SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  121
Télécharger pour lire hors ligne
สถานการณ์พระพุทธศาสนา

พลิกหายนะ เปนพัฒนา
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

–-–
๐๐ กันยายน ๒๕๕๖
สถานการณพระพุทธศาสนา:
พลิกหายนะ เปนพัฒนา
©

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

ISBN 974-575-264-9

พิมพ์ครั้งแรก (ในระบบ MAC)

- มีนาคม ๒๕๓๖

- พุทธสมาคมแหงประเทศไทยฯ
สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยฯ
คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สภาผูแทนราษฎร กองทุนธรรมทาน

พิมพครั้งที่ ๔ (ในระบบ MAC - เพิ่มเติม) ทุนสงเสริมพุทธธรรม – ธันวาคม ๒๕๓๖
พิมพครั้งที่ ๖ (ในระบบ MAC) – วัดไทยกรุงวอชิงตันดีซี. สหรัฐอเมริกา มีนาคม ๒๕๓๘

พิมพครั้งที่ … (จัดปรับใหมในระบบ PC ขัดเกลา-เพิ่มเติม) – กันยายน ๒๕๕๖

๐,๐๐๐ เลม

- ธรรมทาน
ขอมูล: พระครูปลัดสุวัฒนพรหมคุณ (อินศร จินฺตาปญฺโญ) และคุณศรีมงคล วิเศษสุนทร
พิมพขอมูลตนเดิมในระบบ MAC, พ.ศ. ๒๕๓๘ (ตอมา ขอมูลสูญหาย)
คุณวีระ สันติบูรณ์
แปลงสูฐานขอมูลระบบ PC, พ.ศ. ๒๕๔๓-๙ (=ขอมูลใชงานครั้งปจจุบัน)

ปก: พระชัยยศ พุทฺธิวโร

ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็ นธรรมทาน
อนุโมทนา
สารบัญ
อนุโมทนา

ก

สถานการณ์พระพุทธศาสนา: พลิกหายนะเปนพัฒนา ๑
๑. วงใน-ชั้นใน: สภาพวัด และพระสงฆ

๒

วัดหลวงตา: เครื่องชี้สภาพที่มาถึงเรา
ภาวะขาดเณร: เกณฑบอกชะตาตอไป
สัญญาณเตือนภัย: ขาววาพระทําไมประพฤติเสียหาย
สภาพสังคมไทย ภาพสะทอน-เห็นอะไรจากขาวสาร
มองพระสงฆใหเปน ก็เห็นสภาพสังคมไทย
คิดดูใหดี พุทธศาสนานี้เปนของใคร
มัวแตดาวาเขา ไมรูวาเรานีแหละตัวสําคัญ

่
คนสรางสังคม สังคมสรางคน ถาไมตัดวงจร ไมแปรปจจัย
คนสรางสังคมไวอยางไร ก็ไดคนอยางนันมาสรางสังคมตอไป
้
ฉลาดเชิงกลไก แตไมพัฒนาปญญา
ทองไปทัวหลา แตปญญาอางวาง
่

ตองพัฒนาตัวกันทุกคน ไมมีใครหนีพนความรับผิดชอบ

๒
๔
๗
๘
๑๑
๑๓
๑๖

๒๕
๒๘

๒. วงใน-ชันนอก: สภาพพุทธศาสนิก
้

๓๒

ถาหลงใหลอยางเลื่อนลอย ก็จะหลนผล็อยจากพุทธศาสนา
ถายึดหลักไวได ก็ยังไมรวงหลุดไป


๓๒
๓๔

๑๙

ก
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)
จะสอนอยางไร ก็ตองใหเขาสูจุดเริ่ม ที่เขาจะกาวตอไปได
สอนเอาหลักเพื่อประโยชนแกเขา ไมใชสอนเอาแตใจของตัว
ไมใชสอนเอาใจเขา แตสอนนําเขาเขาหาหลัก
ถายังเอาความศักดิ์สิทธิ์ ก็ตองคิดใหทางเลือกที่ถกหลัก
ู
ไมใชเอาใจเขา แตเราทําอยางรูหลัก
และไมใชคิดจะเอาจากเขา แลวมอมเมาใหเขวจากหลัก
พัฒนาคนใหมีความสุขประณีตขึ้นไป
สังคมก็จะไดจริยธรรมที่มนคง
ั่
เมื่อเอาผลทางพลังจิตมาสนองดานกาม
พฤติกรรมก็ตองเกิดความวิปริต


๓. วงนอก-ชั้นใน: สภาพสังคมไทย

ค
๓๗
๓๙
๔๒
๔๕
๔๗
๔๘
๕๑

๕๔

ถาเอาอยางเขา เพื่ออวดโกแกพวกเราดวยกัน
ก็คือแสดงความดอย ใหเขาขําขัน
๕๔
ดวยการเปนผูตาม ก็ไดยอมรับความดอย
ดวยการมองความเจริญแบบนักบริโภค ก็รักษาความเปนผูตามไวได ๕๘
จะเอาอยางเขา หรือไมเอาอยาง ก็อยาไปสุดทางสองขาง
๖๑
จะเอาอยางเขาถูกตอง จนเปนผูนําเขาได
ตองมีการศึกษาที่ดี มานําทางไป
๖๒
เอาอยางดวยปญญา ถึงแมเลียนแบบก็ตองทําใหดีกวา
จึงจะมีคุณคา ใหเขายอมนับถือ
๖๕
ตามเปน เอาอยางเปน นับเขาไดในองคประกอบของการพัฒนา ๖๘
๗๒
ความผิดเพี้ยนในวัฒนธรรมไทย บทเรียนใหชวยกันแกไข

ง

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

ไมอยากก็พลาด แตพออยากก็ผิด
จะพัฒนาสัมฤทธิ์ ตองอยากใหเปน
จากรับ-ตาม สูความเปนผูนํา-ผูให
กาวยิ่งใหญททาทายความสําเร็จ
ี่

๗๗

๔. วงนอก-ชั้นนอก: สภาวการณของโลก

๘๑

เปดตาดูโลกกวาง จะไดแกปญหาและพัฒนาไมผิดทาง

มองดูคนที่เดินนําหนา อยาใหพาเราเดินหลงทาง
คนขางหนาติดตัน หันรีหันขวาง
เพราะเจอเหวดักหนา ตองหาทางกันใหม
ความกาวหนาที่แสนจะภูมใจ กลายเปนการหาภัยมาทําลายตัว
ิ
เมื่อรูวาทางตัน แมจะหันไปหาทางใหม
แตก็สูญเสียความหวัง ความมั่นใจก็หมดไป
เมื่อผูเดินนําหนาเกิดอาการหวั่นไหว
คนมีปญญาตองนําหาทางออกใหม
ตองหยังรูสาเหตุของปญหา จึงจะมองเห็นทางแกไข
่
เมื่อจับจุดปญหาไดแน ก็สืบสาวเพื่อแกใหตรงกับเหตุปจจัย
อารยธรรมถึงจุดหักเลี้ยว โลกหันหาทางเลือกใหม
ผูเคยเดินนํา ไมแนวาจะคลําหาทางไหว
ผูใดเห็นทาง ผูนั้นควรลุกขึ้นเดินนําไป

๘๑
๘๓

๑๐๕

สรุป

๑๑๐

บันทึกทายเลม

๗๕

๘๕
๘๙
๙๒
๙๕
๙๗
๙๙
๑๐๒

๑๑๔
สถานการณ์พระพุทธศาสนา

พลิกหายนะ เปนพัฒนา

*
หนึ่ง

เรื่องสถานการณและสภาวการณพระพุทธศาสนานี้ เรามีวิธีพูดได
หลายอย า ง อาจจะแบ ง เป น ส ว นๆ ตามกลุ ม ของพุ ท ธบริ ษั ท เพราะ
สถานการณพระพุทธศาสนาในปจจุบันนี้ ถามองในวงของความรับผิดชอบ
เจาตัวผูรับผิดชอบ ก็คือพุทธบริษัท เพราะฉะนั้น จึงจะตองพูดโดยจับเอา
พุทธบริษัทเปนหลัก หรือเปนแกนกลาง
พุทธบริษัทมี ๒ ฝาย คือ ฝายบรรพชิต กับฝายคฤหัสถ หรือฝาย
พระสงฆ กับฝายญาติโยม เมื่อแบงอยางนี้แลว ก็พูดไปตามลําดับ เริ่ม
ตั้งแตพุทธบริษัทฝายบรรพชิต คือฝายพระสงฆกอน เพราะถือวาเปนจุด
ศูนยกลาง หรือเปนวงในของพระพุทธศาสนา ไดรับการคาดหวังวาจะเปน
ผูที่สืบตออายุพระพุทธศาสนา
ส ว นพุ ท ธบริ ษั ท ฝ า ยคฤหั ส ถ นั้ น ถึ ง จะมี ห น า ที่ รั บ ผิ ด ชอบอย า ง
เดียวกัน เพราะพระพุทธเจาไดฝากพระพุทธศาสนาไวกับพุทธบริษัททั้ง ๔
ถือวาพุทธบริษัททั้ง ๔ มีความรับผิดชอบตอพระพุทธศาสนาดวยกัน แต
เวลาเรามองกันโดยทั่วไป ก็มักจะมองวาพระสงฆเปนผูรับผิดชอบที่แทจริง
แม ว า การมองอย า งนี้ บ างที จ ะทํ า ให เ กิ ด อั น ตราย คื อ ทํ า ให เ กิ ด ความ
คลาดเคลื่อนในการปฏิบัติหนาที่ของพุทธศาสนิกชน แตอยางไรก็ตาม ก็
จะมองตามความเขาใจของคนทั่วไปกอน
เอาเป น ว า เราแบ ง พุ ท ธบริ ษั ท เป น ๒ ฝ า ย และเริ่ ม จากฝ า ย
บรรพชิต หรือฝายพระสงฆกอน
* ปาฐกถาธรรม เรื่อง “สถานการณพระพุทธศาสนาในปจจุบัน” ในการสัมมนาเรื่อง ปญหา
และแนวทางการปรับปรุงการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียน จัดโดย ศูนยสงเสริม
พระพุทธศาสนาแหงประเทศไทย ณ หอประชุมพุทธมณฑล ๒๒ มกราคม ๒๕๓๖
หนึ่ง
-๑-

วงใน - ชั้นใน

สภาพวัด และพระสงฆ
วัดหลวงตา: เครื่องชี้สภาพที่มาถึงเรา
ในดานสถาบันพระสงฆนั้น ปจจุบันนี้ ชาวพุทธทั่วไปเปน
หวงกันมาก เวลาพูดถึงสภาวการณของพระพุทธศาสนาในฝาย
พระสงฆ ก็ จ ะปรารภร อ งทุ ก ข โ อดครวญกั น ในเรื่ อ งความเสื่ อ ม
โทรมตางๆ
ไมตองดูอะไรมากหรอก วัดในประเทศไทยเรานี้ มีทั้งหมด ๓
หมื่นกวาวัด ลองมองเขาไปดูสภาพในวัด
เริ่มตั้งแตพระสงฆที่เปนเจาอาวาส เมื่อสัก ๑๐-๒๐ ปกอนนี้
วัดสามหมื่นกวาวัดนี้ ไมมีเจาอาวาส วางเจาอาวาสอยูประมาณ
๔,๐๐๐ วัด มาปจจุบันนี้ แทนที่ตัวเลขจะเบาลง แทนที่พระสงฆ
หรือเจาอาวาสจะมากขึ้น สถิติกลับเปนไปในทางที่นาวิตกยิ่งขึ้น
เจาหนาที่กรมการศาสนาใหตัวเลขวา เวลานี้วัด ๓ หมื่นกวา
วัดนั้น วางเจาอาวาสใกลหมื่นวัดเขาไปแลว หมายความวา ไมมี
พระที่มีคุณสมบัติพอที่จะเปนเจาอาวาสได
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๓

เจาอาวาสนั้น ตองมีพรรษา ๕ ขึ้นไป แลวก็มีคุณสมบัติคือ
วุฒิทางดานการศึกษาบาง แตปจจุบันนี้ วัดไมมีพระที่มีคุณสมบัติ
ที่จะเปนเจาอาวาส ไดแครักษาการอยูตั้งเกือบหมื่นวัด หมื่นวัดนี่ก็
หนึ่งในสาม วัดของเราไมมีเจาอาวาสมากมาย
ขอใหพิจารณาดู เมื่อไมมีเจาอาวาส ความรับผิดชอบตอวัด
และการที่จะทําใหวัดเดินเขาไปสูความกาวหนา ก็ไมหนักแนน ไม
เต็มที่ แครักษาการก็มีความรับผิดชอบไมสมบูรณ นอกจากนั้นก็
บงชี้ถึงสภาพที่ขาดคุณสมบัติ ไมมีภาวะที่จะเปนผูนําได
ในเมื่อไมมีพระสงฆที่จะเปนผูนํา ที่จะเปนเจาอาวาสได ก็จะ
เกิดมีสภาพที่ ๒ ตามมา
ในชวง ๕-๖ ปที่แลวมา จนถึงปจจุบันนี้ มีการปรารภกันใน
หมูพระสงฆระดับบริหาร ซึ่งอาจจะเปนการพูดทํานองขําๆ สนุกๆ
แตก็แฝงความนาเปนหวงอยูดวย คือการที่ทานพูดกันวา เวลานี้ใน
ประเทศไทย ไดมีวัดหลวงเพิ่มขึ้นอีกประเภทหนึ่ง
วัดหลวงนี่ เราก็เคยไดยินไดฟงรูกันอยูแลววา ศัพททางการ
เรียกวา “พระอารามหลวง” มีชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก แตเวลานี้ทาน
บอกวามีวัดหลวงเพิ่มขึ้นอีกประเภทหนึ่ง แลวก็ใหคิดกันดู ลองฟง
คําเฉลยนะ วัดหลวงที่เพิ่มขึ้นอีกประเภทหนึ่งนั้นคือ “วัดหลวงตา”
วัดหลวงตานั้น เวลานี้มีมาก ที่เปนอยางนั้นก็เพราะวา ไมมี
พระที่มีคุณสมบัติจะเปนเจาอาวาส ก็เลยมีแตหลวงตาเฝาวัด
“หลวงตา” ก็คือพระที่บวชเมื่อแก บางทีก็มุงมาหาความสงบ
เลิกทํางานทําการ ก็เขามาบวช อยางนี้ก็เปนประเภทที่นับวาดี แตอีก
ประเภทหนึ่งก็คือ ผูที่ไมมีทางไป ไปไมไหวแลว หมดทางทํามาหา
เลี้ยงชีพ ก็เขามาอาศัยวัดเปนที่เลี้ยงชีพ โดยมาบวชเปนหลวงตา
๔

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

เราไปตางจังหวัด หรือแมแตในกรุงเทพฯ ปจจุบันนี้ พบพระ
ที่ สู ง อายุ แล ว เข า ไปถามดู ว า พรรษาเท า ไร จะเห็ น สภาพความ
เปนไปของวงการคณะสงฆ
สมัยกอนนี้ พระที่มีอายุมากๆ ก็จะมีพรรษามาก อายุเจ็ดสิบ
ก็ อ าจจะพรรษา ๔๐-๕๐ แต ป จ จุ บั น นี้ ไปถามดู พระอายุ ๗๐
พรรษาเทาไร หนึ่งพรรษา สองพรรษา สามพรรษา
อันนี้คือสภาพการณที่นาเปนหวง ทานเหลานี้มาบวชเมื่อแก
สําหรับทานที่มาบวชหาเลี้ยงชีพแบบไมมีทางไป ก็ไมตั้งใจที่จะ
ศึกษาและปฏิบัติ และอาจจะทําการหาเงินทอง หลอกลวงทํา
ความเสียหาย
ส ว นท า นที่ ม าบวชหาความสงบ ถึ ง แม จ ะตั้ ง ใจเล า เรี ย น
ศึกษาปฏิบัติ วัยก็ไมให ไมมีความแข็งแรง สมองก็เสื่อมโทรมลง
เวลาในชีวิตที่จะทํางานใหพระศาสนา ก็เหลือนอย นอยองคที่จะมี
ความสามารถพิเศษ ซึ่งก็นายกยอ ง ทานที่ตั้งใจเลาเรียนและมี
ความสามารถจริงๆ ก็เปนอีกเรื่องหนึ่ง เราก็ตองยกให
นี่ดานหนึ่ง คือดานพระที่สูงอายุ ก็เปนอันวา จะมีพระหลวง
ตาที่มีพรรษานอยๆ นี้มากมาย

ภาวะขาดเณร: เกณฑบอกชะตาตอไป
อีกดานหนึ่งก็ลงมาถึง เณร คือ สามเณร ซึ่งตรงกันขามกับ
หลวงตาโดยวัย
“เณร” นี้เ ปนสวนสําคั ญของพระพุ ทธศาสนา เปนศาสนทายาท เปนผู ที่บวชเข ามาแลว มีโอกาสเลาเรียนมาก และสว น
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๕

