SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  56
Télécharger pour lire hors ligne
ใบรองปก




          1
ค�าน�า

    	          “ความส�าเร็จของลูก	 คือ	 ความสุขของพ่อแม่”	 	 ในฐานะที่ท่านเป็นผู้
    ปกครอง	 ผมเชื่อว่าสิ่งส�าคัญที่สุดในชีวิตของท่าน	 คือ	 “ลูก”	 และสิ่งที่จะท�าให้
    ท่านมีความสุขที่สุด	 คือ	 การที่ท่านเห็นลูกเติบโตเป็นคนดีเห็นความส�าเร็จของ
    ลูก	 ซึ่งการที่ท่านจะเห็นสิ่งเหล่านี้ได้นั้นไม่ใช่เรื่องยากเลยเพียงแต่เริ่มต้นที่ตัว
    ท่าน	ด้วยการ	“ท�างานให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูก”	โดยเฉพาะอย่างยิ่งพ่อ	แม่ได้
    ชื่อว่าเป็นครูคนแรกของลูกที่คอยสอนชี้แนะ	สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูก	“เป็นครู	 เป็น
    ที่พึ่ง			ของลูกตลอดชีวิต”	ให้ความรัก	ความเอาใจใส่	ความห่วงใย	เอื้ออาทรแก่
    ลูก					ให้อภัยเมื่อลูกท�าผิดพลาด	ลูกจึงเป็นแก้วตาดวงใจของพ่อ	แม่ตลอดเวลา
    	          ดังนั้นการที่พ่อ	แม่บางท่าน	คิดว่า	การศึกษาเป็นเรื่องของครูกับโรงเรียน
    เท่านั้น	 จึงยกหน้าที่ในการดูแลบุตรหลานให้กับโรงเรียนทั้งหมด	 และคิดว่า
    ตนเองไม่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดู	 อบรม	 ซึ่งเป็นการเข้าใจผิด	 บ้านและโรงเรียน
    จะต้องให้ความร่วมมือกันทั้ง	2	ฝ่าย	เปรียบเสมือนปรบมือ	2	ข้าง	(พ่อ	แม่	และ
    ครู)	จึงจะดัง
    	          หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมข้อคิดต่างๆ	 จัดท�าขึ้นโดยมุ่งหวังเพื่อแนะน�าผู้
    ปกครอง	พ่อ	แม่ในการอบรมเลี้ยงดู	เอาใจใส่ในฐานะผู้ปกครอง	เพื่อให้ลูก		เป็น
    คนดี	 เรียนจบ	 และปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข	 โรงเรียนจึงโครงการ	
    นนทรีร่วมสร้างครอบครัวอบอุ่น	 อันจะก่อให้เกิดความสุข	 ความเจริญแก่บุตร
    หลาน	และสังคมไทยโดยรวมตลอดไปอย่างยั่งยืน	                     	        	           	


                                                    (นายเชิดศักดิ์ ศุภโสภณ)
                                               ผู้อ�านวยการโรงเรียนนนทรีวิทยา
                                                     ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๓




