tendances (20)

กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
พัฒนาการวัยมัธยมต้ม
พัฒนาการวัยมัธยมต้มพัฒนาการวัยมัธยมต้ม
พัฒนาการวัยมัธยมต้ม
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 

Similaire à วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
โครงงานเสพติด (ใหม่)
โครงงานเสพติด (ใหม่)โครงงานเสพติด (ใหม่)
โครงงานเสพติด (ใหม่)Pear Pimnipa
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Sathitalookmai
 
โครงงานเสพติด
โครงงานเสพติดโครงงานเสพติด
โครงงานเสพติดPear Pimnipa
 
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22LoudwarunBunyaviroch
 
Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5ssuserfe6f95
 

Similaire à วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx (20)

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
โครงงานเสพติด (ใหม่)
โครงงานเสพติด (ใหม่)โครงงานเสพติด (ใหม่)
โครงงานเสพติด (ใหม่)
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
Herbarium
Herbarium Herbarium
Herbarium
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
 
Menopause
MenopauseMenopause
Menopause
 
โครงงานเสพติด
โครงงานเสพติดโครงงานเสพติด
โครงงานเสพติด
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Plumeria
PlumeriaPlumeria
Plumeria
 
Bioo
BiooBioo
Bioo
 
การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4
 
656 pre2
656 pre2656 pre2
656 pre2
 
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
 
tonmok herbarium
tonmok herbariumtonmok herbarium
tonmok herbarium
 
Mango 341-2563
Mango 341-2563Mango 341-2563
Mango 341-2563
 
N sdis 143_60_2
N sdis 143_60_2N sdis 143_60_2
N sdis 143_60_2
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5
 

วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx

  • 1. วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช จัดทาโดย นายพงศ์พาณิช ภพักตร์จันทร์ เลขที่10 นายนิรุตติ พึ่งสุขแดง เลขที่17 นายภัทรชนนท์ เทพวงศ์ษา เลขที่20 นางสาวปัญฑารีย์ จันทวงศ์ เลขที่22 นางสาวพชรมน อินคล้า เลขที่26 นางสาวธารัญญา พูลสวัสดิ์ เลขที่32 นาวสาวแก้วตา ขาญาติ เลขที่35 นางสาวณัชชา วิริยาลัย เลขที่37 เสนอ อาจารรุจิกร พิมพ์สอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
  • 2. โรงเรียนสุคนธีรวิทย์ คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 โดยมีจุดประสงค์เพื่อรายงานเรื่องวิวัฒนาการและการปรับตัวจา กสาหร่ายสู่พืช โดยรายงานเล่มนี้จะแสดงให้เห็นข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับพืชและสา หร่ายสีเขียวต้นกาเนิดและวิวัฒนาการ ผู้จัดทาคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทาเอกสารฉบับนี้จะมีข้อมู ลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในวิชาชีววิทยาเป็นอย่างดี สาหร่ายคืออะไร?
  • 3. - สาหร่าย(algae) เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถสังเคราะห์แสงได้ด้วยตนเอง พบในที่มีความชื้น แต่จะพบมากในน้า ทั้งน้าจืด น้าเค็มและน้ากร่อย แม้แต่ในสิ่งแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง เช่นในทะเลทราย น้าพุร้อน หรือกระทั่งในสถานที่ที่มีอุณหภูมิต่ามาก บริเวณขั้วโลกหรือในหิมะก็พบว่าสาหร่ายสามารถดารงชีวิตอยู่ไ ด้ สาหร่ายมีความหลากหลายตั้งแต่รูปร่างไปจนถึงขนาด มีทั้งขนาดที่มองโครงสร้างของเซลล์ไม่เห็นด้วยตาเปล่าต้องใช้ก ล้องจุลทรรศน์ซึ่งจัดเป็นสาหร่ายขนาดเล็ก(microalgae)สาหร่ ายขนาดเล็กมีทั้งพวกที่เป็นโปรแคริโอต คือไซยาโนแบคทีเรีย หรือชื่อเดิมคือสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน พืชคืออะไร - พืชเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์แบบยูคาริโอต เป็นพวกที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ และสร้างสารอินทรีย์จากสารอนินทรีย์ได้ พืชมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกลุ่มสาหร่ายสีเขียวเชื่อว่าวิวัฒนาก ารมาจากสาหร่ายสีเขียวเพื่อสามารถอาศัยบนบกได้พวกคาโรไ ฟซีน(Charophycean) หรือพวกคาโรไฟต์ (Charophyte) หรือสาหร่ายไฟ ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพืชมากที่สุด ซึ่งในอณาจักรของพืชจะประกอบไปด้วยพืชที่แท้จริง แบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ โดยยึดหลักของการที่มีหรือไม่มีระบบท่อลาเลียงเป็นเกณฑ์ - พวกที่ไม่มีระบบท่อลาเลียงจะเรียกว่า Bryophytes หรือพวก Non-vascular plants - ส่วนพวกที่มีท่อลาเลียงจะเรียกว่า Trachephytes หรือพวก Vascular plants จะประกอบด้วย Bryophytes ที่จัดเป็นพืชครึ่งบกครึ่งน้าที่เจริญจากสาหร่ายมาเป็นพืชบกพวก แรกจึงยังต้องอาศัยความชื้นในการสืบพันธุ์อยู่ alternation of generations ที่เป็นลักษณะของพืชบนบกจะเริ่มเห็นชัดในพืชกลุ่มนี้