ใหญจะไดเลาเรียนพระธรรมวินัย เพราะวัยอยูในระยะเวลาที่จะ
เลาเรียนศึกษา ชวงเวลาของการที่จะเลาเรียนไดก็เต็มที่ หลังจาก
เรียนแลว ก็มีเวลาอีกมากที่จะทํางานใหพระศาสนาตอไป
แตปจจุ บันนี้ เราหาเณรไดยาก สําหรับในภาคกลางนี้ห า
เณรไดยากอยางยิ่ง โดยเฉพาะในเมือง แทบจะไมมีเด็กบวชเลย
จนกระทั่งเราตองใชวิธีจัด บวชสามเณรภาคฤดูรอน
อันนี้เปนทางออกอยางหนึ่ง ซึ่งแมจะแกไขปญหาที่แทจริง
ไมได แตก็ยังเปนตัวผอนเบาวา ใหเด็กและเยาวชนไดมีโอกาสรูจัก
พระศาสนาบาง แตเราจะหวังใหเณรเหลานี้มาเปนผูที่รับผิดชอบ
ดูแลการพระศาสนาตอไป ยอมเปนไปไดยาก
เราอาจจะหวังวา เมื่อมีเณรบวชภาคฤดูรอนมากๆ บางสวน
อาจจะเปนหนึ่งในสิบหรือหนึ่งในรอย ที่มีศรัทธาแรงกลาอยากจะ
ศึกษาเลาเรียนพระธรรมวินัย อยูในพระศาสนา อยูในวัดตอไป (ซึ่ง
ก็มีอยูจริงดวย) แตนี่ก็เปนเรื่องของการหาทางผอนคลายปญหา
ปญหาที่แทจริงก็คือ ไมมีเด็กจะมาบวชเณร เพราะรัฐขยาย
การศึกษาตั้งโรงเรียนออกไปในถิ่นไกลๆ ไดมากขึ้น วัดไมตองเปน
ช อ งทางช ว ยผ อ นเบาป ญ หาความไม เ สมอภาคแห ง โอกาสใน
การศึกษาของรัฐ(โดยไมตั้งใจ)มากเหมือนในชวง ๒๐-๑๐๐ ปกอน
และการศึ ก ษาของวั ด ในสภาพป จ จุ บั น ก็ ไ ม จู ง ใจเด็ ก ให เ ข า มา
เรียน หรือจูงใจพอแมใหสงลูกเขามาเรียน เด็กก็ไปเขาเรียนตอใน
โรงเรียนของรัฐ
ยิ่งกวานั้น เวลานี้เด็กออกโรงเรียนโตขึ้นกวาเกา ก็ไปเขา
ตลาดแรงงานเด็กเสียมาก ในสวนเมืองและในถิ่นใดที่ยิ่งมีความ
เจริญมากขึ้น ก็ยิ่งหาเด็กมาบวชเณรไดยากขึ้น
๖

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

เพราะฉะนั้น ก็จะไมมีผูที่จะดํารงพระศาสนา ที่เราเรียกวา
เปนศาสนทายาทตอไป อันนี้ก็เปนปญหาที่นาเปนหวงในระยะยาว
เมื่ อ ๒๐-๒๕ ป ที่ แ ล ว มา ครั้ ง ที่ ส ามเณรยั ง มี จํ า นวนมาก
และเริ่มเขาสูหัวตอแหงความเปลี่ยนแปลงของจํานวนสามเณรที่
อยูวัดเลาเรียนพระธรรมวินัย ในภาคกลาง มีสามเณรในอัตราสวน
ประมาณ ๑ รูป ตอพระภิกษุ ๖-๗ รูป ในภาคใต สามเณร ๑ รูป
ตอพระภิกษุ ประมาณ ๒-๓ รูป ในภาคอีสาน สามเณร ๑ รูป ตอ
พระภิกษุจํานวนเทาๆ กัน คือ ๑ รูป หรือเณรมากกวาพระเล็กนอย
และในภาคเหนื อ สามเณรประมาณ ๒ รู ป ต อ พระภิ ก ษุ ๑ รู ป
(ตัวเลขนี้ วาตามที่นึกๆ ไดจากความจํา อยาเพิ่งถือเอาเปน
แนนอนทีเดียว เมื่อมีเวลาจะตรวจสอบหลักฐานอีกที)
ตอจากนั้น อัตราสวนของสามเณรที่อ ยูเลาเรียนมีนอยลง
เรื่อยๆ จากภาคกลางที่ลดลงกอน ภาคอื่นๆ ก็พลอยเปนไปดวย
จนปจจุบัน แมแตภาคอีสาน และภาคเหนือ ก็หาเด็กบวชเณรยาก
ในภาคเหนือที่เคยมีเณรในอัตราสวนสูงสุด คือมากกวาพระราว ๒
ตอ ๑ เวลานี้ก็แทบไมมีเด็กบวชเณร หาเณรเรียน หาเณรใชยาก
เมื่อเณรลดนอยลงนั้น ก็หมดไปจากในกรุง ในเมือ ง ภาค
กลาง และจากถิ่นเจริญกอน
ดังนั้น ตั้งแตรัฐเริ่มจัดการศึกษาแบบตะวันตกในศตวรรษที่
แล ว มา ที่ ใ ดการศึ ก ษาของรั ฐ ไปไม ถึ ง เด็ ก ก็ ม าบวชเณรเรี ย น
หนังสือ เณรในกรุงเทพฯ เปนผูที่มาจากตางจังหวัด ตอมา เณรใน
เมืองใหญแตละเมือง ก็เปนผูที่มาจากถิ่นหางไกลนอกเมือง จนมา
ระยะเมื่อเร็วๆ นี้ เณรในโรงเรียนปริยัติธรรมที่อยูในวัดภาคกลาง ก็
มาจากภาคอีสาน และภาคเหนือ
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๗

ครั้นถึงขณะนี้ เมื่อเณรกําลังจะหมดไปจากภาคเหนือ เณรที่
อยูในวัดภาคเหนือ ก็กําลังกลายเปนเด็กที่มาจากถิ่นหางไกลใน
ตางแดนที่ไกลความเจริญ โดยเฉพาะที่เดนขณะนี้ ก็คือเณรจาก
สิบสองปนนา ที่เขามาแสวงหาชองทางแหงความเจริญกาวหนา
(ลองนึกถึงจิตใจของโรบินฮูดไทยในอเมริกา)
ยิ่ง มาถึง ปจ จุบั น นี้ ทางการไดมี นโยบายที่ มุง มั่น จะขยาย
การศึกษาที่เคยเรียกวาภาคบังคับเดิมออกไป ตามโครงการขยาย
โอกาสทางการศึ ก ษา โดยขยายชั้ น ประถมขึ้ น ไปอี ก ๓ ชั้ น ถึ ง
มัธยม ๓ หรืออาจจะเรียกวาประถมปที่เกา ก็ทําใหเด็กตองอยูใน
โรงเรียนยาวนานมากขึ้น ถาไมมีนโยบายทางการคณะสงฆมารับ
กันใหพอเหมาะพอเจาะ ก็จะทําใหยิ่งขาดแคลนเณรที่จะมาบวช
และขาดแคลนศาสนทายาทยิ่งขึ้น
อั น นี้ เ ป น ป ญ หาระยะยาว ที่ จ ะต อ งมาคิ ด กั น ว า การพระ
ศาสนาขางหนาจะเปนอยางไร

สัญญาณเตือนภัย: ขาววาพระทําไมประพฤติเสียหาย
เมื่อมองดูที่ตัวพระสงฆแลว อีกดานหนึ่งก็มองไปที่ภาพของ
พระสงฆที่ปรากฏในสังคม
เวลานี้ เราไดยินขาวรายเกี่ยวกับความเสียหายของพระสงฆ
มากมาย
ในชวง ๓-๔ ปนี้ มีขาวตอเนื่องกันมาไมขาดสาย ขึ้นพาดหัว
หนังสือพิมพเรื่อย พระสงฆมีปญหาความประพฤติเสียหายทาง
เพศบาง ทางเรื่องความโหดรายฆากันบาง เปนปญหาที่ทําใหเกิด
๘

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

ความเปนหวงในหมูพุทธศาสนิกชน พรอมทั้งสรางภาพที่ไมดีไมงาม
แกสังคม ทําใหภาพลักษณหรือภาพพจนของพระสงฆเสื่อมเสียไป
มาก ซึ่งหมายถึงสถานะในความเคารพนับถือศรัทธาตางๆ ดวย
ไมตองบนไมตองเลาใหยืดยาวมากมาย แมแตเมื่อวานนี้ ก็มี
ข า วอี ก คื อ เรื่ อ งที่ ว า มี พ ระจิ ต วิ ป ริ ต ไปข ม ขื น ศพ เป น ข า ว
หนังสือพิมพที่เพิ่มเขามาอีกระลอก แตอยางไรก็ตาม อีกดานหนึ่ง
เมื่อมองไป ก็เปนเรื่องที่ตองพิจารณาดวยวา สื่อมวลชนนั้นมีความ
เที่ยงตรง แลวก็มีความรับผิดชอบในการเสนอขาวแคไหน
อยางขาวที่วามีพระจิตวิปริตไปขมขืนศพนั้น เชานี้ก็มีญาติ
โยมมาที่ วั ด พู ด ถึ ง เรื่ อ งนี้ แ ล ว ก็ วิ จ ารณ ว า ผู ที่ อ า นเนื้ อ หาคํ า
บรรยายขาวที่เขาเสนอนั้น ถาใชปญญาพิจารณาก็จะเห็นวา มัน
เป น เรื่ อ งที่ ไ ม อ าจจะเป น ไปได อ ย า งนั้ น อาจจะมี แ ง มุ ม ที่
คลาดเคลื่อนไป เชนอาจจะเปนการลองไสยศาสตรอะไรสักอยาง
หนึ่ ง ซึ่ ง เหตุ ก ารณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะต อ งไม เ หมื อ น หรื อ ไม ต รงกั บ คํ า
บรรยายขาวนั้น
อันนี้ก็เปนเรื่องของความเปนไปในการพระศาสนาที่อยูใน
สังคมไทย และภาพที่เกิดขึ้น

สภาพสังคมไทย ภาพสะทอน-เห็นอะไรจากขาวสาร
จะอยางไรก็ตาม ขาวสารที่ออกมาอยางนี้ ก็เปนเครื่องแสดง
ถึงสภาพ ๓ ดาน ที่เราจะตองพิจารณา คือ
๑. สภาพการคณะสงฆ และการพระศาสนา
๒. สภาพของสื่อมวลชน
๓. สภาพของประชาชน ผูรับฟงขาวสาร
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๙

ทั้ง สามด านนี่ สัม พั นธ กัน ทั้ งหมด สําหรั บในแง ข องสภาพ
คณะสงฆ ข า วนั้ น จะจริ ง หรื อ ไม จ ริ ง หรื อ จะมี ส ว นจริ ง แค ไ หน
อยางไรก็ตาม ก็ตองมีเคาอยู เมื่อมีเคาอยู ก็แสดงถึงสภาพความ
เสื่อมโทรมโดยทั่วไป
ทีนี้ ในแงของการเสนอขาว ในยุคขาวสารขอมูลนี้ ลักษณะ
ของขาวสารก็ขึ้นกับสภาพสังคมดวย
ในสังคมไทยปจจุบันนี้ เราจะเห็นวา ขาวรายไดรับการ
เผยแพรกันมาก แตขาวดีไมคอยไดรับการเผยแพร อันนี้ก็เปนเรื่อง
หนึ่งที่สอแสดงถึงความเปนไปของสังคมวา การเขาสูยุคขาวสาร
ขอ มู ล ของเรานั้น ดํ า เนิ น ไปด วยดี ห รื อ ไม เ พี ย งใด และสถาบั น ที่
รับผิดชอบในการเสนอขาวสาร ที่เรียกวาสื่อมวลชนนั้น มีความ
รับผิดชอบตอสังคมแคไหน
ขาวความสําเร็จในการประดิษฐคิดคน หรือความสําเร็จทาง
ป ญ ญาอย า งใดอย า งหนึ่ ง ที่ เ ป น ความก า วหน า ใหม ซึ่ ง จะเป น
เครื่องกระตุนและสงเสริมแนวโนมและพลังที่ดีงาม พรอมทั้งเปน
เกียรติแกประเทศชาติ และเปนการรวมสรางสรรคอารยธรรมของ
มนุษยชาติ และขาวการเสียสละพากเพียรบําเพ็ญคุณความดีอัน
ยิ่งใหญ หรือกอประโยชนสุขแกมหาชน แทนที่จะขึ้นพาดหัวขาว
หนาหนึ่ง กลับไปซุกซอนอยูในคอลัมนเล็กๆ ขางใน ที่แทบไมมีใคร
มองเห็น
แตหนาแรกที่สําคัญนั้น กลับเปนที่ชุมนุมของขาวการฆาฟน
สังหาร และอาชญากรรมเฉพาะราย ที่ทําจิตใจและปญญาให
อับเฉามืดมัว
๑๐

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

ตอจากนั้น ประการที่สามก็คือ ตัวประชาชนผูรับฟงขาวสาร
ซึ่งมีปญหาวา มีการใชปญญาหรือวิจารณญาณไตรตรองหรือไม
หรือเพียงแตตื่นเตนตามกันไป แลวก็เปนเหยื่อของขาวที่หละหลวม
คลุ ม เครื อ หรื อ การโฆษณา ไม ส ามารถจะทั น ต อ ความเป น ไปที่
สําคัญและเปนสาระ หรือรูเทาทันตอขาวสารที่ถูกนําเสนอ แลวก็ไม
สามารถจะถือเอาประโยชนที่แทจริงจากขาวสารเหลานั้นได
คนที่อานขาวตื่นเตนรายแรงหนาหนึ่ง นอยคนจะรูจักอานให
ไดคติ หรือไดแรงกระตุนเราในการที่จะคิดแกไขปญหา หรือแมแต
ที่จะใหเกิดความไมประมาท
หนังสือพิมพลงขาวพระภิกษุอายุ ๗๐ ป หรือแมกระทั่ง ๘๐
ป ประกอบกรรมชั่ว ผูอานซึ่งขาดความตระหนักรูตอสภาพสังคม
ของตน มองภาพเปนพระภิกษุที่บวชมานาน คิดวา ทําไมพระที่อยู
ในพระศาสนามาถึงเพียงนี้ ยังมีกิเลสชั่วรายนักหนา
ผูอานหารูไมวา บุคคลผูนั้น ก็คือชาวบานแกเฒาผูอาศัย
ชองวาง ขณะที่วัดในชนบทมากมายกําลังจะกลายเปนวัดราง และ
ขณะที่สังคมทั่วไปไมใสใจดูแลสมบัติของตน เขาก็แฝงตัวผานเขา
สูชองทางการบวชที่หละหลวม บวชเขามาเปนพระแกพระหลวงตา
เพื่อจะทําการที่ตนปรารถนาไดโดยสะดวก
ด า นผู อ า น ก็ ข าดความรู ค วามเข า ใจต อ สภาพวั ด และ
พระสงฆในปจจุบันที่จะวิเคราะหความจริง ดานสื่อมวลชน ก็เสนอ
ขาวโดยไมใหขอมูลเพียงพอที่จะใหเกิดปญญา
นี้ ก็ เ ป น เรื่ อ งของข า วความเสี ย หาย นอกจากข า วความ
เสียหายแบบนี้แลว ก็มีอีกดานหนึ่งคือ เรื่องที่ประชาชนวิจารณกัน
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๑๑

ในแงวา พระแขงกันทํากิจกรรมในแงหาเงินหาทอง มุงแตจะหาเงิน
หาทองกันเหลือเกิน และทําดวยวิธีการตางๆ
แลวก็อวดกันในเรื่องสิ่งกอสราง เชนการสรางพระที่ใหญ
ที่สุดในโลกบาง ใหญที่สุดในประเทศไทยบาง อะไรทํานองนี้ โดย
ไมคํานึงถึงประโยชนในการใชสอย หรือประโยชนตอพระศาสนา
ระยะยาว ไมอางอิงไปถึงเหตุถึงผลวา วัตถุนั้น การสรางนั้นจะชวย
นําคนใหรูเขาใจธรรม ใหประพฤติดีมีศีลมีธรรมอยางไรๆ

มองพระสงฆใหเปน
ก็เห็นสภาพสังคมไทย
ที่วามานี้ก็เปนเรื่องที่เราไดยินไดฟง และบางทานไดวิพากษ
วิ จ ารณ กั น แต ข อ สํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ก็ คื อ การวางท า ที ต อ ความ
เปนไปเหลานี้ พรอมทั้งในฐานะที่เปนครูอาจารย สิ่งสําคัญก็คือ
การสอนใหนกเรียนหรือคนที่เราเกี่ยวของ รูจักวางทาทีที่ถูกตอง
ั
ทาทีอยางไร เปนทาทีที่ถูกตอง แงที่หนึ่ง คือการใชปญญา
รู จั ก พิ จ ารณา และมี ค วามรู เ ท า ทั น ต อ เรื่ อ งราวความเป น ไปที่
เกิดขึ้น แลวก็มองใหไดประโยชน
ไมใชมองแตเพียงวา เปนขาวตื่นเตน แลวก็รองทุกข โอดครวญ
หรือไดแตวิพากษวิจารณ แลวก็มีความรูสึกไมดีเกิดขึ้นในทํานองวา
พระสงฆทําไมเสื่อมโทรมอยางนี้ ไมนานับถือ เลิกนับถือดีกวา
บ า ง ที ไ ม นั บ ถื อ พ ร ะ ส ง ฆ แ ล ว พ า ล จ ะ ไ ม นั บ ถื อ
พระพุทธศาสนาอีกดวย อันนี้เปนเรื่องที่อันตราย ซึ่งเกิดจากการ
วางทาทีไมถูกตอง และขาดปญญา
๑๒

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

ประการที่หนึ่ง มองโดยภาพรวมกอน ในแงที่ขาวเหลานี้เปน
เรื่องของความเปนไปในสังคมไทย
ถามองในแงนี้ ขาวคราวเหลานี้ นอกจากเปนเครื่องบงชี้ถึง
สภาพความเสื่อมโทรมในวงการพระศาสนา หรือในหมูพระสงฆ
แลว ในฐานะที่พระสงฆนั้นเปนสถาบันที่สําคัญในสังคมไทย มันก็
เปนเครื่องชี้บงถึงสภาพความเปนไปของสังคมไทยดวย
เราถือกันวา พระสงฆเปนสถาบันทางจริยธรรม เปนสถาบัน
ของผูนําทางดานจิตใจของสังคมนี้ เราอาจพูดไดวา โดยทั่วไปใน
สังคมไทยนี้ พระสงฆเปนบุคคลที่ถือไดวามีศีลธรรมและจริยธรรม
มากที่สุด
จากเกณฑมาตรฐาน หรือพื้นความเขาใจอยางนี้ เมื่อเรา
มองสังคมไทย ก็จะไดขอคิดตอไปวา ออนี่ ขนาดบุคคลที่ถือวาเปน
แบบอยางทางศีลธรรม และเปนผูนําทางจิตใจของสังคมไทย ก็ยัง
มีความเสื่อมโทรมขนาดนี้ แลวสังคมไทยสวนรวมทั่วๆ ไป จะเลว
ทรามขนาดไหน
ถามองในแงนี้ เราก็จะไดขอเตือนใจใหระลึกวา ถาหากวา
พระสงฆของเราเสื่อมขนาดนี้แลว สังคมไทยสวนรวมจะยิ่งเสื่อม
โทรมกวานั้นอีกมากมาย
แลวขอใหทานพิจารณาดูสภาพทั่วไปของสังคมของเราวา
คําที่วานี้จริงหรือไม
ฉะนั้น เราจะตองวางทาทีที่ถือวา สภาพของคณะสงฆนี้เปน
เครื่องบงชี้ถึงสภาพของสังคมไทย ซึ่งเตือนใหเรารีบตื่นตัวขึ้นมา
แลวแกไขปรับปรุงสังคม
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๑๓