2
สารบัญ




         3
สาส์นผู้อ�านวยการ
เรียน ผู้ปกครองนักเรียนทุกท่าน

	         ในฐานะที่ท่านเป็นผู้ปกครอง	ผมเชื่อว่าสิ่งที่ส�าคัญที่สุดในชีวิตของท่านคือ		“ลูก”	
และสิ่งที่จะท�าให้ท่านมีความสุขที่สุดในชีวิต	คือการที่ท่านได้เห็นลูกเติบโตเป็นคนดี	 เห็น
ความส�าเร็จของลูก	 และเห็นลูกขอองท่านมีความสุขซึ่งการที่ท่าน	 ได้สร้างสิ่งเหล่านั้น	
ไม่ใช่เรื่องยากเลย	 เพียงเริ่มต้นที่ตัวท่าน	 ด้วยการช่วยสร้างครอบครัวที่อบอุ่น	 ซึ่งผมเชื่อ
ว่าทุกท่านได้สร้างครอบครัวที่อบอุ่นอยู่แล้ว	 หากแต่	 ในสังคมปัจจุบันดูจะมีปัญหา
มากมายที่จะส่งผลกระทบต่อลูกของเรา	 ผมในฐานะผู้อ�านวยการโรงเรียน	 ซึ่งมีความรัก
และความห่วงใยในบุตรหลานของท่านและ		คิดอยู่เสมอว่าเขาเหล่านั้น	คือ	ลูกหลานของ
ผมที่ผมต้องดูแลเอาใจใส่ให้เขา	 มีความสุขความส�าเร็จ	 ในชีวิตเช่นเดียวกัน	 โรงเรียน
นนทรีวิทยาจึงขอเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวของท่านในการช่วยกันสร้างครอบครัวของ
เราให้อบอุ่น		ด้วยการ				ให้ความรักความอบอุ่น		ด้วยการให้ความรักความอบอุ่นแก่ลูก
ของเราด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้
						 1.	 ไม่ดื่มสุรา		ไม่เสพสิ่งเสพติดและไม่เล่นการพนันทุกชนิด
					 2.	 ประกอบอาชีพโดยสุจริต		โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
					 3.	 เมือมีปญหาเกิดขึน	ให้ใช้เหตุผลในการแก้ปญหา	หลีกเลียงการใช้ความ	รุนแรง
              ่ ั              ้                       ั            ่
					 4.	 มีเวลาท�ากิจกรรมร่วมกับลูก	 เช่น	 รับประทานข้าวร่วมกันเดือนละอย่างน้อย		
12		ครั้ง		หรือ		3		มื้อ	/	สัปดาห์
					 5.	 ท�าบ้านให้สะอาด		ร่มรื่น		น่าอยู่
						 6.	 เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูก	เช่น	ไม่ทะเลาะกันมีความซื่อสัตย์	สุภาพ	เมตตาต่อกัน	
มีเหตุผล		ยิ้มแย้มแจ่มใส
						 7.	 ทุกคนในครอบครัวมีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าทีของตน	และท�างานอย่างมี
                                                                  ่
ประสิทธิภาพ
			 8.	 สมาชิกในครอบครัวมีเวลาท�ากิจกรรมนอกบ้านร่วมกัน		อย่างน้อยเดือนละ	1	ครัง	          ้
เช่น	ไปเที่ยวพักผ่อน	ไปเยี่ยมญาติ	ไปรับประทานอาหารนอกบ้าน


4
9.	 พ่อ	 แม่	 ลูก	 มีความสนิทสนมใกล้ชิดกัน	 เป็นครอบครัวที่อบอุ่นพร้อมที่จะพูด
รับฟังความคิดเห้นของกันและกันอยู่เสมอ
						10.	 สมาชิกในครอบครัวไปร่วมพิธีทางศาสนาร่วมกันอย่างน้อย	เดือนละ	1	ครั้ง
						11.	 สมาชิกในครอบครัวได้มีโอกาสได้มีโอกาสอยู่ร่วมกับปู่ย่าตายาย	 โดยการน�า
บุตรหลานไปเยี่ยมเยียน		หรือรับมาอยู่ในครอบครัวด้วย	เพื่อสร้างความสนิทสนมใกล้ชิด
กันและรู้จักกตัญญูรู้คุณบุพการี
						12.	ควรมีกจกรรมนันทนาการในครอบครัวร่วมกัน		เช่น	ร้องเพลง		เล่านิทาน	เล่นเกมส์	
                  ิ
ดูภาพยนต์
	         ผมเชื่อว่าหลายครอบครัวได้มีกิจกรรมนี้อยู่แล้ว	และผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้
ปกครองทุกท่านคงจะได้น�ากิจกรรมเหล่านี้ไปปรับใช้ในครอบครัวต่อไป	 เพื่อสร้างความ
รัก	 ความอบอุ่น	 และความสุขให้แก่ลูกหลานของเราซึ่งย่อมหมายถึง	 ความสุขของท่าน
เช่นเดียวกัน
	         เมื่อท่าน	และลูกหลานมีความสุข	ผมและครูโรงเรียนนนทรีวิทยาทุกคน			ที่เปรียบ
เสมือนบุคคลในครอบครัวเดียวกันกับท่าน	 และมุ่งหวังจะเห็นความสุข	 ความส�าเร็จของ
ศิษย์	 ซึ่งเปรียบเสมือน	“ลูก”	เช่นเดียวกับท่าน	ก็มีความสุข	และความภาคภูมิใจ	มีก�าลัง
ใจที่จะปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลเอาใจใส่ให้วิชาความรู้แก่ศิษย์ต่อไป
	         ในโอกาสนี้ผมจึงขอเชิญชวน	 และขอขอบคุณท่านผู้ปกครองทุกท่าน	 ในการที่จะ
ช่วยสร้างครอบครัวของเราให้อบอุ่นเพื่อ	“ลูก”	อันเป็นที่รักยิ่งของเรา		      	          	