  • 4. มีต้นสปอโรไฟต์และต้นแกมีโทไฟต์แยกกัน เช่น พวกมอส ลิเวอร์เวิร์ต และ ฮอร์นเวิร์ต จะพบอยู่ประมาณ 35,000 ชนิด ส่วน Tracheophytes จะได้แก่พืชที่มีท่อลาเลียงน้าและอาหาร จึงสามารถขึ้นมาอยู่บนบกได้ เป็นพืชที่มีราก ลาต้น และ ใบที่แท้จริง ส่วนการสืบพันธุ์มีทั้งที่อาศัย spore และเมล็ด แบ่งเป็น2กลุ่มคือพวก primitive vascular plants เป็นพืชที่ไม่มีเมล็ดและสืบพันธุ์โดยspore และกลุ่ม higher vascular plants เป็นพวกพืชมีเมล็ด ต้นกาเนิดของวิวัฒนาการจากสาหร่ายสู่พืช - จากหลักฐานทางวิวัฒนาการและการศึกษาเปรียบเทียบลาดับเบ สของ DNA จากคลอโรพลาสต์(Chloroplast) และนิวเคลียส(Nucleus) พบว่า พืชและสาหร่ายในกลุ่ม Charophyte มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันทางวิวัฒนาการ ประกอบกับการเรียงตัวของเซลลูโลสที่ผนังเซลล์ พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่เกิดมาแล้วไม่ต่ากว่า400ล้านปี ในยุคออโดวิเ ชียน (Ordovician) มีหลักฐานหลายอย่างที่ทาให้เชื่อว่าพืชมีวิวัฒนาการมาจากสาหร่ ายสีเขียว กลุ่ม Charophytes โดยมีการปรับตัวจากสภาพที่เคยอยู่ในน้าขึ้นมาอยู่บนบกด้วยกา รสร้างคุณสมบัติต่างๆที่เหมาะสมขึ้นมา เช่น มีการสร้างคิวติน(cutin)ขึ้นมาปลกคลุมผิวของลาต้นและใบเรีย กว่าคิวทิเคิล(cuticle)เพื่อปกกันการสูญเสียน้าและการเกิดsto mata เพื่อทาหน้าที่ระบายน้าและแลกเปลี่ยนก๊าซ ซึ่งจากหลักฐานทางวิวัฒนาการและการศึกษาเปรียบเทียบลาดับ เบสของDNAจากคลอโรพลาสต์(Chloroplast) และนิวเคลียส(Nucleus) แล้วพบว่า พืชและสาหร่ายในกลุ่ม(Charopyte)มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน ทางวิวัฒนาการ ประกอบกับมีการเรียงตัวของเซลล์เหมือนกัน มีสารสีที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ คลอโรฟิลล์ aและbรวมทั้งมีโครงสร้างที่ทาหน้าที่ป้ องกันเซลล์สืบพันธุ์และไ ซโกตที่คล้ายคลึงกับการป้ องกันเอ็มบริโอในพืช สาหร่าย (Algae)
  • 5. เซลล์สืบพันธุ์ - มีแบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศได้ ไม่อาศัยเพศ 1.แฟลกเมนเตชั่น(Fragmentation) เกิดการแตกหักของสาหร่ายเป็นท่อน 2.สปอร์รูเลชั่น(Sporulation) เกิดการสร้างสเปอร์ที่เคลื่อนที่ได้ อาศัยเพศ เกิดการผสมกันของแกมีต(Gamete) จนได้เป็นไซโกต(Zygote) การใช้ชีวิต - ความชื้นที่เหมาะสม การสังเคราะห์แสง - สังเคราะห์แสงได้/หาอาหารเองได้/ดูซับแร่ธาตุจากน้าทะเลสู้เซล ล์โดยตรง ที่อยู่อาศัย - อาศัยในน้า การลาเลียงอาหาร - ไม่มีระบบลาเลียงอาหาร ลักษณะโดยรวม - ไม่มีราก ลาต้น และใบที่แท้จริง พืช (Plant) เซลล์สืบพันธุ์ - มีเซลล์สืบพันธุ์คือแกมีแทนเจียม / มี Sporangium ไว้สร้างสปอร์ การใช้ชีวิต - ใช้ชีวิตแบบสลับ คือเป็น Sporophyte กับ gametophyte การสังเคราะห์แสง - สังเคราะห์แสงเองได้ ที่อยู่อาศัย - ส่วนใหญ่จะอาศัยบนบก การลาเลียงอาหาร - มีท่อลาเลียงหมด/ดูดแร่ธาตุผ่านทางราก ยกเว้นพวก Non-vascular plant ลักษณะโดยรวม - มีเนื้อเยื่อเจริญที่ปลาย คือ มีรากและลาต้น ยกเว้นพวก Bryophyta - มีการสร้างชั้นคิวติเคิล (Cuticle) เพื่อป้ องกันการสูญเสียน้า ข้อดีข้อเสียของสาหร่ายที่อยู่ในน้ากับบนบก ข้อดีในน้า - ได้รับความชุ่มชื่นตลอดเวลา ข้อเสียในน้า
  • 6. - การสังเคราะห์แสงที่ไม่มีประสิทธิภาพเท่าบนบก เนื่องจากความโปร่งแสงในน้านั้นแสงจะส่องมาในน้าได้ยากกว่า ข้อดีบนบก - สามารถสังเคราะห์แสงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อเสียบนบก - สภาพอากาศที่ร้อนขึ้น การเสียน้าเยอะขึ้น การปรับตัวด้านต่างๆของสาหร่ายเพื่อขึ้นมาอาศัยบนบกสู่การเป็นพืช - การคายน้า - ระบบหายใจ - ด้านการสืบพันธุ์ - การหาอาหาร การคายน้าของสาหร่ายที่ปรับตัวขึ้นบนบก - สาหร่าย - สาหร่ายต้องปรับตัวจากสภาพแวดล้อมที่ร้อนและแห้งมากขึ้นเนื่ องจากปราศจากการอาศัยน้าทาให้ต้องเสียน้า ต้องคายน้าจากความร้อนมากขึ้นเพื่อไม่ให้ตัวมันแห้งตายพืชจึง ปรับตัวบริเวณผิวชั้นนอกสุดเรียกว่า Epidermisชั้นนี้มีสารประกอบประเภทไขมันอยู่มาก มีคุณสมบัติ ไม่ยอมให้น้าผ่านเรียกชั้นนี้ว่า Cuticle มีความสาคัญมากต่อการสูญเสียน้า