เมื่อไดเห็นไดยินขาวเสียหายเหลานี้ในวงการพระสงฆ เรา
จะตองรูตระหนักวา มันไมใชปญหาเฉพาะของพระสงฆเทานั้น แต
นี่คือปญหาของสังคมไทยทั้งหมด ซึ่งเปนสัญญาณเตือนภัยใหรูวา
เวลานี้ แมแตสวนที่ละเอียดออนที่สุด สวนที่ถือวาดีที่สุดของเรา
ยังเลวทรามขนาดนี้ แลวสังคมไทยสวนรวมจะเลวทรามเสื่อมโทรม
ขนาดไหนแล ว เราจะนิ่ ง นอนใจอยู ไ ม ไ ด จะต อ งรี บ ลุ ก ขึ้ น มา
ชวยกันปรับปรุงแกไข
แล ว อั น นี้ ก็ จ ะเป น สํ า นึ ก ที่ เ ป น ประโยชน ช ว ยนํ า ไปสู ก าร
แกไขปญหา ไมใชเปนเพียงการมาตอวาดาทอหรือปรับทุกขกัน
แลวก็จบไป ไมไดอะไรขึ้นมา
ถาเราคิดพิจารณาโดยใชปญญาอยางนี้ ก็จะเปนประโยชน
โดยเห็นทางที่จะใชสถานการณเหลานี้ใหเกิดคุณคาขึ้นมา คือทํา
ใหมีการแกไขปรับปรุงพัฒนาสังคมโดยสวนรวม รวมทั้งการแกไข
ปรับปรุงการพระศาสนาดวย

คิดดูใหดี พุทธศาสนานี้เปนของใคร
ตอแตนั้นก็มองถึงหนาที่รับผิดชอบ ที่ใกลตัวเขามาอีก คือใน
หมูพุทธศาสนิกชนเอง โดยเฉพาะในฝายคฤหัสถ เมื่อมีภาพความ
เป น ไปในแง ค วามเสื่ อ มโทรมของพระสงฆ เ กิ ด ขึ้ น อย า งนี้ พุ ท ธ
บริษัทฝายคฤหัสถควรมีทาทีของจิตใจอยางไร
ในฐานะที่เปนพุทธบริษัท มีหนาที่รับผิดชอบตอพระศาสนา
พุทธศาสนิกชนทุกคน ไมวาพระหรือคฤหัสถ ทุกคนมีสวนรวมเปน
เจาของพระพุทธศาสนารวมกัน จะตองสรางจิตสํานึกในความเปน
๑๔

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

เจาของของพระศาสนาใหเกิดขึ้น จะตองมีความรูสึกในการมีสวน
รวมวา นี้เปนพุทธศาสนาของเรา เรามีสวนรวมรับผิดชอบในพุทธ
ศาสนานี้ ไมใชมองอยางคนนอก
ขณะนี้เราเปนพุทธศาสนิกชน เราสังกัดอยูในพุทธบริษัท ๔
เราเปนผูมีสวนรวมรับผิดชอบเปนเจาของพระศาสนาดวย เมื่อมี
เหตุการณที่ไมดีเกิดขึ้น เราตองมองในฐานะผูเปนเจาของ และ
ผูรับผิดชอบ ไมใชมองอยางคนนอก
เมื่อมองอยางเปนเจาของแลว เราจะเห็นวาพระพุทธศาสนา
เปนของของเรา หรือเปนทรัพยสมบัติของเรา
ถาเรามองวาพระพุทธศาสนาเปนสมบัติที่มีคาของเรา ใน
เวลาที่มีคนหรือพระก็ตาม ทําความเสียหายตอพระพุทธศาสนา
เราจะเกิดความรูสึกวา สมบัติที่มีคาของเรากําลังจะถูกทําลาย
เมื่อสมบัติที่มีคาของเราจะถูกทําลาย หนาที่ของเราคืออะไร ก็คือ
การที่จะตองลุกขึ้นมาชวยกันแกไขปองกัน
ถ า พระที่ ไ ม ดี เ หล า นั้ น มาทํ า เสี ย หาย ก็ คื อ มาทํ า ความ
เสี ย หายต อ ศาสนา เมื่ อ พระเหล า นั้ น ทํ า ความเสี ย หายต อ พระ
ศาสนา ก็คือเปนคนที่เขามาทําลายสมบัติของเรา ถามองในแง
หนึ่งก็คือ เปนโจรหรือเปนผูราย ไมวาจะเปนใครก็ตาม เมื่อเขามา
ทําลายสมบัติอันมีคานี้ ก็เปนโจรหรือเปนผูราย
เมื่อเขาเปนโจรหรือเปนผูราย เราในฐานะเปนเจาของหรือมี
ส ว นร ว มเป น เจ า ของด ว ย เราจะทํ า อย า งไร เราก็ ต อ งช ว ยกั น
ปองกันแกไขไลโจรออกไป ไมใชยกสมบัติใหแกโจร
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๑๕

ทาทีของพุทธศาสนิกชนในเวลานี้ สวนมากเปนทาทีแบบวา
โจรมาปลนบาน ก็ยกบานใหแกโจร โจรมาลักขโมยหรือทําลาย
สมบัติ ก็ยกสมบัติใหแกโจร เปนอยางนั้นไป โจรก็ยิ่งชอบใจ
แทนที่จะลุกขึ้นมาแกไขปองกันทรัพยสมบัติของตน ก็ไมทํา
กลับไปรูสึกวา โอ! นี่ พระประพฤติไมดี พระศาสนาไมดี เลยพาล
จะเลิกนับถือ อะไรทํานองนั้น อันนี้แสดงถึงการขาดจิตสํานึกใน
ความเปนพุทธบริษัท ไมมีจิตสํานึกในความมีสวนรวมเปนเจาของ
ไมมีจิตสํานึกในความรับผิดชอบ และขาดความรูเขาใจที่เปน
ปญญาดวย
ฉะนั้ น ถ าตนเป นพุทธบริ ษัท เป นพุทธศาสนิ กชน จะตอ ง
สํานึกในความมีสวนรวมเปนเจาของนี้ และถามีเหตุการณรายขึ้น
ในพระศาสนา จะตองรีบลุกขึ้นมาชวยกันปองกันแกไขกําจัดภัย
อั น ตราย และรั ก ษาสมบั ติ ที่ มี ค า ของตนและของประเทศชาติ
ประชาชนไว จึงจะเปนทาทีและเปนการปฏิบัติที่ถูกตอง
ตองมองใหถูกตองวา พระภิกษุทั้งหลาย หรือที่เราชอบเรียก
กันวาพระสงฆนั้น ทานก็คนอยางเราๆ ทั้งหลายนี่แหละ ทั้งเราและ
ทานก็เปนเจาของพระพุทธศาสนา ซึ่งเปนสมบัติที่มีคานั้นรวมกัน
ตางก็มีสิทธิใชประโยชนจากพระศาสนาทั้งนั้น
แตทานที่บวชเปนพระนั้น ทานบอกวาทานจะเขาไปอยูวงใน
จะเขาไปเอาประโยชนจากพระศาสนาใหไดมากๆ หรือเต็มที่ คือ
เขาไปรับการศึกษาอบรมที่เรียกวาไตรสิกขา ชนิดเต็มเวลา พวก
เราก็อนุโมทนา
๑๖

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

เรายกยองความตั้งใจดีและความเขมแข็งเสียสละของทาน
และเราก็ถวายความเคารพทานอยางจริงใจ เพราะชาวพุทธเคารพ
ทานผูศึกษาพัฒนาตน และเคารพในฐานะที่ทานทําหนาที่ดํารง
รักษาสืบทอดธรรมในนามของสงฆ คือเปนสมาชิกของภิกษุสงฆที่
เปนตัวแทนของสาวกสงฆ หรือเปนสัญลักษณชี้บงไปถึงอริยสงฆ
แตถาทานเขาไปแลว คือบวชแลว ไมปฏิบัติตามที่บอกไว
หรือปฏิบัติไมไหว ทานก็กลายเปนผูพายแพ ซึ่งจะตองถอนตัว
กลับออกมาอยูอยางพวกเราตามเดิม หรือถาทานตั้งใจทําความ
เสี ย หาย ท า นก็ ก ลายเป น ผู ร า ย หรื อ เป น โจรที่ ป ระทุ ษ ร า ย
พระพุทธศาสนา ทําลายสมบัติอันมีคาของพวกเรา
ถึงตอนนี้ พวกเราก็มีสิทธิเรียกรองเอาตัวทานออกมา เพื่อ
รักษาสมบั ติ รว มกัน นั้ นไวใ ห คนอื่ นได ใช ป ระโยชนอ ย างถู กต อ ง
ตอไป

มัวแตดาวาเขา ไมรูวาเรานี่แหละตัวสําคัญ
สําหรับรัฐ ซึ่งมีรัฐบาลเปนตัวแทน รวมทั้งผูบริหารประเทศ
และองคกรของรัฐโดยทั่วไป ก็ตองวางทาทีในเรื่องนี้ใหถูกตอง
รัฐเปนผูรักษาผลประโยชนของประชาชน มีหนาที่สงเสริม
และทําประโยชนแกประชาชน พระพุทธศาสนานั้นเปนศาสนาของ
ประชากรส ว นใหญ ข องประเทศ เป น แหล ง อํ า นวยคุ ณ ธรรม
จริ ย ธรรมของประชาชน และยิ่ ง กว า นั้ น ยั ง เป น รากฐานของ
วัฒนธรรมไทย ตลอดจนเปนอะไรตางๆ ที่เปนเอกลักษณของชาติ
จนเรียกวาเปนศาสนาประจําชาติ รัฐและผูบริหารประเทศจึงตอง
รับผิดชอบที่จะคุมครองดูแลรักษาทะนุบํารุงพระพุทธศาสนา
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๑๗

พระภิกษุทั้งหลายเปนผูที่บวชเขาไปจากพลเมืองไทย คือ
เปนคนของรัฐนี่เอง ที่เขาไปรับประโยชนจากพระศาสนา
ถามีพระประพฤติชั่วราย หรือเขาไปบวชหาผลประโยชน
ก็ คื อ พลเมื อ งของรั ฐ เข า ไปทํ า อั น ตรายต อ พระศาสนา จึ ง เป น
ความรับผิดชอบของรัฐ ที่จะรวมกับผูมีหนาที่เกี่ยวของในฝาย
พระศาสนา ที่จะเอาคนของตนกลับออกมา มิใชจะปดไปวา เปน
เรื่องของพระ ซึ่งจะกลายเปนวา รัฐมีสวนรวมเปนใจ หรือใหทาย
ใหคนของตนเขาไปทําลายพระศาสนา
สภาพป ญ หาเวลานี้ ก็ คื อ เราพากั น ปล อ ยให ค นที่ ข าด
คุณภาพจํานวนมากมาย อพยพหรือยายตัวเขาไปอยูขางในพระ
ศาสนา จะโดยเข า ไปหลบลี้ ห นี ภั ย ก็ ต าม อาศั ย พั ก พิ ง พั ก ผ อ น
ทัศนาจร หรือแมโดยตั้งใจดีก็ตาม ไมไดค้ําจุนหรือทําประโยชน
อะไรใหแกพระศาสนา แตตรงขาม ถวงดึงหนักแอแกพระศาสนา
ในขณะเดียวกัน คนที่อยูขางในแลว ก็ไมไดรับการพัฒนา
คุณภาพ เนื่องจากคนที่เกี่ยวของควรจะรับผิดชอบตางก็ไมเอาใจ
ใสที่จะจัดดําเนินการ
ฝ า ยคนมี คุ ณ ภาพที่ อ ยู ข า งนอก แทนที่ จ ะเข า ไปช ว ยร ว ม
แกไขสถานการณ ก็ไดแตนั่งดาทอตอวาคนอื่นอยูขางนอก โดยไม
ตระหนักถึงหนาที่และความรับผิดชอบของตัว
พระพุทธศาสนาถูกทอดทิ้งอยางนี้ ก็ยอมจะตองทรุดโทรม
ลงไปเปนธรรมดา
มองอีกแงหนึ่ง การที่คนผูดอยคุณภาพทั้งหลายเขาไปอยู
ขางใน ดีๆ ชั่วๆ ก็ยังชวยใหพระศาสนาหรือสมบัติสวนรวมนี้คงมี
๑๘

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

อยู ม าถึ ง ป จ จุ บั น ได แม จ ะมี ส ภาพโทรมหรื อ กะปลกกะเปลี้ ย
เพียงใด บานยังมีคนอยู ถึงจะงอย ก็ยังชวยใหยืดอายุมาได
คนที่มีคุณภาพทั้งหลาย ซึ่งตลอดชวงเวลาที่ผานมา มัวแต
ออกไปหลงเพลิดเพลินกับผลประโยชนและการเลนสนุกกับคนตาง
ถิ่นภายนอก ละเลิงไปเสียนาน ควรจะสํานึกรูตัวและขอบคุณคน
พวกที่ดอยคุณภาพเหลานั้น และบัดนี้ก็ถึงเวลาแลวที่พวกคนผูมี
คุณภาพจะตองหันกลับมาเอาใจใสแสดงความรับผิดชอบของตน
มองอีกแงหนึ่ง ตลอดชวงเวลาที่ผานมา ผูคนในสังคมนี้ตาง
ก็มุงแสวงหาผลประโยชนเพื่อตนดวยกันทั้งนั้น
สําหรับคนที่มีโอกาสเหนือกวา มีความไดเปรียบ ก็หันไป
สนุกกับผลประโยชนที่เขามาใหมๆ จากแหลงหางไกลภายนอก
สวนคนพวกที่ดอยโอกาส ไมมีทางไป ก็เขาไปอาศัยชองทางเกาที่
ถูกทอดทิ้ง คือ พระศาสนา พออาศั ยหยิ บๆ เก็ บๆ ผลประโยชน
เล็กๆ นอยๆ ไดบาง ตามแตจะได
บัดนี้ ถึงเวลาแลวที่ทั้งสองฝายจะตองรูสํานึกถึงการกระทํา
ของตน แลวหันมาปฏิบัติตัวใหถูกตองตามหนาที่รับผิดชอบ โดย
เฉพาะผูมีโอกาสเหนือกวา หรือผูไดเปรียบ ยอมควรจะตองเปนผูนํา
ในเรื่องนี้ เพื่อไมใหผูที่ดอยโอกาสตองถูกบีบใหหาชองทางตอไป
ความที่วามานี้ นาจะเปนเครื่องเตือนสติรัฐและคณะสงฆ
ในฐานะผูมีหนาที่โดยตรง และโดยเฉพาะคนที่มีคุณภาพและมี
โอกาสเหนือกวา ในฐานะที่ไดเปนผูละเลยความรับผิดชอบของตน
ในชวงเวลาที่ผานมา วาจะตองแสดงจิตสํานึกในความรับผิดชอบ
ใหปรากฏ
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๑๙

คนสรางสังคม สังคมสรางคน ถาไมตัดวงจร ไมแปรปจจัย
คนสรางสังคมไวอยางไร ก็ไดคนอยางนั้นมาสรางสังคมตอไป
เมื่อกี้นี้ ไดพูดไววา “มองพระสงฆใหเปน ก็แลเห็นสังคมไทย”
คําที่พูดนี้ มิใชมีความหมายแคที่ไดพูดไปเทานั้น แตโยงไป
หาหลักความจริงที่ใหญกวางดวยวา คนสรางสังคม สังคมสรางคน
สังคมเกิดจากคน แลวคนก็เปนผลผลิตของสังคม คนกระแสใหญ
สรางสังคมไวอยางไร สังคมก็สรางคนสวนใหญขึ้นมาไดอยางนั้น
ที่วานี้เปนวงจรตามปกติ ถาไมมีปจจัยขางนอกขางในมาแปร
วงจรก็หมุนตอไป ยากที่จะแผกผันหรือพลิกใหเปนไปไดอยางอื่น
เมื่อสังคมนิยมนับถือคนอยางไร เชนอยางงายๆ ที่พูดกัน
บอยวา นับถือคนมีศีลมีธรรม หรือเทิดทูนคนมีสินมีทอง เชิดชูคนมี
ยศมีอํานาจ สังคมก็สงเสริมสนับสนุน โดยตรงบาง โดยออมบาง
ใหคนอยางนั้นเดนขึ้นมา มีกําลังมาก จนกระทั่งไดเปนใหญ
อนุ ช นคื อ คนรุ น ที่ ต ามมา ก็ เ พี ย รพยายามหรื อ ตะเกี ย ก
ตะกายที่จะเปนคนแบบนั้น อยางนอยก็มีโอกาสมากขึ้นสําหรับคน
ที่จะไปทางนั้น พรอมกับปดกั้นลิดรอนโอกาสของคนพวกที่ตรงขาม
แมแตในคนเดียวกัน แตละคนนั้นๆ บางคนมีธาตุดีกับธาตุ
รา ยแรงพอกัน เมื่ อ สัง คมนิ ย มส ง เสริ ม ธาตุดี ธาตุ ดีข องเขาก็ ไ ด
กําลังหนุน เขาก็ไดโอกาสที่จะพัฒนาธาตุดี บางคนมีธาตุรายเขม
แรงกวาธาตุดี แตสังคมนิยมสงเสริมเชิดชูธาตุดี ธาตุรายของเขาก็
ไมไดโอกาส เขาก็กําราบมันลงไปไดงายขึ้น
แตถึงอยางนี้ ในบางราย (แมจะนอย) คนมีธาตุรายเขมขนแรง
กลา ถึงสังคมจะนิยมธาตุดี เขาก็ยังไปในทางของธาตุรายจนได
๒๐