                                               (นายเชิดศักดิ์ ศุภโสภณ)
                                         ผู้อ�านวยการโรงเรียนนนทรีวิทยา




                                                                                      5
การเลี้ยงดูบุตรในยุคโลกาภิวัฒน์
    ปัญหาของเด็กในปัจจุบัน
                                                      แพทย์หญิงวินัดดา ปิยะศิลป์

        	    พบปัญหาหลากหลายรูปแบบ	 จะยกขึ้นมาเฉพาะปัญหาที่เกิด
        จากการเลี้ยงดูที่เบี่ยงเบนเท่านั้น		ยกตัวอย่างเช่น

      รักสบาย	ขี้เกียจ	ขาดความกระตือรือร้น	เฉื่อยชา	
      ฟุ้งเฟ้อ	ใช้เงินเปลืองไม่เห็นคุณค่าของเงินและของที่ได้มา
      ดื้อ	เอาแต่ใจตัวเอง	เห็นแก่ตัว	ไม่ค�านึงถึง	ความรู้สึกของผู้อื่น
      ก้าวร้าว	รุนแรง	ทั้งกิริยา	วาจา	การกระท�า	รวมทั้งวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ
      ขาดระเบียบ	วินย	ไม่มมารยาท	ขาดความควบคุมตนเอง	หรือควบคุมตนเองได้นอย	
                    ั     ี                                            ้
      ใจร้อนตามใจ	ตนเองมาก		แต่ไปบังคับเรียกร้องจากคนอื่น
      คิดแก้ปัญหาต่างๆ	ไม่เป็นระบบหรือท�าได้บางส่วนขาดการวางแผน	ไม่รอบคอบ
      ขาดทักษะ	ขาดประสบการณ์	ขาดไหวพริบ
      มีข้อขัดแย้งสูง	ไม่มั่นใจในตนเอง		
      ว้าเหว่	เหงา	เบื่อหน่ายง่าย	ขาดจุดมุ่งหมาย	ฯลฯ



       จากปัญหาข้างต้นเป็นเหตุให้พ่อแม่ยุคปัจจุบันจ�าเป็นต้อง
      กลับมาพิจารณาวิถีชีวิต และวิธีการเลี้ยงดูเพื่อปรับเปลี่ยน
               ลดปัญหาต่างๆ ในเด็กให้น้อยที่สุด...