ซึ่งองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นไขมัน(wax)สามารถป้ องกันการเ ข้าออกของน้าได้เพราะมีคุณสมบัติเป็น Hydrophobic ระบบหายใจ - การปรับตัวทางด้านระบบหายใจก็เป็นส่วนสาคัญอีกอย่างในการ เอาตัวรอด โดยต้องเจอปัญหาอากาศร้อนแห้งดังนั้นพืชบกจึงมีลาต้นหนา และแข็งแรง มีอวัยวะหายใจทาหน้าที่นาก๊าซออกซิเจนจากอากาศไปให้พืชใช้ หายใจภายในต้นจะพบช่องว่างระหว่างเนื้อเยื่อเต็มไปด้วยอากา ศที่ให้ประโยชน์คือนาก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ใช้สังเคราะห์แส
  • 7. งและนาออกซิเจนไปใช้ในการหายใจ หรือแม้แต่ตอนสังเคราะห์แสงก็ยังได้ออกซิเจนมา ด้านการสืบพันธุ์ - การแพร่พันธุ์ที่หลากหลาย จะแพร่พันธุ์ด้วยตัวเองหรืออาศัยสัตว์เป็นตัวกลางและสายพันธุ์ ที่เห็นได้ชัดว่ามีความหลากหลายมากโดยพืชจะปรับสายพันธุ์ตา มสภาพแวดล้อมของตัวเอง การหาสารอาหาร - สาหร่าย สามารถสังเคราะห์แสงได้ด้วยต้นเอง - พืชสามารถทาการสังเคราะห์อาหารเองได้เมื่อขึ้นมาบนบกต้อง มีการปรับตัวหลายอย่าง ทาให้การสังเคราะห์แสง/ม่ได้เป็นแหล่งอาหารอย่างเดียวทาให้มี การปรับตัวเพิ่มเข้ามามีราก ลาต้น สร้างเนื้อเยื่อเพื่อลาเลียงอาหารดึงน้าและแร่ธาตุจากรากไปสู่ทั้ง ต้น อ้างอิง 1.จาก Michael D Guiry. (2012,Sep 20). HOW MANY SPECIES OF ALGAE ARE THERE?. National of library medicine. https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/27011267/ 2.จาก L.Naselli-Flores,R.Barone, (2009). Encyclopedia of Inland Waters https://www.sciencedirect.com/topics/earth-and- planetary-sciences/green-alga 3.จาก Hisayoshi Nozaki, (2003). Freshwater Algae of North America https://www.sciencedirect.com/topics/earth-and- planetary-sciences/green-alga 4.จากความหลากหลายทางชีวภาพ ม.6 โดยน.ส.พิไลวรรณ ภักดีเรือง และน.ส.วรรณนิภา หนูขวัญ (2014) https://sites.google.com/site/khwamhlakhlaythangchiwp haphm6/xanacakr-khxng-sing-mi-chiwit/xanacakr-phuch
  • 8. 5.จาก อาณาจักรพืช(Kingdom Plantae) โดย เจ้าของร้าน(2016)http://www.tinyworld2013.com/article 6 . จ า ก วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง พื ช โดยสถาบันและพัฒนาก ระบวนการเรียน มหาลัยมหิดล ( 2009) https: / / il. mahidol. ac. th/ e- media/ 150charles- darwin/Less7_2.html 7.จากสาหร่ายวิทยาphycology โดยสรฉัตร เทียมดาว (2016) https://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/1735zin9o02 N6FKFh3FF.pdf 8.จากอาณาจักรพืช โดยยุพา วรยศ http://old-book.ru.ac.th/e-book/b/BI115/bi115-13.pdf 9.จากอาณาจักรพืช โดยณัฐพงษ์ บุญปอง (2021) https: / / www. scimath. org/ lesson- biology/ item/ 11307- 2020-02-17-07-09-1 10.จาก Evolution โดย นันทวัน นันทวนิช และ ดร.ศศิวิมล แสวงผล https: / / il. mahidol. ac. th/ e- media/ 150charles- darwin/Less7_2.html 11.จาก พืชเปลี่ยนแปลงตัวเองอย่างไร จนมาถึงปัจจุบัน โดย admin@inc2010.org 2019 https://www.inc2010.org/%E0%B8%9E%E0%B8%B7% E0%B8%8A%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5 %E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%9 9%E0 12.จาก ในการเคลือบผลไม้ด้วยใบ – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดย น.ส.กุลธิดา เลาอโศก ,น.ส.จรีรัตน์ สาตราวาหะ, น.ส.วิไล นุชท่าโพ, น.ส.อรวรรณ ชัชวาลการพาณิชย์ และ น.ส.เอมอร ธีระวงษ์ไพโรจน์ file:///C:/Users/zolo/Downloads/HJ21020649c%20(1).pdf .