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

ดังนั้น แมแตเมื่อสังคมดี ก็ยังมีรายยกเวน ที่คนรายก็เกิด
ขึ้นมา และในทํานองเดียวกัน ถึงแมเมื่อสังคมนิยมธาตุราย ก็ยังมี
คนที่ยืนหยัดในทางของธาตุดีเติบโตขึ้นมาไดเชนกัน
นี่คือปจจัยตัวแปร ที่อาจจะมาตัดหรือมาหักหันเหวงจรการ
สรางคนสรางสังคม แตตัวแปรนี้นอยนัก และยากที่จะมีกําลังพอ
โดยทั่วไป สังคมก็ไปตามทางของมัน สังคมชื่นชมนิยมคน
อยางไร สังคมก็สรางคนอยางนั้นขึ้นมา เปนไปตามคุณภาพของ
คนที่รวมกันสรางสังคมนั้นเอง
บางทีตองรอนานหลายๆ ศตวรรษ จนกระทั่งเจอกับปจจัย
กระทบกระแทกเข า มาจากข า งนอกของสั ง คมอื่ น ที่ มี กํ า ลั ง
เหนือกวา วงจรที่วานั้นจึงขาดหรือสะดุดลงไป
แตถึงอยางนั้น พอปจจัยนอกปจจัยในกลบหรือกลืนกันไม
ลงตั ว ผลก็ แ ปรไปอี ก ป ญ หาก็ เ กิ ด ขึ้ น ใหม ในที่ สุ ด ก็ อ ยู ที่ ว า จะ
พัฒนาคนใหมีปญญาขึ้นมาแกปญหาไดหรือไม ถาเปนสังคมที่
ขาดหรือหยอนสติปญญา ก็หวังอะไรดีไดยาก
พระทั้งหลาย ก็เชนกับคนทั่วไป พื้นเพก็คือเปนคนของสังคม
นั้น เกิดในสังคมนั้น และเปนผลิตผลของสังคมนั้นนั่นเอง เราใหคน
ไปบวชเปนพระ ก็เพื่อใหพุทธศาสนาชวยเอาปจจัยดีที่เลือกคัด
จัดสรรไว มาหลอมมาแปรใหเขาเปนผลิตผลที่ดีอยางที่นาจะมั่นใจ
ถึงตอนนี้ เรื่องก็อยูที่วา ในสังคมนั้น คนทั่วไป หรือคนสวน
ใหญรูจักพุทธศาสนาแคไหน มองเห็นพุทธศาสนาวาคืออยางไร
แลวก็ไปถึงตัวคนที่มาเปนพระวา พระเณรที่แทนานับถือคือ
ผูที่มีคุณภาพ มีคุณสมบัติอยางไร เปนอยู ประพฤติตนอยางไร พูด
อะไร ไมพูดอะไร พูดอยางไร ไมพูดอยางไร ทําอะไร และไมทําอะไร
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๒๑

ถึงตรงนี้ก็อยูที่วา สังคมที่คนสรางกันมานั้น มีศีล มีจิตใจ
เฉพาะอย า งยิ่ ง มี ป ญ ญาหรื อ มี โ มหะแค ไ หน เขามองเห็ น
พระพุทธศาสนาอยูตรงไหน เขานิยมชมชอบสงเสริมสนับสนุนพระ
ที่มีอะไร เปนอยางไร อยูอยางไร พูด-ไมพูด ทํา-ไมทําอะไร
จากนั้น ตามหลักของการสงเสริมสนับสนุน ใหโอกาส ปด
กั้น โอกาส ดั ง ที่ วา สัง คมของเขานี่ แหละ ก็ ส ร างพระอย างนั้ น ๆ
ขึ้นมา และกําจัดหรือบั่นรอนพระอีกแบบหนึ่งใหเงียบหรือหายไป
ในสังคมนี้ หลายปแลว ขาวฉาวใหญอื้ออึงมาเปนระลอก
พระองคนั้นโดง กอสรางสิ่งสถานใหญโตมโหฬาร แตแลว เรื่อง
อกุศลเบื้องหลังโผลขึ้นมา ก็เฉาอับไป พระองคนี้ดัง เกงอิทธิฤทธิ์
มี ลู ก ศิ ษ ย บ ริ ว ารห อ มล อ มเต็ ม ไปทุ ก ที่ แต แ ล ว เรื่ อ งเสี ย หายไม
บริสุทธิ์เผยออกมา เกิดคดีมีเรื่องเปรอะชื่อเสียงเลอะ ก็เหี่ยวโทรม
ไป เวลาผันผาน กรณีใหมๆ ก็เรียงแถวทยอยมาใหดูตอๆ ไป
พอมี เ รื่ อ งดั ง ขึ้ น มาที ห นึ่ ง คนพวกหนึ่ ง ก็ ด า ว า พระไม ดี
ศาสนาไมดี คนอีกพวกหนึ่งไมวาอะไร ก็อยูก็ทําตอไปอยางที่เคย
อยูเคยทํากันมา ความรูเขาใจปญหา การแกไข การพัฒนา ไมมี
กระแสข างล างไหลอยูอ ย างนั้ น ระลอกก็ ผุดโผลข างบนอย างนี้
วงจรคนสรางสังคมอยางไร สังคมสรางคนอยางนั้น ก็หมุนตอไป
ถาจะไมใหเจอปญหาซ้ําซาก ถาจะใหสังคมของตนดีขึ้น มี
การเปลี่ยนแปลง มีการพัฒนา ก็ตองรูจักทํากรรมดีกันบาง ไมใช
นิ่งเฉยจมกันอยูในความประมาท
แทนที่จะเอาแตดาวาผลงานที่พวกตัวทําขึ้นมา ก็ใชปญญา
หาความรูความเขาใจ สํารวจตรวจสอบตัวเองและสังคม แกไข
๒๒

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา

พัฒนาตนและเพื่อนรวมสังคมของตัว แลวผลักดันสังคมใหสราง
คนสรางพระที่มีคุณสมบัติถูกตอง มีคุณภาพที่พึงตองการ
ในยามสั ง คมแตกสลาย หรื อ บ า นเมื อ งเกิ ด วิ ก ฤต เช น มี
สงครามใหญ อาจถึงขั้นเสียบานเสียเมือง เกิดภาวะไรขื่อแป อยาง
เมื่ อ ครั้ ง กรุ ง แตก อยุ ธ ยาล ม สถาบั น และกิ จ การที่ เ ป น ระบบ
ระเบียบแบบแผนแหลกลาญ
ในยามที่ผูคนไมมีหลัก ไรที่พึ่ง เควงควาง อางวางอยางนี้ ก็
จะหันไปแอบอิงพิงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หวังพึ่งอิทธิฤทธิ์ ไสยศาสตร
ดังที่ปรากฏวา เมื่ออยุธยาเสียแกพมาแลว กอนพระเจาตาก
สินมหาราชจะกูชาติกูเมืองได เรื่องไสยศาสตร อิทธิฤทธิ์ การพึ่งพา
สิ่งศักดิ์สิทธิ์เกลื่อนกลาดไปทั่ว พระปลอมบาง พระจริงบวชเขามา
ไม ไ ด ศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย บ า ง พากั น ช ว ยปลอบชาวบ า นบ า ง
หลอกลวงหากินบาง ดวยเวทมนตรคาถาไสยศาสตร สิ่งศักดิ์สิทธิ์
อิทธิฤทธิ์เหลานี้
พอกูชาติไดแลว จะฟนฟูบานเมือง พระเจาตากสินมหาราช
ก็ ท รงตั้ ง พระศาสนาให เ ป น หลั ก ค น หานิ ม นต พ ระหลั ก ๆ ที่ ท รง
ธรรมวิ นั ย มาสถาปนาเป น พระสั ง ฆราช และครองวั ด สํ า คั ญ ๆ
พรอมกับใหหัวเมืองตางๆ รวบรวมสงพระไตรปฎกมาที่กรุงธนบุรี
(ที่อยุธยา คัมภีร ตําราถูกเผาทั้งเมือง)
ตอดวยรัชกาลที่ ๑ แหงกรุงรัตนโกสินทร แมยังมีศึกสงคราม
มากมาย ก็ทรงจัดการบานเมืองใหเรียบรอยมั่นคง ทรงอาราธนา
พระสงฆ ทํ า สั ง คายนา แล ว ทรงสร า งพระไตรป ฎ กฉบั บ หลวงขึ้ น
ประดิษฐานไวในหอพระมณเฑียรธรรม เพื่อ “เปนหลักของแผนดิน”
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๒๓

สภาพสังคมเวลานั้น ยังไมพนภาวะบานแตกสาแหรกขาด
ผูคนระส่ําระสาย ยากแคนลําเค็ญ ขางนอกยังมีภัยสงครามจาก
ทัพพมา ขางในเต็มไปดวยการปลนฆาแยงชิง พระสงฆเปนอยูยาก
ตองลาสิกขาไปมากมาย การบวชเรียนแทบจะไมสืบตอ
แตคนพวกหนึ่งกลับบวชเขามาอาศัยผาเหลืองหาเลี้ยงชีพ มี
เพศเปนพระ แตไมรูธรรม ไมรูวินัย แถมไมมีธรรม ไมมีวินัยอีกดวย
พระพวกนี้ใชความเชื่อเหลวไหลไสยศาสตรลอหลอกหาลาภจาก
ประชาชนดวยเวทมนตรอิทธิฤทธิ์ เทากับซ้ําเติมสังคมใหยิ่งโทรม
ยิ่งทราม ดังนั้น กูบานกูเมืองไมพอ ตองกูพระศาสนาอีกดวย
ในรัชกาลที่ ๑ ทรงแสดงพระบรมราโชบายวา “ฝ่ายพระพุทธจักร
พระราชอาณาจักรย่อมพร้อมกันทังสองฝ่ายชวนกันชําระพระสาศนา”

ทรงตรา กฎพระสงฆ รวม ๑๐ ฉบับ ทรงเนนการชําระสะสางทั้งฝาย
พระสงฆ และชาวบาน ใหหมดจดพนไปจากลัทธิเหลวไหลไสย
ศาสตร ทั้งทางความเชื่อถือและการประพฤติปฏิบัติ
โดยเฉพาะพระสงฆที่เปนองคยืนดานนี้ นอกจากใหพนจาก
เวทจากไสยอันเปนลัทธิขางนอกแลว ก็ใหเขามาตั้งอยูในหลักของ
ตัวขางใน คือ ใหรูธรรมรูวินัย ใหมีธรรมมีวินัย จึงทรงเนนหนักให
พระมีการศึกษาที่เปนธุระในพระศาสนา ขอใหดูตัวอยางความที่
แสดงถึงพระบรมราโชบาย เชนวา
กฎพระสงฆ ฉบับที่ ๒: ถ้าสามเณรรูปใดมีอายุศมควร
จะอุประสมบทแล้ว ก็ให้บวดเข้าร่ําเรียนคันฐธุระ วิปัศนา
ธุระ อย่าให้เที่ยวไปมาเรียนความรู้อิทธิฤทธิให้ผิดทุระทัง
สองไป...ถ้าแลสามเณรรูปใดอายุศมถึงอุประสมบทแล้ว มิ
ได้บวด เที่ยวเล่นโว้เว้อยู่ จับได้ จะเอาตัวสามเณรแลชีต้น
อาจารยญาติโยมเปนโทษจงหนัก
๒๔

สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา
กฎพระสงฆ ฉบับที่ ๔: แต่นี้สืบไปเมื่อหน้า ห้ามอย่า

ให้มีภิกษุโลเลละวัฏะประนิบัต...มิได้ร่ําเรียนธุระทังสองฝ่าย
อย่าให้มีได้เป็นอันขาดทีเดียว
พร อ มกั น นั้ น ก็ ท รงจั ด ให มี ก ารบอกพระปริ ยั ติ ธ รรม แก
พระภิ ก ษุส ามเณร ในพระบรมมหาราชวั ง ตลอดจนวั ง เจ า นาย
และบานขาราชการผูใหญ
การทีในรัชกาลที่ ๑ โปรดใหมีการบอกพระปริยัติธรรม แกพระ
่
เณร ในพระบรมมหาราชวัง เทากับถือเปนกิจการสําคัญถึงขั้นเปน
การแผนดินนี้ นอกจากเปนการเอาจริงเอาจังในการสงเสริมพระ
เณรใหอยูในหลัก ใหทํากิจหนาที่ที่แทเขาในทางของตน ใหไดพระ
เณรที่มีคุณภาพตามหลักพระศาสนาแลว ก็เปนแบบอยางที่จะนํา
ประชาชนใหสนใจที่จะทําบุญแบบที่เขาในทางอยางนี้ดวย เฉพาะ
อยางยิ่ง เปนภาพเดนชัดที่จะคอยเตือนสํานึกของประชาชนให
ตระหนักรูอยูทุกเวลาวา พระคือผูทําอะไร พุทธศาสนาอยูตรงไหน
ในประวั ติ ศ าสตร ได เ ห็ น กั น ว า ยามใดบ า นเมื อ งวิ ก ฤต
สังคมวิปริต หลักหาย ไมมีระบบแบบแผนที่จะมั่นใจ ประชาชนมี
จิตใจเควงควาง อางวาง ก็จะเปนชองวางและชองทาง ใหเรื่อ ง
อิทธิฤทธิ์ เวทมนตร ไสยศาสตร อันเปนที่พึ่งแบบผลุบโผลเลื่อน
ลอย ขึ้นมาแพรระบาดเกลื่อนกลาดทั่วไป
เวลานี้ สังคมไทยมีสภาพวิกฤตทํานองนั้นไหม ผูคนมีความ
อางวางทางจิตใจ หรือเควงควางทางปญญาหรือไม ลองพิจารณา
แลวถาใครคิดจะฟนพระพุทธศาสนา จะกูสังคม อาจจะหันไป
ดูการกูชาติ ฟนสังคม ในยุคกรุงธนบุรี จนถึงตั้งตนกรุงรัตนโกสินทร
นี้บาง เผื่อจะพบคติหรือขอชี้บงบางอยางใหเห็นแนวทาง
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

๒๕

ฉลาดเชิงกลไก แตไมพัฒนาปญญา
ทองไปทั่วหลา แตปญญาอางวาง
ดูลึกลงไปหนอย พระพุทธศาสนาที่สืบๆ มาถึงเรานั้น ก็อยู
มาในสังคมไทย เปนพุทธศาสนาของคนไทย ที่ไปๆ มาๆ ก็เปนมรดก
สืบทอดของสังคมไทย บางทีที่เรียกวาพระพุทธศาสนาแบบไทยๆ
ก็เปนพระพุทธศาสนาที่บางสวนกลาย หรือหลายสวนเพี้ยนไปแลว
จึ ง ได กํ า ชั บ กั น มานั ก หนา ให ใ ช ม าตรการที่ จ ะรั ก ษาตั ว
พระพุทธศาสนาที่เปนหลักแทของจริงไวใหได
เดชะบุญเราพอจะรักษาของจริงไวได แตเดชะบาปอะไร ถึง
ของจริงจะยังอยูยังมี แตคนไทยบางทีก็ (หรือก็มักจะ) ไมมีแกใจจะ
ไปดูไปหาไปศึกษาของแท ไมเอาไมเขาไปใหถึงใหแน ก็เลยอยูกัน
แคปรัมปรา เปนสังคมแบบตามเขาทํากันมา ตามเราวากันไป
ทีนี้ ในสังคมไทยนั้น ความพรั่นพรึงนิยมนับถือในเรื่องอํานาจ
ดลบั น ดาลและความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ป าฏิ ห าริ ย เป น กระแสที่
แผซานไหลแรงตลอดมา เปนชองใหลัทธิเทวฤทธิ์พรหมพราหมณผี
สางไสยศาสตรเขามาอาศัยและคงอยูไดทนนาน อีกทั้งเมื่อไดโอกาส
ยามสังคมมืดมัวมึนโมหเปดชองให ก็เขามาสนองหนุนโลภะโทสะ
ของคน แพรระบาดแรงเขม นับวาเปนพลังแอบแฝงซึ่งคอยแยงที่
กําบังตัว แมกระทั่งซึมแทรกปนเปกับพุทธศาสตรเรื่อยมา
เรื่ อ งอิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ป าฏิ ห าริ ย นั้ น ในพระพุ ท ธศาสนาท า นก็ ใ ห
เกียรติ และถึงกับใหความสําคัญในระดับหนึ่ง ดังที่ตรัสวาพระมหา
โมคคัลลานะเปนเอตทัคคะในบรรดาภิกษุสาวกผูมีฤทธิ์ (เอตทคฺค ภิกฺขเว
...อิทฺธิมนฺตาน ยทิทํ มหาโมคฺคลฺลาโน, องฺ.เอก.๒๐/๑๔๖/๓๑; อิทฺธิม=มีฤทธิ์นี้ มีนัยดวยวา เปนผู
เก ง กล า สามารถทํ า การสํ า เร็ จ เป น นั ก บุ ก ฝ า หรื อ ผู บุ ก เบิ ก ) แม ว า ลํ า พั ง ตั ว อิ ท ธิ -
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา

Contenu connexe

Tendances

เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน Padvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบKumobarick Achiroki
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 

Tendances (18)

เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 

Similaire à สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา

ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
ดับ ว่าง สงบ เย็น (Pdf)
ดับ ว่าง สงบ เย็น (Pdf)ดับ ว่าง สงบ เย็น (Pdf)
ดับ ว่าง สงบ เย็น (Pdf)hotgunhot
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย Maha Duangthip Dhamma
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101Thanawut Rattanadon
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 

Similaire à สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา (20)

ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
ดับ ว่าง สงบ เย็น (Pdf)
ดับ ว่าง สงบ เย็น (Pdf)ดับ ว่าง สงบ เย็น (Pdf)
ดับ ว่าง สงบ เย็น (Pdf)
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 

Plus de ธรรมะอินเทรนด์ ธรรมะออนไลน์

Plus de ธรรมะอินเทรนด์ ธรรมะออนไลน์ (11)

ปฎิบัติธรรมอย่างไรให้ได้ผล
ปฎิบัติธรรมอย่างไรให้ได้ผลปฎิบัติธรรมอย่างไรให้ได้ผล
ปฎิบัติธรรมอย่างไรให้ได้ผล
 
พุทธอุทาน
พุทธอุทานพุทธอุทาน
พุทธอุทาน
 
ธรรมดาของตาเห็นธรรม
ธรรมดาของตาเห็นธรรมธรรมดาของตาเห็นธรรม
ธรรมดาของตาเห็นธรรม
 
กระแสพระนิพพาน
กระแสพระนิพพานกระแสพระนิพพาน
กระแสพระนิพพาน
 
คำพ่อ คำแม่
คำพ่อ คำแม่คำพ่อ คำแม่
คำพ่อ คำแม่
 
ตรงกันข้าม
ตรงกันข้ามตรงกันข้าม
ตรงกันข้าม
 
Goodstory
GoodstoryGoodstory
Goodstory
 
มงคลชีวิต ๓๘ ประการ
มงคลชีวิต ๓๘ ประการมงคลชีวิต ๓๘ ประการ
มงคลชีวิต ๓๘ ประการ
 
ถ้าเราทุกคนตระหนักว่าเราเป็นคนไทย
ถ้าเราทุกคนตระหนักว่าเราเป็นคนไทยถ้าเราทุกคนตระหนักว่าเราเป็นคนไทย
ถ้าเราทุกคนตระหนักว่าเราเป็นคนไทย
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
 

สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา

  • 1.
  • 3. สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา © พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ISBN 974-575-264-9 พิมพ์ครั้งแรก (ในระบบ MAC) - มีนาคม ๒๕๓๖ - พุทธสมาคมแหงประเทศไทยฯ สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยฯ คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สภาผูแทนราษฎร กองทุนธรรมทาน พิมพครั้งที่ ๔ (ในระบบ MAC - เพิ่มเติม) ทุนสงเสริมพุทธธรรม – ธันวาคม ๒๕๓๖ พิมพครั้งที่ ๖ (ในระบบ MAC) – วัดไทยกรุงวอชิงตันดีซี. สหรัฐอเมริกา มีนาคม ๒๕๓๘ พิมพครั้งที่ … (จัดปรับใหมในระบบ PC ขัดเกลา-เพิ่มเติม) – กันยายน ๒๕๕๖ ๐,๐๐๐ เลม - ธรรมทาน ขอมูล: พระครูปลัดสุวัฒนพรหมคุณ (อินศร จินฺตาปญฺโญ) และคุณศรีมงคล วิเศษสุนทร พิมพขอมูลตนเดิมในระบบ MAC, พ.ศ. ๒๕๓๘ (ตอมา ขอมูลสูญหาย) คุณวีระ สันติบูรณ์ แปลงสูฐานขอมูลระบบ PC, พ.ศ. ๒๕๔๓-๙ (=ขอมูลใชงานครั้งปจจุบัน) ปก: พระชัยยศ พุทฺธิวโร ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็ นธรรมทาน
  • 5. สารบัญ อนุโมทนา ก สถานการณ์พระพุทธศาสนา: พลิกหายนะเปนพัฒนา ๑ ๑. วงใน-ชั้นใน: สภาพวัด และพระสงฆ ๒ วัดหลวงตา: เครื่องชี้สภาพที่มาถึงเรา ภาวะขาดเณร: เกณฑบอกชะตาตอไป สัญญาณเตือนภัย: ขาววาพระทําไมประพฤติเสียหาย สภาพสังคมไทย ภาพสะทอน-เห็นอะไรจากขาวสาร มองพระสงฆใหเปน ก็เห็นสภาพสังคมไทย คิดดูใหดี พุทธศาสนานี้เปนของใคร มัวแตดาวาเขา ไมรูวาเรานีแหละตัวสําคัญ  ่ คนสรางสังคม สังคมสรางคน ถาไมตัดวงจร ไมแปรปจจัย คนสรางสังคมไวอยางไร ก็ไดคนอยางนันมาสรางสังคมตอไป ้ ฉลาดเชิงกลไก แตไมพัฒนาปญญา ทองไปทัวหลา แตปญญาอางวาง ่  ตองพัฒนาตัวกันทุกคน ไมมีใครหนีพนความรับผิดชอบ ๒ ๔ ๗ ๘ ๑๑ ๑๓ ๑๖ ๒๕ ๒๘ ๒. วงใน-ชันนอก: สภาพพุทธศาสนิก ้ ๓๒ ถาหลงใหลอยางเลื่อนลอย ก็จะหลนผล็อยจากพุทธศาสนา ถายึดหลักไวได ก็ยังไมรวงหลุดไป  ๓๒ ๓๔ ๑๙ ก
  • 6. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) จะสอนอยางไร ก็ตองใหเขาสูจุดเริ่ม ที่เขาจะกาวตอไปได สอนเอาหลักเพื่อประโยชนแกเขา ไมใชสอนเอาแตใจของตัว ไมใชสอนเอาใจเขา แตสอนนําเขาเขาหาหลัก ถายังเอาความศักดิ์สิทธิ์ ก็ตองคิดใหทางเลือกที่ถกหลัก ู ไมใชเอาใจเขา แตเราทําอยางรูหลัก และไมใชคิดจะเอาจากเขา แลวมอมเมาใหเขวจากหลัก พัฒนาคนใหมีความสุขประณีตขึ้นไป สังคมก็จะไดจริยธรรมที่มนคง ั่ เมื่อเอาผลทางพลังจิตมาสนองดานกาม พฤติกรรมก็ตองเกิดความวิปริต  ๓. วงนอก-ชั้นใน: สภาพสังคมไทย ค ๓๗ ๓๙ ๔๒ ๔๕ ๔๗ ๔๘ ๕๑ ๕๔ ถาเอาอยางเขา เพื่ออวดโกแกพวกเราดวยกัน ก็คือแสดงความดอย ใหเขาขําขัน ๕๔ ดวยการเปนผูตาม ก็ไดยอมรับความดอย ดวยการมองความเจริญแบบนักบริโภค ก็รักษาความเปนผูตามไวได ๕๘ จะเอาอยางเขา หรือไมเอาอยาง ก็อยาไปสุดทางสองขาง ๖๑ จะเอาอยางเขาถูกตอง จนเปนผูนําเขาได ตองมีการศึกษาที่ดี มานําทางไป ๖๒ เอาอยางดวยปญญา ถึงแมเลียนแบบก็ตองทําใหดีกวา จึงจะมีคุณคา ใหเขายอมนับถือ ๖๕ ตามเปน เอาอยางเปน นับเขาไดในองคประกอบของการพัฒนา ๖๘ ๗๒ ความผิดเพี้ยนในวัฒนธรรมไทย บทเรียนใหชวยกันแกไข 
  • 7. ง สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา ไมอยากก็พลาด แตพออยากก็ผิด จะพัฒนาสัมฤทธิ์ ตองอยากใหเปน จากรับ-ตาม สูความเปนผูนํา-ผูให กาวยิ่งใหญททาทายความสําเร็จ ี่ ๗๗ ๔. วงนอก-ชั้นนอก: สภาวการณของโลก ๘๑ เปดตาดูโลกกวาง จะไดแกปญหาและพัฒนาไมผิดทาง  มองดูคนที่เดินนําหนา อยาใหพาเราเดินหลงทาง คนขางหนาติดตัน หันรีหันขวาง เพราะเจอเหวดักหนา ตองหาทางกันใหม ความกาวหนาที่แสนจะภูมใจ กลายเปนการหาภัยมาทําลายตัว ิ เมื่อรูวาทางตัน แมจะหันไปหาทางใหม แตก็สูญเสียความหวัง ความมั่นใจก็หมดไป เมื่อผูเดินนําหนาเกิดอาการหวั่นไหว คนมีปญญาตองนําหาทางออกใหม ตองหยังรูสาเหตุของปญหา จึงจะมองเห็นทางแกไข ่ เมื่อจับจุดปญหาไดแน ก็สืบสาวเพื่อแกใหตรงกับเหตุปจจัย อารยธรรมถึงจุดหักเลี้ยว โลกหันหาทางเลือกใหม ผูเคยเดินนํา ไมแนวาจะคลําหาทางไหว ผูใดเห็นทาง ผูนั้นควรลุกขึ้นเดินนําไป ๘๑ ๘๓ ๑๐๕ สรุป ๑๑๐ บันทึกทายเลม ๗๕ ๘๕ ๘๙ ๙๒ ๙๕ ๙๗ ๙๙ ๑๐๒ ๑๑๔
  • 8. สถานการณ์พระพุทธศาสนา พลิกหายนะ เปนพัฒนา * หนึ่ง เรื่องสถานการณและสภาวการณพระพุทธศาสนานี้ เรามีวิธีพูดได หลายอย า ง อาจจะแบ ง เป น ส ว นๆ ตามกลุ ม ของพุ ท ธบริ ษั ท เพราะ สถานการณพระพุทธศาสนาในปจจุบันนี้ ถามองในวงของความรับผิดชอบ เจาตัวผูรับผิดชอบ ก็คือพุทธบริษัท เพราะฉะนั้น จึงจะตองพูดโดยจับเอา พุทธบริษัทเปนหลัก หรือเปนแกนกลาง พุทธบริษัทมี ๒ ฝาย คือ ฝายบรรพชิต กับฝายคฤหัสถ หรือฝาย พระสงฆ กับฝายญาติโยม เมื่อแบงอยางนี้แลว ก็พูดไปตามลําดับ เริ่ม ตั้งแตพุทธบริษัทฝายบรรพชิต คือฝายพระสงฆกอน เพราะถือวาเปนจุด ศูนยกลาง หรือเปนวงในของพระพุทธศาสนา ไดรับการคาดหวังวาจะเปน ผูที่สืบตออายุพระพุทธศาสนา ส ว นพุ ท ธบริ ษั ท ฝ า ยคฤหั ส ถ นั้ น ถึ ง จะมี ห น า ที่ รั บ ผิ ด ชอบอย า ง เดียวกัน เพราะพระพุทธเจาไดฝากพระพุทธศาสนาไวกับพุทธบริษัททั้ง ๔ ถือวาพุทธบริษัททั้ง ๔ มีความรับผิดชอบตอพระพุทธศาสนาดวยกัน แต เวลาเรามองกันโดยทั่วไป ก็มักจะมองวาพระสงฆเปนผูรับผิดชอบที่แทจริง แม ว า การมองอย า งนี้ บ างที จ ะทํ า ให เ กิ ด อั น ตราย คื อ ทํ า ให เ กิ ด ความ คลาดเคลื่อนในการปฏิบัติหนาที่ของพุทธศาสนิกชน แตอยางไรก็ตาม ก็ จะมองตามความเขาใจของคนทั่วไปกอน เอาเป น ว า เราแบ ง พุ ท ธบริ ษั ท เป น ๒ ฝ า ย และเริ่ ม จากฝ า ย บรรพชิต หรือฝายพระสงฆกอน * ปาฐกถาธรรม เรื่อง “สถานการณพระพุทธศาสนาในปจจุบัน” ในการสัมมนาเรื่อง ปญหา และแนวทางการปรับปรุงการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียน จัดโดย ศูนยสงเสริม พระพุทธศาสนาแหงประเทศไทย ณ หอประชุมพุทธมณฑล ๒๒ มกราคม ๒๕๓๖ หนึ่ง
  • 9. -๑- วงใน - ชั้นใน สภาพวัด และพระสงฆ วัดหลวงตา: เครื่องชี้สภาพที่มาถึงเรา ในดานสถาบันพระสงฆนั้น ปจจุบันนี้ ชาวพุทธทั่วไปเปน หวงกันมาก เวลาพูดถึงสภาวการณของพระพุทธศาสนาในฝาย พระสงฆ ก็ จ ะปรารภร อ งทุ ก ข โ อดครวญกั น ในเรื่ อ งความเสื่ อ ม โทรมตางๆ ไมตองดูอะไรมากหรอก วัดในประเทศไทยเรานี้ มีทั้งหมด ๓ หมื่นกวาวัด ลองมองเขาไปดูสภาพในวัด เริ่มตั้งแตพระสงฆที่เปนเจาอาวาส เมื่อสัก ๑๐-๒๐ ปกอนนี้ วัดสามหมื่นกวาวัดนี้ ไมมีเจาอาวาส วางเจาอาวาสอยูประมาณ ๔,๐๐๐ วัด มาปจจุบันนี้ แทนที่ตัวเลขจะเบาลง แทนที่พระสงฆ หรือเจาอาวาสจะมากขึ้น สถิติกลับเปนไปในทางที่นาวิตกยิ่งขึ้น เจาหนาที่กรมการศาสนาใหตัวเลขวา เวลานี้วัด ๓ หมื่นกวา วัดนั้น วางเจาอาวาสใกลหมื่นวัดเขาไปแลว หมายความวา ไมมี พระที่มีคุณสมบัติพอที่จะเปนเจาอาวาสได
  • 10. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๓ เจาอาวาสนั้น ตองมีพรรษา ๕ ขึ้นไป แลวก็มีคุณสมบัติคือ วุฒิทางดานการศึกษาบาง แตปจจุบันนี้ วัดไมมีพระที่มีคุณสมบัติ ที่จะเปนเจาอาวาส ไดแครักษาการอยูตั้งเกือบหมื่นวัด หมื่นวัดนี่ก็ หนึ่งในสาม วัดของเราไมมีเจาอาวาสมากมาย ขอใหพิจารณาดู เมื่อไมมีเจาอาวาส ความรับผิดชอบตอวัด และการที่จะทําใหวัดเดินเขาไปสูความกาวหนา ก็ไมหนักแนน ไม เต็มที่ แครักษาการก็มีความรับผิดชอบไมสมบูรณ นอกจากนั้นก็ บงชี้ถึงสภาพที่ขาดคุณสมบัติ ไมมีภาวะที่จะเปนผูนําได ในเมื่อไมมีพระสงฆที่จะเปนผูนํา ที่จะเปนเจาอาวาสได ก็จะ เกิดมีสภาพที่ ๒ ตามมา ในชวง ๕-๖ ปที่แลวมา จนถึงปจจุบันนี้ มีการปรารภกันใน หมูพระสงฆระดับบริหาร ซึ่งอาจจะเปนการพูดทํานองขําๆ สนุกๆ แตก็แฝงความนาเปนหวงอยูดวย คือการที่ทานพูดกันวา เวลานี้ใน ประเทศไทย ไดมีวัดหลวงเพิ่มขึ้นอีกประเภทหนึ่ง วัดหลวงนี่ เราก็เคยไดยินไดฟงรูกันอยูแลววา ศัพททางการ เรียกวา “พระอารามหลวง” มีชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก แตเวลานี้ทาน บอกวามีวัดหลวงเพิ่มขึ้นอีกประเภทหนึ่ง แลวก็ใหคิดกันดู ลองฟง คําเฉลยนะ วัดหลวงที่เพิ่มขึ้นอีกประเภทหนึ่งนั้นคือ “วัดหลวงตา” วัดหลวงตานั้น เวลานี้มีมาก ที่เปนอยางนั้นก็เพราะวา ไมมี พระที่มีคุณสมบัติจะเปนเจาอาวาส ก็เลยมีแตหลวงตาเฝาวัด “หลวงตา” ก็คือพระที่บวชเมื่อแก บางทีก็มุงมาหาความสงบ เลิกทํางานทําการ ก็เขามาบวช อยางนี้ก็เปนประเภทที่นับวาดี แตอีก ประเภทหนึ่งก็คือ ผูที่ไมมีทางไป ไปไมไหวแลว หมดทางทํามาหา เลี้ยงชีพ ก็เขามาอาศัยวัดเปนที่เลี้ยงชีพ โดยมาบวชเปนหลวงตา
  • 11. ๔ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา เราไปตางจังหวัด หรือแมแตในกรุงเทพฯ ปจจุบันนี้ พบพระ ที่ สู ง อายุ แล ว เข า ไปถามดู ว า พรรษาเท า ไร จะเห็ น สภาพความ เปนไปของวงการคณะสงฆ สมัยกอนนี้ พระที่มีอายุมากๆ ก็จะมีพรรษามาก อายุเจ็ดสิบ ก็ อ าจจะพรรษา ๔๐-๕๐ แต ป จ จุ บั น นี้ ไปถามดู พระอายุ ๗๐ พรรษาเทาไร หนึ่งพรรษา สองพรรษา สามพรรษา อันนี้คือสภาพการณที่นาเปนหวง ทานเหลานี้มาบวชเมื่อแก สําหรับทานที่มาบวชหาเลี้ยงชีพแบบไมมีทางไป ก็ไมตั้งใจที่จะ ศึกษาและปฏิบัติ และอาจจะทําการหาเงินทอง หลอกลวงทํา ความเสียหาย ส ว นท า นที่ ม าบวชหาความสงบ ถึ ง แม จ ะตั้ ง ใจเล า เรี ย น ศึกษาปฏิบัติ วัยก็ไมให ไมมีความแข็งแรง สมองก็เสื่อมโทรมลง เวลาในชีวิตที่จะทํางานใหพระศาสนา ก็เหลือนอย นอยองคที่จะมี ความสามารถพิเศษ ซึ่งก็นายกยอ ง ทานที่ตั้งใจเลาเรียนและมี ความสามารถจริงๆ ก็เปนอีกเรื่องหนึ่ง เราก็ตองยกให นี่ดานหนึ่ง คือดานพระที่สูงอายุ ก็เปนอันวา จะมีพระหลวง ตาที่มีพรรษานอยๆ นี้มากมาย ภาวะขาดเณร: เกณฑบอกชะตาตอไป อีกดานหนึ่งก็ลงมาถึง เณร คือ สามเณร ซึ่งตรงกันขามกับ หลวงตาโดยวัย “เณร” นี้เ ปนสวนสําคั ญของพระพุ ทธศาสนา เปนศาสนทายาท เปนผู ที่บวชเข ามาแลว มีโอกาสเลาเรียนมาก และสว น
  • 12. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๕ ใหญจะไดเลาเรียนพระธรรมวินัย เพราะวัยอยูในระยะเวลาที่จะ เลาเรียนศึกษา ชวงเวลาของการที่จะเลาเรียนไดก็เต็มที่ หลังจาก เรียนแลว ก็มีเวลาอีกมากที่จะทํางานใหพระศาสนาตอไป แตปจจุ บันนี้ เราหาเณรไดยาก สําหรับในภาคกลางนี้ห า เณรไดยากอยางยิ่ง โดยเฉพาะในเมือง แทบจะไมมีเด็กบวชเลย จนกระทั่งเราตองใชวิธีจัด บวชสามเณรภาคฤดูรอน อันนี้เปนทางออกอยางหนึ่ง ซึ่งแมจะแกไขปญหาที่แทจริง ไมได แตก็ยังเปนตัวผอนเบาวา ใหเด็กและเยาวชนไดมีโอกาสรูจัก พระศาสนาบาง แตเราจะหวังใหเณรเหลานี้มาเปนผูที่รับผิดชอบ ดูแลการพระศาสนาตอไป ยอมเปนไปไดยาก เราอาจจะหวังวา เมื่อมีเณรบวชภาคฤดูรอนมากๆ บางสวน อาจจะเปนหนึ่งในสิบหรือหนึ่งในรอย ที่มีศรัทธาแรงกลาอยากจะ ศึกษาเลาเรียนพระธรรมวินัย อยูในพระศาสนา อยูในวัดตอไป (ซึ่ง ก็มีอยูจริงดวย) แตนี่ก็เปนเรื่องของการหาทางผอนคลายปญหา ปญหาที่แทจริงก็คือ ไมมีเด็กจะมาบวชเณร เพราะรัฐขยาย การศึกษาตั้งโรงเรียนออกไปในถิ่นไกลๆ ไดมากขึ้น วัดไมตองเปน ช อ งทางช ว ยผ อ นเบาป ญ หาความไม เ สมอภาคแห ง โอกาสใน การศึกษาของรัฐ(โดยไมตั้งใจ)มากเหมือนในชวง ๒๐-๑๐๐ ปกอน และการศึ ก ษาของวั ด ในสภาพป จ จุ บั น ก็ ไ ม จู ง ใจเด็ ก ให เ ข า มา เรียน หรือจูงใจพอแมใหสงลูกเขามาเรียน เด็กก็ไปเขาเรียนตอใน โรงเรียนของรัฐ ยิ่งกวานั้น เวลานี้เด็กออกโรงเรียนโตขึ้นกวาเกา ก็ไปเขา ตลาดแรงงานเด็กเสียมาก ในสวนเมืองและในถิ่นใดที่ยิ่งมีความ เจริญมากขึ้น ก็ยิ่งหาเด็กมาบวชเณรไดยากขึ้น
  • 13. ๖ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา เพราะฉะนั้น ก็จะไมมีผูที่จะดํารงพระศาสนา ที่เราเรียกวา เปนศาสนทายาทตอไป อันนี้ก็เปนปญหาที่นาเปนหวงในระยะยาว เมื่ อ ๒๐-๒๕ ป ที่ แ ล ว มา ครั้ ง ที่ ส ามเณรยั ง มี จํ า นวนมาก และเริ่มเขาสูหัวตอแหงความเปลี่ยนแปลงของจํานวนสามเณรที่ อยูวัดเลาเรียนพระธรรมวินัย ในภาคกลาง มีสามเณรในอัตราสวน ประมาณ ๑ รูป ตอพระภิกษุ ๖-๗ รูป ในภาคใต สามเณร ๑ รูป ตอพระภิกษุ ประมาณ ๒-๓ รูป ในภาคอีสาน สามเณร ๑ รูป ตอ พระภิกษุจํานวนเทาๆ กัน คือ ๑ รูป หรือเณรมากกวาพระเล็กนอย และในภาคเหนื อ สามเณรประมาณ ๒ รู ป ต อ พระภิ ก ษุ ๑ รู ป (ตัวเลขนี้ วาตามที่นึกๆ ไดจากความจํา อยาเพิ่งถือเอาเปน แนนอนทีเดียว เมื่อมีเวลาจะตรวจสอบหลักฐานอีกที) ตอจากนั้น อัตราสวนของสามเณรที่อ ยูเลาเรียนมีนอยลง เรื่อยๆ จากภาคกลางที่ลดลงกอน ภาคอื่นๆ ก็พลอยเปนไปดวย จนปจจุบัน แมแตภาคอีสาน และภาคเหนือ ก็หาเด็กบวชเณรยาก ในภาคเหนือที่เคยมีเณรในอัตราสวนสูงสุด คือมากกวาพระราว ๒ ตอ ๑ เวลานี้ก็แทบไมมีเด็กบวชเณร หาเณรเรียน หาเณรใชยาก เมื่อเณรลดนอยลงนั้น ก็หมดไปจากในกรุง ในเมือ ง ภาค กลาง และจากถิ่นเจริญกอน ดังนั้น ตั้งแตรัฐเริ่มจัดการศึกษาแบบตะวันตกในศตวรรษที่ แล ว มา ที่ ใ ดการศึ ก ษาของรั ฐ ไปไม ถึ ง เด็ ก ก็ ม าบวชเณรเรี ย น หนังสือ เณรในกรุงเทพฯ เปนผูที่มาจากตางจังหวัด ตอมา เณรใน เมืองใหญแตละเมือง ก็เปนผูที่มาจากถิ่นหางไกลนอกเมือง จนมา ระยะเมื่อเร็วๆ นี้ เณรในโรงเรียนปริยัติธรรมที่อยูในวัดภาคกลาง ก็ มาจากภาคอีสาน และภาคเหนือ
  • 14. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๗ ครั้นถึงขณะนี้ เมื่อเณรกําลังจะหมดไปจากภาคเหนือ เณรที่ อยูในวัดภาคเหนือ ก็กําลังกลายเปนเด็กที่มาจากถิ่นหางไกลใน ตางแดนที่ไกลความเจริญ โดยเฉพาะที่เดนขณะนี้ ก็คือเณรจาก สิบสองปนนา ที่เขามาแสวงหาชองทางแหงความเจริญกาวหนา (ลองนึกถึงจิตใจของโรบินฮูดไทยในอเมริกา) ยิ่ง มาถึง ปจ จุบั น นี้ ทางการไดมี นโยบายที่ มุง มั่น จะขยาย การศึกษาที่เคยเรียกวาภาคบังคับเดิมออกไป ตามโครงการขยาย โอกาสทางการศึ ก ษา โดยขยายชั้ น ประถมขึ้ น ไปอี ก ๓ ชั้ น ถึ ง มัธยม ๓ หรืออาจจะเรียกวาประถมปที่เกา ก็ทําใหเด็กตองอยูใน โรงเรียนยาวนานมากขึ้น ถาไมมีนโยบายทางการคณะสงฆมารับ กันใหพอเหมาะพอเจาะ ก็จะทําใหยิ่งขาดแคลนเณรที่จะมาบวช และขาดแคลนศาสนทายาทยิ่งขึ้น อั น นี้ เ ป น ป ญ หาระยะยาว ที่ จ ะต อ งมาคิ ด กั น ว า การพระ ศาสนาขางหนาจะเปนอยางไร สัญญาณเตือนภัย: ขาววาพระทําไมประพฤติเสียหาย เมื่อมองดูที่ตัวพระสงฆแลว อีกดานหนึ่งก็มองไปที่ภาพของ พระสงฆที่ปรากฏในสังคม เวลานี้ เราไดยินขาวรายเกี่ยวกับความเสียหายของพระสงฆ มากมาย ในชวง ๓-๔ ปนี้ มีขาวตอเนื่องกันมาไมขาดสาย ขึ้นพาดหัว หนังสือพิมพเรื่อย พระสงฆมีปญหาความประพฤติเสียหายทาง เพศบาง ทางเรื่องความโหดรายฆากันบาง เปนปญหาที่ทําใหเกิด