6
ปัญหาของพ่อแม่ในยุคปัจจุบัน
           1.มีความเร่งรัดและมีการแข่งขันสูง :	ในปัจจุบันเป็นยุคการแข่งขัน	การลงทุน	
เป็นยุคของการท�าธุรกิจทีตองการ	 ความรวดเร็ว	 พ่อแม่สวนใหญ่จะหมดเวลาและพลังงาน
                              ่้                         ่
ในกิจการงานต่างๆ	 การเลียงลูกในยุคนีจงกลายเป็นสิงหนึงต้องท�าให้รวดเร็วในเวลาจ�ากัด
                                 ้           ้ึ       ่ ่
ทังในด้านชีวตความเป็นอยู	่ การเรียน	การท�างาน	แม้แต่การกีฬา	หรือด้านตรี	ซึงจะยัดเยียด
   ้            ิ                                                            ่
ให้เด็กท�าให้ได้ในเวลาที่จ�ากัดขณะเดียวกันมักจะคาดหวังไว้สูง	 โดยลืมว่าพื้นฐานการ
เรียนรูในเด็กทีดควรมาจากบรรยากาศทีสนุกสนาน	ใช้	 เวลาในการซึมชับ	ให้โอกาสลองผิด
         ้         ่ ี                   ่
ลองถูก	ให้ก�าลังใจกันเป็นระยะๆ		ค่อยเป็นค่อยไปมีแบบอย่างและมีแรงจูงใจที่ดีทั้งหมด
จะส่งผลการท�าให้เด็กเฉือยชา	 ขาดความกระตือรือร้น	 ในทางตรงข้าม	 เด็กจะมีการแข่งขัน	
                            ่
ชิงดีชิงเด่นสูงความเห็นแก่ตัวได้เพิ่มขึ้น	ไม่สนความรู้สึกของคนอื่นเป็นต้น
           2.ต้องการความรวดเร็ว :	ในเวลาที่เร่งรีบ	พ่อแม่	 ส่วนใหญ่มักจะใช้เหตุผลนี้ใน
การเข้ามาช่วยเหลือเด็ก	โดยหวังว่าจะให้การท�ากิจกรรมต่างๆ	ของเด็ก	ประสบความส�าเร็จ
ในเวลา			ที่ก�าหนด	เช่น	การกิน	การแต่งตัว	การรับประทานอาหาร	การเก็บของเล่น	ฯลฯ		
แต่ลืมคิดไป	ว่าการที่พ่อแม่เข้ามาช่วยเด็ก	รวมทั้งขัดขวางพัฒนาการในการเรียนรู้	ฝึกฝน
ทักษะ	ทีสาคัญทีสดก็คอ	มาตัดโอกาสทีจะให้เด็กหัดคิดไตร่ตรอง		แก้ปญหาจากเหตุการณ์
            ่�         ุ่ ื                ่                         ั
ต่างๆ	ที่เกิดขึ้นรอบตัวทั้งหมด	จะมีผลท�าให้	เด็กช่วยตัวเอง		ไม่สมวัย	ติดอยู่กับการพึ่งพา
ผู้อื่น	 ขาดทักษะการใช้มือคิดเองไม่เป็น	 ขาดการวางแผนล่วงหน้าและที่ส�าคัญก็คือเด็ก
เคยชินกับการที่ไม่ต้องพึ่งตัวเอง	รักสบาย	ขี้เกียจขาดความกระตือรือร้นเฉื่อยชาได้
           3. มีความระเริงไปกับสิ่งอารมณ์ต่างๆ :		เช่น	แสง	สี	เสียง	ดนตรี	กีฬา	วัตถุที่
เร้าอารมณ์	 	 ความรู้สึกสิ่งของต่างๆ	 เช่น	 หลงใหลในวัตถุเครื่องใช้	 การแต่งตัวของเล่น
เครื่องเล่นเกม	เป็นต้น	ซึ่งทั้งหมด			จะเป็นแบบอย่างท�าให้เด็กเลียนแบบ	และติดอยู่กับสิง ่
ต่างๆ	 เหล่านีได้งายในชีวตของเด็กจะต้องใช้ชวตในการเล่าเรียนแสวงหาประสบการณ์แต่ก็
                  ้ ่         ิ                 ีิ
ต้องแบ่งเวลา	 ในการผ่อนคลายอารมณ์โดยผ่านการเล่นเป็นระยะจึงจะท�าให้เด็กรับสภาพ
การเรียนรู้ในสถาบันการศึกษาได้ยาวนานหน้าที่ของพ่อแม่	 นอกจากส่งเสริมสนับสนุน

                                                                                      7
การเรียนรู้ของเด็กตามวัยทั้งจากห้องเรียนและจากชีวิตประจ�าวันแล้ว	ยังต้องสอนให้เด็ก
หัดแบ่งเวลาในการผ่อนคลายหรือสามารถหาความรื่นรมย์	 จากสิ่งต่างๆ	 รอบตัว	 แต่ถ้า
เป็นการผ่อนคลายมากเกินไป	จะท�าให้เด็ก	ติดกับ		การเล่นสนุก	หรือติดของเล่นจนท�าให้
การเรียนรู้	 ด้านอื่นตกไปเช่นกัน	 ในทางตรงข้ามถ้าฝึกฝนจริงจังเกินไปแม้ในการเล่นก็จะ
ท�าให้บรรยากาศใน		การผ่อนคลายเสียไปเท่ากับไม่เพิ่มความเครียดให้มากขึ้น
         4. บรรยากาศรุนแรง : นอกจากสิงแวดล้อมต่าง	ๆทีเ่ ร่งรีบแข่งขันแล้วความเครียด
                                           ่
จากการท�างาน	การเดินทาง		ซึ่งถูกเร้าด้วยภาระหน้าที่จะเป็นการเสริมท�าให้ผู้คนปัจจุบัน
นิยม			ที่จะแสดงออกถึงความก้าวร้าวทั้งจากการกระท�าและ	ทางวาจาได้ง่ายโดยเฉพาะ
ในเด็กซึงนอกจากจะเห็นแบบอย่างลักษณะดังกล่าวจากพ่อแม่และ	ผูคนรอบข้างแล้ว		ยังมี
         ่                                                          ้
ความก้าวร้าวที่ซ่อนอยู่ในระบบสื่อสารมวลชน		เช่น	ทางโทรทัศน์ละคร	เกม	วีดีโอ	ฯลฯ	ซึ่ง
ส่วนใหญ่จะออกมาในรูปของบรรยากาศก้าวร้าวทังนัน	 ทังหมดจะหล่อหลอมท�าให้เคยชิน
                                                     ้ ้ ้
กับสิ่งเหล่านี้	และกลายกลืนเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพ
         5. ไม่มจดมุงหมายในการเลียงดู :		พ่อแม่ปจจุบนส่วนใหญ่	ยังไม่มจดมุงหมาย
                  ี ุ ่                ้                ั ั                  ีุ ่
ในการเลี้ยงดูเด็กในแต่ละช่วงอายุ	และไม่ทราบวิธีการที่จะใช้ในการฝึกเด็ก	จึงท�าให้ผลที่
ได้มาแตกต่างไปจากสิ่งที่พ่อแม่ต้องการในขณะที่เรามีคู่มือในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ	
แต่เราไม่เคยเรียนรู้หรือมีคู่มือในการเลี้ยงดูเด็กที่เหมาะสม	 ส�าหรับพ่อแม่ยุคใหม่เช่นกัน	
ต่างคนต่าง	 ก็ท�าตามสิ่งที่ตนเองเคยได้รับหรือเคยเห็นมา	 โดยไม่ทราบว่าสิ่งนั้น	 ถูกหรือ
ผิดเหมาะสมหรือไม่เหมาะสมส�าหรับเด็กแต่ละคนหรือไม่


                    ในขณะที่สังคมภายนอกเปราะบางอยู่ในระบบธุรกิจ	แก่งแย่งชิงดี	
                  หลงใหลไปกับวัตถุ	สิ่งล่อใจต่าง	เป็นระบบตัวใครตัวมัน	แข่งขัน	ถือดี	
                    จริยธรรมเสื่อมโทรม	ฯลฯ	เด็กยุคใหม่ที่จะอยู่ในสังคมที่มีลักษณะ
                                   ที่กล่าวมาข้างต้นได้จึงจ�าเป็นต้องมี		“ภูมิคุ้มกัน”
                                       หรือมี			“ความต้านทาน”	ต่อสิ่งต่างๆ	ให้ได้...