  • 15. ๘ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา ความเปนหวงในหมูพุทธศาสนิกชน พรอมทั้งสรางภาพที่ไมดีไมงาม แกสังคม ทําใหภาพลักษณหรือภาพพจนของพระสงฆเสื่อมเสียไป มาก ซึ่งหมายถึงสถานะในความเคารพนับถือศรัทธาตางๆ ดวย ไมตองบนไมตองเลาใหยืดยาวมากมาย แมแตเมื่อวานนี้ ก็มี ข า วอี ก คื อ เรื่ อ งที่ ว า มี พ ระจิ ต วิ ป ริ ต ไปข ม ขื น ศพ เป น ข า ว หนังสือพิมพที่เพิ่มเขามาอีกระลอก แตอยางไรก็ตาม อีกดานหนึ่ง เมื่อมองไป ก็เปนเรื่องที่ตองพิจารณาดวยวา สื่อมวลชนนั้นมีความ เที่ยงตรง แลวก็มีความรับผิดชอบในการเสนอขาวแคไหน อยางขาวที่วามีพระจิตวิปริตไปขมขืนศพนั้น เชานี้ก็มีญาติ โยมมาที่ วั ด พู ด ถึ ง เรื่ อ งนี้ แ ล ว ก็ วิ จ ารณ ว า ผู ที่ อ า นเนื้ อ หาคํ า บรรยายขาวที่เขาเสนอนั้น ถาใชปญญาพิจารณาก็จะเห็นวา มัน เป น เรื่ อ งที่ ไ ม อ าจจะเป น ไปได อ ย า งนั้ น อาจจะมี แ ง มุ ม ที่ คลาดเคลื่อนไป เชนอาจจะเปนการลองไสยศาสตรอะไรสักอยาง หนึ่ ง ซึ่ ง เหตุ ก ารณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะต อ งไม เ หมื อ น หรื อ ไม ต รงกั บ คํ า บรรยายขาวนั้น อันนี้ก็เปนเรื่องของความเปนไปในการพระศาสนาที่อยูใน สังคมไทย และภาพที่เกิดขึ้น สภาพสังคมไทย ภาพสะทอน-เห็นอะไรจากขาวสาร จะอยางไรก็ตาม ขาวสารที่ออกมาอยางนี้ ก็เปนเครื่องแสดง ถึงสภาพ ๓ ดาน ที่เราจะตองพิจารณา คือ ๑. สภาพการคณะสงฆ และการพระศาสนา ๒. สภาพของสื่อมวลชน ๓. สภาพของประชาชน ผูรับฟงขาวสาร
  • 16. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๙ ทั้ง สามด านนี่ สัม พั นธ กัน ทั้ งหมด สําหรั บในแง ข องสภาพ คณะสงฆ ข า วนั้ น จะจริ ง หรื อ ไม จ ริ ง หรื อ จะมี ส ว นจริ ง แค ไ หน อยางไรก็ตาม ก็ตองมีเคาอยู เมื่อมีเคาอยู ก็แสดงถึงสภาพความ เสื่อมโทรมโดยทั่วไป ทีนี้ ในแงของการเสนอขาว ในยุคขาวสารขอมูลนี้ ลักษณะ ของขาวสารก็ขึ้นกับสภาพสังคมดวย ในสังคมไทยปจจุบันนี้ เราจะเห็นวา ขาวรายไดรับการ เผยแพรกันมาก แตขาวดีไมคอยไดรับการเผยแพร อันนี้ก็เปนเรื่อง หนึ่งที่สอแสดงถึงความเปนไปของสังคมวา การเขาสูยุคขาวสาร ขอ มู ล ของเรานั้น ดํ า เนิ น ไปด วยดี ห รื อ ไม เ พี ย งใด และสถาบั น ที่ รับผิดชอบในการเสนอขาวสาร ที่เรียกวาสื่อมวลชนนั้น มีความ รับผิดชอบตอสังคมแคไหน ขาวความสําเร็จในการประดิษฐคิดคน หรือความสําเร็จทาง ป ญ ญาอย า งใดอย า งหนึ่ ง ที่ เ ป น ความก า วหน า ใหม ซึ่ ง จะเป น เครื่องกระตุนและสงเสริมแนวโนมและพลังที่ดีงาม พรอมทั้งเปน เกียรติแกประเทศชาติ และเปนการรวมสรางสรรคอารยธรรมของ มนุษยชาติ และขาวการเสียสละพากเพียรบําเพ็ญคุณความดีอัน ยิ่งใหญ หรือกอประโยชนสุขแกมหาชน แทนที่จะขึ้นพาดหัวขาว หนาหนึ่ง กลับไปซุกซอนอยูในคอลัมนเล็กๆ ขางใน ที่แทบไมมีใคร มองเห็น แตหนาแรกที่สําคัญนั้น กลับเปนที่ชุมนุมของขาวการฆาฟน สังหาร และอาชญากรรมเฉพาะราย ที่ทําจิตใจและปญญาให อับเฉามืดมัว
  • 17. ๑๐ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา ตอจากนั้น ประการที่สามก็คือ ตัวประชาชนผูรับฟงขาวสาร ซึ่งมีปญหาวา มีการใชปญญาหรือวิจารณญาณไตรตรองหรือไม หรือเพียงแตตื่นเตนตามกันไป แลวก็เปนเหยื่อของขาวที่หละหลวม คลุ ม เครื อ หรื อ การโฆษณา ไม ส ามารถจะทั น ต อ ความเป น ไปที่ สําคัญและเปนสาระ หรือรูเทาทันตอขาวสารที่ถูกนําเสนอ แลวก็ไม สามารถจะถือเอาประโยชนที่แทจริงจากขาวสารเหลานั้นได คนที่อานขาวตื่นเตนรายแรงหนาหนึ่ง นอยคนจะรูจักอานให ไดคติ หรือไดแรงกระตุนเราในการที่จะคิดแกไขปญหา หรือแมแต ที่จะใหเกิดความไมประมาท หนังสือพิมพลงขาวพระภิกษุอายุ ๗๐ ป หรือแมกระทั่ง ๘๐ ป ประกอบกรรมชั่ว ผูอานซึ่งขาดความตระหนักรูตอสภาพสังคม ของตน มองภาพเปนพระภิกษุที่บวชมานาน คิดวา ทําไมพระที่อยู ในพระศาสนามาถึงเพียงนี้ ยังมีกิเลสชั่วรายนักหนา ผูอานหารูไมวา บุคคลผูนั้น ก็คือชาวบานแกเฒาผูอาศัย ชองวาง ขณะที่วัดในชนบทมากมายกําลังจะกลายเปนวัดราง และ ขณะที่สังคมทั่วไปไมใสใจดูแลสมบัติของตน เขาก็แฝงตัวผานเขา สูชองทางการบวชที่หละหลวม บวชเขามาเปนพระแกพระหลวงตา เพื่อจะทําการที่ตนปรารถนาไดโดยสะดวก ด า นผู อ า น ก็ ข าดความรู ค วามเข า ใจต อ สภาพวั ด และ พระสงฆในปจจุบันที่จะวิเคราะหความจริง ดานสื่อมวลชน ก็เสนอ ขาวโดยไมใหขอมูลเพียงพอที่จะใหเกิดปญญา นี้ ก็ เ ป น เรื่ อ งของข า วความเสี ย หาย นอกจากข า วความ เสียหายแบบนี้แลว ก็มีอีกดานหนึ่งคือ เรื่องที่ประชาชนวิจารณกัน
  • 18. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๑ ในแงวา พระแขงกันทํากิจกรรมในแงหาเงินหาทอง มุงแตจะหาเงิน หาทองกันเหลือเกิน และทําดวยวิธีการตางๆ แลวก็อวดกันในเรื่องสิ่งกอสราง เชนการสรางพระที่ใหญ ที่สุดในโลกบาง ใหญที่สุดในประเทศไทยบาง อะไรทํานองนี้ โดย ไมคํานึงถึงประโยชนในการใชสอย หรือประโยชนตอพระศาสนา ระยะยาว ไมอางอิงไปถึงเหตุถึงผลวา วัตถุนั้น การสรางนั้นจะชวย นําคนใหรูเขาใจธรรม ใหประพฤติดีมีศีลมีธรรมอยางไรๆ มองพระสงฆใหเปน ก็เห็นสภาพสังคมไทย ที่วามานี้ก็เปนเรื่องที่เราไดยินไดฟง และบางทานไดวิพากษ วิ จ ารณ กั น แต ข อ สํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ก็ คื อ การวางท า ที ต อ ความ เปนไปเหลานี้ พรอมทั้งในฐานะที่เปนครูอาจารย สิ่งสําคัญก็คือ การสอนใหนกเรียนหรือคนที่เราเกี่ยวของ รูจักวางทาทีที่ถูกตอง ั ทาทีอยางไร เปนทาทีที่ถูกตอง แงที่หนึ่ง คือการใชปญญา รู จั ก พิ จ ารณา และมี ค วามรู เ ท า ทั น ต อ เรื่ อ งราวความเป น ไปที่ เกิดขึ้น แลวก็มองใหไดประโยชน ไมใชมองแตเพียงวา เปนขาวตื่นเตน แลวก็รองทุกข โอดครวญ หรือไดแตวิพากษวิจารณ แลวก็มีความรูสึกไมดีเกิดขึ้นในทํานองวา พระสงฆทําไมเสื่อมโทรมอยางนี้ ไมนานับถือ เลิกนับถือดีกวา บ า ง ที ไ ม นั บ ถื อ พ ร ะ ส ง ฆ แ ล ว พ า ล จ ะ ไ ม นั บ ถื อ พระพุทธศาสนาอีกดวย อันนี้เปนเรื่องที่อันตราย ซึ่งเกิดจากการ วางทาทีไมถูกตอง และขาดปญญา
  • 19. ๑๒ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา ประการที่หนึ่ง มองโดยภาพรวมกอน ในแงที่ขาวเหลานี้เปน เรื่องของความเปนไปในสังคมไทย ถามองในแงนี้ ขาวคราวเหลานี้ นอกจากเปนเครื่องบงชี้ถึง สภาพความเสื่อมโทรมในวงการพระศาสนา หรือในหมูพระสงฆ แลว ในฐานะที่พระสงฆนั้นเปนสถาบันที่สําคัญในสังคมไทย มันก็ เปนเครื่องชี้บงถึงสภาพความเปนไปของสังคมไทยดวย เราถือกันวา พระสงฆเปนสถาบันทางจริยธรรม เปนสถาบัน ของผูนําทางดานจิตใจของสังคมนี้ เราอาจพูดไดวา โดยทั่วไปใน สังคมไทยนี้ พระสงฆเปนบุคคลที่ถือไดวามีศีลธรรมและจริยธรรม มากที่สุด จากเกณฑมาตรฐาน หรือพื้นความเขาใจอยางนี้ เมื่อเรา มองสังคมไทย ก็จะไดขอคิดตอไปวา ออนี่ ขนาดบุคคลที่ถือวาเปน แบบอยางทางศีลธรรม และเปนผูนําทางจิตใจของสังคมไทย ก็ยัง มีความเสื่อมโทรมขนาดนี้ แลวสังคมไทยสวนรวมทั่วๆ ไป จะเลว ทรามขนาดไหน ถามองในแงนี้ เราก็จะไดขอเตือนใจใหระลึกวา ถาหากวา พระสงฆของเราเสื่อมขนาดนี้แลว สังคมไทยสวนรวมจะยิ่งเสื่อม โทรมกวานั้นอีกมากมาย แลวขอใหทานพิจารณาดูสภาพทั่วไปของสังคมของเราวา คําที่วานี้จริงหรือไม ฉะนั้น เราจะตองวางทาทีที่ถือวา สภาพของคณะสงฆนี้เปน เครื่องบงชี้ถึงสภาพของสังคมไทย ซึ่งเตือนใหเรารีบตื่นตัวขึ้นมา แลวแกไขปรับปรุงสังคม
  • 20. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๓ เมื่อไดเห็นไดยินขาวเสียหายเหลานี้ในวงการพระสงฆ เรา จะตองรูตระหนักวา มันไมใชปญหาเฉพาะของพระสงฆเทานั้น แต นี่คือปญหาของสังคมไทยทั้งหมด ซึ่งเปนสัญญาณเตือนภัยใหรูวา เวลานี้ แมแตสวนที่ละเอียดออนที่สุด สวนที่ถือวาดีที่สุดของเรา ยังเลวทรามขนาดนี้ แลวสังคมไทยสวนรวมจะเลวทรามเสื่อมโทรม ขนาดไหนแล ว เราจะนิ่ ง นอนใจอยู ไ ม ไ ด จะต อ งรี บ ลุ ก ขึ้ น มา ชวยกันปรับปรุงแกไข แล ว อั น นี้ ก็ จ ะเป น สํ า นึ ก ที่ เ ป น ประโยชน ช ว ยนํ า ไปสู ก าร แกไขปญหา ไมใชเปนเพียงการมาตอวาดาทอหรือปรับทุกขกัน แลวก็จบไป ไมไดอะไรขึ้นมา ถาเราคิดพิจารณาโดยใชปญญาอยางนี้ ก็จะเปนประโยชน โดยเห็นทางที่จะใชสถานการณเหลานี้ใหเกิดคุณคาขึ้นมา คือทํา ใหมีการแกไขปรับปรุงพัฒนาสังคมโดยสวนรวม รวมทั้งการแกไข ปรับปรุงการพระศาสนาดวย คิดดูใหดี พุทธศาสนานี้เปนของใคร ตอแตนั้นก็มองถึงหนาที่รับผิดชอบ ที่ใกลตัวเขามาอีก คือใน หมูพุทธศาสนิกชนเอง โดยเฉพาะในฝายคฤหัสถ เมื่อมีภาพความ เป น ไปในแง ค วามเสื่ อ มโทรมของพระสงฆ เ กิ ด ขึ้ น อย า งนี้ พุ ท ธ บริษัทฝายคฤหัสถควรมีทาทีของจิตใจอยางไร ในฐานะที่เปนพุทธบริษัท มีหนาที่รับผิดชอบตอพระศาสนา พุทธศาสนิกชนทุกคน ไมวาพระหรือคฤหัสถ ทุกคนมีสวนรวมเปน เจาของพระพุทธศาสนารวมกัน จะตองสรางจิตสํานึกในความเปน
  • 21. ๑๔ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา เจาของของพระศาสนาใหเกิดขึ้น จะตองมีความรูสึกในการมีสวน รวมวา นี้เปนพุทธศาสนาของเรา เรามีสวนรวมรับผิดชอบในพุทธ ศาสนานี้ ไมใชมองอยางคนนอก ขณะนี้เราเปนพุทธศาสนิกชน เราสังกัดอยูในพุทธบริษัท ๔ เราเปนผูมีสวนรวมรับผิดชอบเปนเจาของพระศาสนาดวย เมื่อมี เหตุการณที่ไมดีเกิดขึ้น เราตองมองในฐานะผูเปนเจาของ และ ผูรับผิดชอบ ไมใชมองอยางคนนอก เมื่อมองอยางเปนเจาของแลว เราจะเห็นวาพระพุทธศาสนา เปนของของเรา หรือเปนทรัพยสมบัติของเรา ถาเรามองวาพระพุทธศาสนาเปนสมบัติที่มีคาของเรา ใน เวลาที่มีคนหรือพระก็ตาม ทําความเสียหายตอพระพุทธศาสนา เราจะเกิดความรูสึกวา สมบัติที่มีคาของเรากําลังจะถูกทําลาย เมื่อสมบัติที่มีคาของเราจะถูกทําลาย หนาที่ของเราคืออะไร ก็คือ การที่จะตองลุกขึ้นมาชวยกันแกไขปองกัน ถ า พระที่ ไ ม ดี เ หล า นั้ น มาทํ า เสี ย หาย ก็ คื อ มาทํ า ความ เสี ย หายต อ ศาสนา เมื่ อ พระเหล า นั้ น ทํ า ความเสี ย หายต อ พระ ศาสนา ก็คือเปนคนที่เขามาทําลายสมบัติของเรา ถามองในแง หนึ่งก็คือ เปนโจรหรือเปนผูราย ไมวาจะเปนใครก็ตาม เมื่อเขามา ทําลายสมบัติอันมีคานี้ ก็เปนโจรหรือเปนผูราย เมื่อเขาเปนโจรหรือเปนผูราย เราในฐานะเปนเจาของหรือมี ส ว นร ว มเป น เจ า ของด ว ย เราจะทํ า อย า งไร เราก็ ต อ งช ว ยกั น ปองกันแกไขไลโจรออกไป ไมใชยกสมบัติใหแกโจร
  • 22. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๕ ทาทีของพุทธศาสนิกชนในเวลานี้ สวนมากเปนทาทีแบบวา โจรมาปลนบาน ก็ยกบานใหแกโจร โจรมาลักขโมยหรือทําลาย สมบัติ ก็ยกสมบัติใหแกโจร เปนอยางนั้นไป โจรก็ยิ่งชอบใจ แทนที่จะลุกขึ้นมาแกไขปองกันทรัพยสมบัติของตน ก็ไมทํา กลับไปรูสึกวา โอ! นี่ พระประพฤติไมดี พระศาสนาไมดี เลยพาล จะเลิกนับถือ อะไรทํานองนั้น อันนี้แสดงถึงการขาดจิตสํานึกใน ความเปนพุทธบริษัท ไมมีจิตสํานึกในความมีสวนรวมเปนเจาของ ไมมีจิตสํานึกในความรับผิดชอบ และขาดความรูเขาใจที่เปน ปญญาดวย ฉะนั้ น ถ าตนเป นพุทธบริ ษัท เป นพุทธศาสนิ กชน จะตอ ง สํานึกในความมีสวนรวมเปนเจาของนี้ และถามีเหตุการณรายขึ้น ในพระศาสนา จะตองรีบลุกขึ้นมาชวยกันปองกันแกไขกําจัดภัย อั น ตราย และรั ก ษาสมบั ติ ที่ มี ค า ของตนและของประเทศชาติ ประชาชนไว จึงจะเปนทาทีและเปนการปฏิบัติที่ถูกตอง ตองมองใหถูกตองวา พระภิกษุทั้งหลาย หรือที่เราชอบเรียก กันวาพระสงฆนั้น ทานก็คนอยางเราๆ ทั้งหลายนี่แหละ ทั้งเราและ ทานก็เปนเจาของพระพุทธศาสนา ซึ่งเปนสมบัติที่มีคานั้นรวมกัน ตางก็มีสิทธิใชประโยชนจากพระศาสนาทั้งนั้น แตทานที่บวชเปนพระนั้น ทานบอกวาทานจะเขาไปอยูวงใน จะเขาไปเอาประโยชนจากพระศาสนาใหไดมากๆ หรือเต็มที่ คือ เขาไปรับการศึกษาอบรมที่เรียกวาไตรสิกขา ชนิดเต็มเวลา พวก เราก็อนุโมทนา
  • 23. ๑๖ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา เรายกยองความตั้งใจดีและความเขมแข็งเสียสละของทาน และเราก็ถวายความเคารพทานอยางจริงใจ เพราะชาวพุทธเคารพ ทานผูศึกษาพัฒนาตน และเคารพในฐานะที่ทานทําหนาที่ดํารง รักษาสืบทอดธรรมในนามของสงฆ คือเปนสมาชิกของภิกษุสงฆที่ เปนตัวแทนของสาวกสงฆ หรือเปนสัญลักษณชี้บงไปถึงอริยสงฆ แตถาทานเขาไปแลว คือบวชแลว ไมปฏิบัติตามที่บอกไว หรือปฏิบัติไมไหว ทานก็กลายเปนผูพายแพ ซึ่งจะตองถอนตัว กลับออกมาอยูอยางพวกเราตามเดิม หรือถาทานตั้งใจทําความ เสี ย หาย ท า นก็ ก ลายเป น ผู ร า ย หรื อ เป น โจรที่ ป ระทุ ษ ร า ย พระพุทธศาสนา ทําลายสมบัติอันมีคาของพวกเรา ถึงตอนนี้ พวกเราก็มีสิทธิเรียกรองเอาตัวทานออกมา เพื่อ รักษาสมบั ติ รว มกัน นั้ นไวใ ห คนอื่ นได ใช ป ระโยชนอ ย างถู กต อ ง ตอไป มัวแตดาวาเขา ไมรูวาเรานี่แหละตัวสําคัญ สําหรับรัฐ ซึ่งมีรัฐบาลเปนตัวแทน รวมทั้งผูบริหารประเทศ และองคกรของรัฐโดยทั่วไป ก็ตองวางทาทีในเรื่องนี้ใหถูกตอง รัฐเปนผูรักษาผลประโยชนของประชาชน มีหนาที่สงเสริม และทําประโยชนแกประชาชน พระพุทธศาสนานั้นเปนศาสนาของ ประชากรส ว นใหญ ข องประเทศ เป น แหล ง อํ า นวยคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมของประชาชน และยิ่ ง กว า นั้ น ยั ง เป น รากฐานของ วัฒนธรรมไทย ตลอดจนเปนอะไรตางๆ ที่เปนเอกลักษณของชาติ จนเรียกวาเปนศาสนาประจําชาติ รัฐและผูบริหารประเทศจึงตอง รับผิดชอบที่จะคุมครองดูแลรักษาทะนุบํารุงพระพุทธศาสนา