8
คุณ สมบัติของเด็ก
	 	 ที่จะประสบกับความส�าเร็จในชีวิตและมีความสุขนั้นจึงจ�าเป็นต้องมีลักษณะดัง
ต่อไปนี้		เช่น
	 1.	 พื้นอารมณ์สดใส	ร่าเริง	มองโลกในแง่ดี	รักตนเอง	และผู้อื่น
	 2.	 มีอารมณ์ขัน	สามารถเอาความผิดพลาดมาเป็นบทเรียนของชีวิตได้
	 3.	 มีทางผ่อนคลาย	มีงานอดิเรก	หรือ	มีกิจกรรมหลากหลายสามารถแสดงออกและ		
	 	 ไม่เก็บกด
	 4.	 เข้ากับคนง่าย	เข้ากับกลุ่มเพื่อนได้หลากหลาย
	 5.	 เข้าใจจุดแข็ง	และจุดอ่อนของตัวเอง	และรูจกพัฒนาตนเองรูวาตนเองมีคณค่า
                                               ้ั             ้่        ุ
	 6.	 เรียนรูสวนดีและส่วนไม่ดของคน	รูจกและแยกแยะสิงถูก-ผิด	ชัว-ดี	รับฟังความคิด	 	
               ้่              ี       ้ั              ่         ่
	 	 เห็นของผู้อื่น
	 7.	 ช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามวัย
	 8.	 แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้		ในทางสร้างสรรค์		ยืดหยุ่น	ปรับตัวได้ดี
	 9.	 จิตใจเข้มแข็ง		มั่นคง		และมีความอดทนต่อแรงกดดัน
	 10.	 เป็นของตัวเอง	(มิใช่เอาแต่ใจตนเอง)		มั่นใจในตนเอง
	 11.	 มีความพยายาม		มีจุดมุ่งหมายและมีค่านิยมที่ถูกต้อง
	 12.	 รู้จักวางแผนล่วงหน้า
	 13.	 รับผิดชอบต่อตนเอง		หน้าที่และผู้อื่น		อยากช่วยเหลือสังคม
	 14.	 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์	ฯลฯ	




              ซึ่งทั้งหมดเป็นผลมาจากการเลี้ยงดูที่เหมาะสม
              ข้อ 1-5 จะท�าให้เด็กมีความสุข
              ข้อ 6-14 เป็นพื้นฐานที่ท�าให้เด็กประสบกับความส�าเร็จในชีวิต


                                                                                 9
หลักเกณฑ์ใ นการอบรม
	     1.	 ให้ความรัก	ความอบอุ่นอย่างเหมาะสม
	     2.	 ท�าให้ครอบครัวมีความสุข	บรรยากาศสดชื่น	ร่าเริง
	     3.	 ท�าความเข้าใจธรรมชาติของเด็กแต่ละวัย
	     4.	 เลี้ยงลูกด้วยตนเอง
	     5.	 ช่วยเด็กพัฒนาความสามารถตามวัย	(ตรงกับพัฒนาการในแต่ละขั้นตอน)
	     6.	 ช่วยให้เด็กมีความสุขที่ดีต่อตนเอง	และผู้อื่น
	     7.	 ส่งเสริมให้เด็กมีความส�าคัญของตนเองไม่น้อยกว่าคนอื่น
	     8.	 ส่งเสริมให้เด็กได้คิดแบบมีหลักการ	และเหตุผลให้โอกาสลองท�าและช่วยชี้แนะ	
	       	 เมื่อเด็กตัดสินใจผิดพลาดเพื่อฝึกให้เด็กหัดแก้ปัญหาที่ตามมา
	     9.	 ส่งเสริมให้เด็กสามารถรู้สึกสนุกสนาน	ผ่อนคลายในขณะที่เรียนรู้สิ่งต่างๆ	
	    10.	 สม�่าเสมอ	นุ่มนวล	เข้าใจความรู้สึก	แต่มีขอบเขตชัดเจน	ยืดหยุ่นได้เล็กน้อย