  • 24. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๗ พระภิกษุทั้งหลายเปนผูที่บวชเขาไปจากพลเมืองไทย คือ เปนคนของรัฐนี่เอง ที่เขาไปรับประโยชนจากพระศาสนา ถามีพระประพฤติชั่วราย หรือเขาไปบวชหาผลประโยชน ก็ คื อ พลเมื อ งของรั ฐ เข า ไปทํ า อั น ตรายต อ พระศาสนา จึ ง เป น ความรับผิดชอบของรัฐ ที่จะรวมกับผูมีหนาที่เกี่ยวของในฝาย พระศาสนา ที่จะเอาคนของตนกลับออกมา มิใชจะปดไปวา เปน เรื่องของพระ ซึ่งจะกลายเปนวา รัฐมีสวนรวมเปนใจ หรือใหทาย ใหคนของตนเขาไปทําลายพระศาสนา สภาพป ญ หาเวลานี้ ก็ คื อ เราพากั น ปล อ ยให ค นที่ ข าด คุณภาพจํานวนมากมาย อพยพหรือยายตัวเขาไปอยูขางในพระ ศาสนา จะโดยเข า ไปหลบลี้ ห นี ภั ย ก็ ต าม อาศั ย พั ก พิ ง พั ก ผ อ น ทัศนาจร หรือแมโดยตั้งใจดีก็ตาม ไมไดค้ําจุนหรือทําประโยชน อะไรใหแกพระศาสนา แตตรงขาม ถวงดึงหนักแอแกพระศาสนา ในขณะเดียวกัน คนที่อยูขางในแลว ก็ไมไดรับการพัฒนา คุณภาพ เนื่องจากคนที่เกี่ยวของควรจะรับผิดชอบตางก็ไมเอาใจ ใสที่จะจัดดําเนินการ ฝ า ยคนมี คุ ณ ภาพที่ อ ยู ข า งนอก แทนที่ จ ะเข า ไปช ว ยร ว ม แกไขสถานการณ ก็ไดแตนั่งดาทอตอวาคนอื่นอยูขางนอก โดยไม ตระหนักถึงหนาที่และความรับผิดชอบของตัว พระพุทธศาสนาถูกทอดทิ้งอยางนี้ ก็ยอมจะตองทรุดโทรม ลงไปเปนธรรมดา มองอีกแงหนึ่ง การที่คนผูดอยคุณภาพทั้งหลายเขาไปอยู ขางใน ดีๆ ชั่วๆ ก็ยังชวยใหพระศาสนาหรือสมบัติสวนรวมนี้คงมี
  • 25. ๑๘ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา อยู ม าถึ ง ป จ จุ บั น ได แม จ ะมี ส ภาพโทรมหรื อ กะปลกกะเปลี้ ย เพียงใด บานยังมีคนอยู ถึงจะงอย ก็ยังชวยใหยืดอายุมาได คนที่มีคุณภาพทั้งหลาย ซึ่งตลอดชวงเวลาที่ผานมา มัวแต ออกไปหลงเพลิดเพลินกับผลประโยชนและการเลนสนุกกับคนตาง ถิ่นภายนอก ละเลิงไปเสียนาน ควรจะสํานึกรูตัวและขอบคุณคน พวกที่ดอยคุณภาพเหลานั้น และบัดนี้ก็ถึงเวลาแลวที่พวกคนผูมี คุณภาพจะตองหันกลับมาเอาใจใสแสดงความรับผิดชอบของตน มองอีกแงหนึ่ง ตลอดชวงเวลาที่ผานมา ผูคนในสังคมนี้ตาง ก็มุงแสวงหาผลประโยชนเพื่อตนดวยกันทั้งนั้น สําหรับคนที่มีโอกาสเหนือกวา มีความไดเปรียบ ก็หันไป สนุกกับผลประโยชนที่เขามาใหมๆ จากแหลงหางไกลภายนอก สวนคนพวกที่ดอยโอกาส ไมมีทางไป ก็เขาไปอาศัยชองทางเกาที่ ถูกทอดทิ้ง คือ พระศาสนา พออาศั ยหยิ บๆ เก็ บๆ ผลประโยชน เล็กๆ นอยๆ ไดบาง ตามแตจะได บัดนี้ ถึงเวลาแลวที่ทั้งสองฝายจะตองรูสํานึกถึงการกระทํา ของตน แลวหันมาปฏิบัติตัวใหถูกตองตามหนาที่รับผิดชอบ โดย เฉพาะผูมีโอกาสเหนือกวา หรือผูไดเปรียบ ยอมควรจะตองเปนผูนํา ในเรื่องนี้ เพื่อไมใหผูที่ดอยโอกาสตองถูกบีบใหหาชองทางตอไป ความที่วามานี้ นาจะเปนเครื่องเตือนสติรัฐและคณะสงฆ ในฐานะผูมีหนาที่โดยตรง และโดยเฉพาะคนที่มีคุณภาพและมี โอกาสเหนือกวา ในฐานะที่ไดเปนผูละเลยความรับผิดชอบของตน ในชวงเวลาที่ผานมา วาจะตองแสดงจิตสํานึกในความรับผิดชอบ ใหปรากฏ
  • 26. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๙ คนสรางสังคม สังคมสรางคน ถาไมตัดวงจร ไมแปรปจจัย คนสรางสังคมไวอยางไร ก็ไดคนอยางนั้นมาสรางสังคมตอไป เมื่อกี้นี้ ไดพูดไววา “มองพระสงฆใหเปน ก็แลเห็นสังคมไทย” คําที่พูดนี้ มิใชมีความหมายแคที่ไดพูดไปเทานั้น แตโยงไป หาหลักความจริงที่ใหญกวางดวยวา คนสรางสังคม สังคมสรางคน สังคมเกิดจากคน แลวคนก็เปนผลผลิตของสังคม คนกระแสใหญ สรางสังคมไวอยางไร สังคมก็สรางคนสวนใหญขึ้นมาไดอยางนั้น ที่วานี้เปนวงจรตามปกติ ถาไมมีปจจัยขางนอกขางในมาแปร วงจรก็หมุนตอไป ยากที่จะแผกผันหรือพลิกใหเปนไปไดอยางอื่น เมื่อสังคมนิยมนับถือคนอยางไร เชนอยางงายๆ ที่พูดกัน บอยวา นับถือคนมีศีลมีธรรม หรือเทิดทูนคนมีสินมีทอง เชิดชูคนมี ยศมีอํานาจ สังคมก็สงเสริมสนับสนุน โดยตรงบาง โดยออมบาง ใหคนอยางนั้นเดนขึ้นมา มีกําลังมาก จนกระทั่งไดเปนใหญ อนุ ช นคื อ คนรุ น ที่ ต ามมา ก็ เ พี ย รพยายามหรื อ ตะเกี ย ก ตะกายที่จะเปนคนแบบนั้น อยางนอยก็มีโอกาสมากขึ้นสําหรับคน ที่จะไปทางนั้น พรอมกับปดกั้นลิดรอนโอกาสของคนพวกที่ตรงขาม แมแตในคนเดียวกัน แตละคนนั้นๆ บางคนมีธาตุดีกับธาตุ รา ยแรงพอกัน เมื่ อ สัง คมนิ ย มส ง เสริ ม ธาตุดี ธาตุ ดีข องเขาก็ ไ ด กําลังหนุน เขาก็ไดโอกาสที่จะพัฒนาธาตุดี บางคนมีธาตุรายเขม แรงกวาธาตุดี แตสังคมนิยมสงเสริมเชิดชูธาตุดี ธาตุรายของเขาก็ ไมไดโอกาส เขาก็กําราบมันลงไปไดงายขึ้น แตถึงอยางนี้ ในบางราย (แมจะนอย) คนมีธาตุรายเขมขนแรง กลา ถึงสังคมจะนิยมธาตุดี เขาก็ยังไปในทางของธาตุรายจนได
  • 27. ๒๐ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา ดังนั้น แมแตเมื่อสังคมดี ก็ยังมีรายยกเวน ที่คนรายก็เกิด ขึ้นมา และในทํานองเดียวกัน ถึงแมเมื่อสังคมนิยมธาตุราย ก็ยังมี คนที่ยืนหยัดในทางของธาตุดีเติบโตขึ้นมาไดเชนกัน นี่คือปจจัยตัวแปร ที่อาจจะมาตัดหรือมาหักหันเหวงจรการ สรางคนสรางสังคม แตตัวแปรนี้นอยนัก และยากที่จะมีกําลังพอ โดยทั่วไป สังคมก็ไปตามทางของมัน สังคมชื่นชมนิยมคน อยางไร สังคมก็สรางคนอยางนั้นขึ้นมา เปนไปตามคุณภาพของ คนที่รวมกันสรางสังคมนั้นเอง บางทีตองรอนานหลายๆ ศตวรรษ จนกระทั่งเจอกับปจจัย กระทบกระแทกเข า มาจากข า งนอกของสั ง คมอื่ น ที่ มี กํ า ลั ง เหนือกวา วงจรที่วานั้นจึงขาดหรือสะดุดลงไป แตถึงอยางนั้น พอปจจัยนอกปจจัยในกลบหรือกลืนกันไม ลงตั ว ผลก็ แ ปรไปอี ก ป ญ หาก็ เ กิ ด ขึ้ น ใหม ในที่ สุ ด ก็ อ ยู ที่ ว า จะ พัฒนาคนใหมีปญญาขึ้นมาแกปญหาไดหรือไม ถาเปนสังคมที่ ขาดหรือหยอนสติปญญา ก็หวังอะไรดีไดยาก พระทั้งหลาย ก็เชนกับคนทั่วไป พื้นเพก็คือเปนคนของสังคม นั้น เกิดในสังคมนั้น และเปนผลิตผลของสังคมนั้นนั่นเอง เราใหคน ไปบวชเปนพระ ก็เพื่อใหพุทธศาสนาชวยเอาปจจัยดีที่เลือกคัด จัดสรรไว มาหลอมมาแปรใหเขาเปนผลิตผลที่ดีอยางที่นาจะมั่นใจ ถึงตอนนี้ เรื่องก็อยูที่วา ในสังคมนั้น คนทั่วไป หรือคนสวน ใหญรูจักพุทธศาสนาแคไหน มองเห็นพุทธศาสนาวาคืออยางไร แลวก็ไปถึงตัวคนที่มาเปนพระวา พระเณรที่แทนานับถือคือ ผูที่มีคุณภาพ มีคุณสมบัติอยางไร เปนอยู ประพฤติตนอยางไร พูด อะไร ไมพูดอะไร พูดอยางไร ไมพูดอยางไร ทําอะไร และไมทําอะไร
  • 28. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๒๑ ถึงตรงนี้ก็อยูที่วา สังคมที่คนสรางกันมานั้น มีศีล มีจิตใจ เฉพาะอย า งยิ่ ง มี ป ญ ญาหรื อ มี โ มหะแค ไ หน เขามองเห็ น พระพุทธศาสนาอยูตรงไหน เขานิยมชมชอบสงเสริมสนับสนุนพระ ที่มีอะไร เปนอยางไร อยูอยางไร พูด-ไมพูด ทํา-ไมทําอะไร จากนั้น ตามหลักของการสงเสริมสนับสนุน ใหโอกาส ปด กั้น โอกาส ดั ง ที่ วา สัง คมของเขานี่ แหละ ก็ ส ร างพระอย างนั้ น ๆ ขึ้นมา และกําจัดหรือบั่นรอนพระอีกแบบหนึ่งใหเงียบหรือหายไป ในสังคมนี้ หลายปแลว ขาวฉาวใหญอื้ออึงมาเปนระลอก พระองคนั้นโดง กอสรางสิ่งสถานใหญโตมโหฬาร แตแลว เรื่อง อกุศลเบื้องหลังโผลขึ้นมา ก็เฉาอับไป พระองคนี้ดัง เกงอิทธิฤทธิ์ มี ลู ก ศิ ษ ย บ ริ ว ารห อ มล อ มเต็ ม ไปทุ ก ที่ แต แ ล ว เรื่ อ งเสี ย หายไม บริสุทธิ์เผยออกมา เกิดคดีมีเรื่องเปรอะชื่อเสียงเลอะ ก็เหี่ยวโทรม ไป เวลาผันผาน กรณีใหมๆ ก็เรียงแถวทยอยมาใหดูตอๆ ไป พอมี เ รื่ อ งดั ง ขึ้ น มาที ห นึ่ ง คนพวกหนึ่ ง ก็ ด า ว า พระไม ดี ศาสนาไมดี คนอีกพวกหนึ่งไมวาอะไร ก็อยูก็ทําตอไปอยางที่เคย อยูเคยทํากันมา ความรูเขาใจปญหา การแกไข การพัฒนา ไมมี กระแสข างล างไหลอยูอ ย างนั้ น ระลอกก็ ผุดโผลข างบนอย างนี้ วงจรคนสรางสังคมอยางไร สังคมสรางคนอยางนั้น ก็หมุนตอไป ถาจะไมใหเจอปญหาซ้ําซาก ถาจะใหสังคมของตนดีขึ้น มี การเปลี่ยนแปลง มีการพัฒนา ก็ตองรูจักทํากรรมดีกันบาง ไมใช นิ่งเฉยจมกันอยูในความประมาท แทนที่จะเอาแตดาวาผลงานที่พวกตัวทําขึ้นมา ก็ใชปญญา หาความรูความเขาใจ สํารวจตรวจสอบตัวเองและสังคม แกไข
  • 29. ๒๒ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา พัฒนาตนและเพื่อนรวมสังคมของตัว แลวผลักดันสังคมใหสราง คนสรางพระที่มีคุณสมบัติถูกตอง มีคุณภาพที่พึงตองการ ในยามสั ง คมแตกสลาย หรื อ บ า นเมื อ งเกิ ด วิ ก ฤต เช น มี สงครามใหญ อาจถึงขั้นเสียบานเสียเมือง เกิดภาวะไรขื่อแป อยาง เมื่ อ ครั้ ง กรุ ง แตก อยุ ธ ยาล ม สถาบั น และกิ จ การที่ เ ป น ระบบ ระเบียบแบบแผนแหลกลาญ ในยามที่ผูคนไมมีหลัก ไรที่พึ่ง เควงควาง อางวางอยางนี้ ก็ จะหันไปแอบอิงพิงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หวังพึ่งอิทธิฤทธิ์ ไสยศาสตร ดังที่ปรากฏวา เมื่ออยุธยาเสียแกพมาแลว กอนพระเจาตาก สินมหาราชจะกูชาติกูเมืองได เรื่องไสยศาสตร อิทธิฤทธิ์ การพึ่งพา สิ่งศักดิ์สิทธิ์เกลื่อนกลาดไปทั่ว พระปลอมบาง พระจริงบวชเขามา ไม ไ ด ศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย บ า ง พากั น ช ว ยปลอบชาวบ า นบ า ง หลอกลวงหากินบาง ดวยเวทมนตรคาถาไสยศาสตร สิ่งศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์เหลานี้ พอกูชาติไดแลว จะฟนฟูบานเมือง พระเจาตากสินมหาราช ก็ ท รงตั้ ง พระศาสนาให เ ป น หลั ก ค น หานิ ม นต พ ระหลั ก ๆ ที่ ท รง ธรรมวิ นั ย มาสถาปนาเป น พระสั ง ฆราช และครองวั ด สํ า คั ญ ๆ พรอมกับใหหัวเมืองตางๆ รวบรวมสงพระไตรปฎกมาที่กรุงธนบุรี (ที่อยุธยา คัมภีร ตําราถูกเผาทั้งเมือง) ตอดวยรัชกาลที่ ๑ แหงกรุงรัตนโกสินทร แมยังมีศึกสงคราม มากมาย ก็ทรงจัดการบานเมืองใหเรียบรอยมั่นคง ทรงอาราธนา พระสงฆ ทํ า สั ง คายนา แล ว ทรงสร า งพระไตรป ฎ กฉบั บ หลวงขึ้ น ประดิษฐานไวในหอพระมณเฑียรธรรม เพื่อ “เปนหลักของแผนดิน”
  • 30. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๒๓ สภาพสังคมเวลานั้น ยังไมพนภาวะบานแตกสาแหรกขาด ผูคนระส่ําระสาย ยากแคนลําเค็ญ ขางนอกยังมีภัยสงครามจาก ทัพพมา ขางในเต็มไปดวยการปลนฆาแยงชิง พระสงฆเปนอยูยาก ตองลาสิกขาไปมากมาย การบวชเรียนแทบจะไมสืบตอ แตคนพวกหนึ่งกลับบวชเขามาอาศัยผาเหลืองหาเลี้ยงชีพ มี เพศเปนพระ แตไมรูธรรม ไมรูวินัย แถมไมมีธรรม ไมมีวินัยอีกดวย พระพวกนี้ใชความเชื่อเหลวไหลไสยศาสตรลอหลอกหาลาภจาก ประชาชนดวยเวทมนตรอิทธิฤทธิ์ เทากับซ้ําเติมสังคมใหยิ่งโทรม ยิ่งทราม ดังนั้น กูบานกูเมืองไมพอ ตองกูพระศาสนาอีกดวย ในรัชกาลที่ ๑ ทรงแสดงพระบรมราโชบายวา “ฝ่ายพระพุทธจักร พระราชอาณาจักรย่อมพร้อมกันทังสองฝ่ายชวนกันชําระพระสาศนา” ทรงตรา กฎพระสงฆ รวม ๑๐ ฉบับ ทรงเนนการชําระสะสางทั้งฝาย พระสงฆ และชาวบาน ใหหมดจดพนไปจากลัทธิเหลวไหลไสย ศาสตร ทั้งทางความเชื่อถือและการประพฤติปฏิบัติ โดยเฉพาะพระสงฆที่เปนองคยืนดานนี้ นอกจากใหพนจาก เวทจากไสยอันเปนลัทธิขางนอกแลว ก็ใหเขามาตั้งอยูในหลักของ ตัวขางใน คือ ใหรูธรรมรูวินัย ใหมีธรรมมีวินัย จึงทรงเนนหนักให พระมีการศึกษาที่เปนธุระในพระศาสนา ขอใหดูตัวอยางความที่ แสดงถึงพระบรมราโชบาย เชนวา กฎพระสงฆ ฉบับที่ ๒: ถ้าสามเณรรูปใดมีอายุศมควร จะอุประสมบทแล้ว ก็ให้บวดเข้าร่ําเรียนคันฐธุระ วิปัศนา ธุระ อย่าให้เที่ยวไปมาเรียนความรู้อิทธิฤทธิให้ผิดทุระทัง สองไป...ถ้าแลสามเณรรูปใดอายุศมถึงอุประสมบทแล้ว มิ ได้บวด เที่ยวเล่นโว้เว้อยู่ จับได้ จะเอาตัวสามเณรแลชีต้น อาจารยญาติโยมเปนโทษจงหนัก
  • 31. ๒๔ สถานการณพระพุทธศาสนา: พลิกหายนะ เปนพัฒนา กฎพระสงฆ ฉบับที่ ๔: แต่นี้สืบไปเมื่อหน้า ห้ามอย่า ให้มีภิกษุโลเลละวัฏะประนิบัต...มิได้ร่ําเรียนธุระทังสองฝ่าย อย่าให้มีได้เป็นอันขาดทีเดียว พร อ มกั น นั้ น ก็ ท รงจั ด ให มี ก ารบอกพระปริ ยั ติ ธ รรม แก พระภิ ก ษุส ามเณร ในพระบรมมหาราชวั ง ตลอดจนวั ง เจ า นาย และบานขาราชการผูใหญ การทีในรัชกาลที่ ๑ โปรดใหมีการบอกพระปริยัติธรรม แกพระ ่ เณร ในพระบรมมหาราชวัง เทากับถือเปนกิจการสําคัญถึงขั้นเปน การแผนดินนี้ นอกจากเปนการเอาจริงเอาจังในการสงเสริมพระ เณรใหอยูในหลัก ใหทํากิจหนาที่ที่แทเขาในทางของตน ใหไดพระ เณรที่มีคุณภาพตามหลักพระศาสนาแลว ก็เปนแบบอยางที่จะนํา ประชาชนใหสนใจที่จะทําบุญแบบที่เขาในทางอยางนี้ดวย เฉพาะ อยางยิ่ง เปนภาพเดนชัดที่จะคอยเตือนสํานึกของประชาชนให ตระหนักรูอยูทุกเวลาวา พระคือผูทําอะไร พุทธศาสนาอยูตรงไหน ในประวั ติ ศ าสตร ได เ ห็ น กั น ว า ยามใดบ า นเมื อ งวิ ก ฤต สังคมวิปริต หลักหาย ไมมีระบบแบบแผนที่จะมั่นใจ ประชาชนมี จิตใจเควงควาง อางวาง ก็จะเปนชองวางและชองทาง ใหเรื่อ ง อิทธิฤทธิ์ เวทมนตร ไสยศาสตร อันเปนที่พึ่งแบบผลุบโผลเลื่อน ลอย ขึ้นมาแพรระบาดเกลื่อนกลาดทั่วไป เวลานี้ สังคมไทยมีสภาพวิกฤตทํานองนั้นไหม ผูคนมีความ อางวางทางจิตใจ หรือเควงควางทางปญญาหรือไม ลองพิจารณา แลวถาใครคิดจะฟนพระพุทธศาสนา จะกูสังคม อาจจะหันไป ดูการกูชาติ ฟนสังคม ในยุคกรุงธนบุรี จนถึงตั้งตนกรุงรัตนโกสินทร นี้บาง เผื่อจะพบคติหรือขอชี้บงบางอยางใหเห็นแนวทาง
  • 32. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๒๕ ฉลาดเชิงกลไก แตไมพัฒนาปญญา ทองไปทั่วหลา แตปญญาอางวาง ดูลึกลงไปหนอย พระพุทธศาสนาที่สืบๆ มาถึงเรานั้น ก็อยู มาในสังคมไทย เปนพุทธศาสนาของคนไทย ที่ไปๆ มาๆ ก็เปนมรดก สืบทอดของสังคมไทย บางทีที่เรียกวาพระพุทธศาสนาแบบไทยๆ ก็เปนพระพุทธศาสนาที่บางสวนกลาย หรือหลายสวนเพี้ยนไปแลว จึ ง ได กํ า ชั บ กั น มานั ก หนา ให ใ ช ม าตรการที่ จ ะรั ก ษาตั ว พระพุทธศาสนาที่เปนหลักแทของจริงไวใหได เดชะบุญเราพอจะรักษาของจริงไวได แตเดชะบาปอะไร ถึง ของจริงจะยังอยูยังมี แตคนไทยบางทีก็ (หรือก็มักจะ) ไมมีแกใจจะ ไปดูไปหาไปศึกษาของแท ไมเอาไมเขาไปใหถึงใหแน ก็เลยอยูกัน แคปรัมปรา เปนสังคมแบบตามเขาทํากันมา ตามเราวากันไป ทีนี้ ในสังคมไทยนั้น ความพรั่นพรึงนิยมนับถือในเรื่องอํานาจ ดลบั น ดาลและความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ป าฏิ ห าริ ย เป น กระแสที่ แผซานไหลแรงตลอดมา เปนชองใหลัทธิเทวฤทธิ์พรหมพราหมณผี สางไสยศาสตรเขามาอาศัยและคงอยูไดทนนาน อีกทั้งเมื่อไดโอกาส ยามสังคมมืดมัวมึนโมหเปดชองให ก็เขามาสนองหนุนโลภะโทสะ ของคน แพรระบาดแรงเขม นับวาเปนพลังแอบแฝงซึ่งคอยแยงที่ กําบังตัว แมกระทั่งซึมแทรกปนเปกับพุทธศาสตรเรื่อยมา เรื่ อ งอิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ป าฏิ ห าริ ย นั้ น ในพระพุ ท ธศาสนาท า นก็ ใ ห เกียรติ และถึงกับใหความสําคัญในระดับหนึ่ง ดังที่ตรัสวาพระมหา โมคคัลลานะเปนเอตทัคคะในบรรดาภิกษุสาวกผูมีฤทธิ์ (เอตทคฺค ภิกฺขเว ...อิทฺธิมนฺตาน ยทิทํ มหาโมคฺคลฺลาโน, องฺ.เอก.๒๐/๑๔๖/๓๑; อิทฺธิม=มีฤทธิ์นี้ มีนัยดวยวา เปนผู เก ง กล า สามารถทํ า การสํ า เร็ จ เป น นั ก บุ ก ฝ า หรื อ ผู บุ ก เบิ ก ) แม ว า ลํ า พั ง ตั ว อิ ท ธิ -