10
การอบรม                     เลี้ยงดูเด็ก


	      ผูทเี่ คยเลียงดูเด็กคงทราบดีวา	ปัญหาเกียวกับพฤติกรรมของเด็กเกิดขึน		ได้เสมอ	ๆ	
         ้         ้                ่         ่                         ้
และผู้ใหญ่จ�าเป็นต้องมีวิธีการในการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม	 มีแรงเสริมเพื่อเพิ่ม
พฤติกรรมที่เหมาะสมให้ความสนใจเมื่อเด็กสามารถควบคุมตัวเองได้
	      พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม	 หรือพฤติกรรมที่เราไม่ต้องการ	 เช่น	 พฤติกรรมก้าวร้าว
รุนแรง	ไม่ยอมท�าตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย	เป็นต้น	วิธีการตอบสนองต่อพฤติกรรมดัง
กล่าว	คือ

     1. การใช้เหตุผล
	    	 :	ควรท�าอย่างตรงไปตรงมาใช้ค�าพูดที่ง่ายแต่สั้นไม่ยืดยาว
     2. การใช้ท่าที่หนักแน่น และจริงจัง
	    	 :	บางครั้งต้องใช้ท่าทางหรือลงมือท�าร่วมกับเด็ก
     3. การใช้สิ่งอื่นมาทดแทน
	    	 :	เช่น	ขณะที่ห้ามท�าสิ่งหนึ่งควรมีทางอื่นอีก	2	–	3	อย่างให้เด็กมีโอกาสเลือก
     4. ให้โอกาส
	    	 :	แสดงความคิดเห็น	และความรู้สึกออกมาทางค�าพูดหรือท่าทางได้
     5. การให้รางวัล
	    	 :	เมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมโดยที่รางวัลนั้นอาจเป็นการกอด	ยิ้ม	จับ	
	    	 		ไหล่	ฯลฯ	ไม่จ�าเป็นที่รางวัลหรือสิ่งของเสมอไป
     6. การเลิกให้ความสนใจ เพราะธรรมชาติของเด็กทุกคน ต้องการความ
สนใจจากผู้อื่นถ้าเด็กท�าพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
	    	 :	เลิกให้ความสนใจ	เมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่ดีขึ้นควรให้ความสนใจต่อเด็กทันที
     7. เป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็ก


                                                                                  11
8. การลงโทษ
	       	 :	 ควรระวังในความรุนแรง	 เพราะอาจไปท�าร้ายร่างกายเด็กได้	 และไม่ควร
ลงโทษโดยใช้อารมณ์	 เนื่องจากจะท�าให้การลงโทษรุนแรงเกินกว่าเหตุ	 ควรใช่วิธีการอื่น
ในการแก้ปัญหาพฤติกรรมของเด็กก่อน	และเวลาใช้ควรแสดงให้เด็กเห็นว่าเราต้องการที่
จะหยุดพฤติกรรม	ที่ไม่เหมาะสมเท่านั้น	และพร้อมที่จะหยุดการลงโทษ	เมื่อเด็กสามารถ
ควบคุมตัวเองได้	 การลงโทษมีหลายวิธี	 เช่น	 การดุว่า	 การแยกตัว	 เด็กออกไปอยู่ตาม
ล�าพัง	การปรับ	การตี	เป็นต้น




                                 วิธการข้างต้นที่กล่าวมาอาจเลือกใช้เป็นกรณีๆ ไป
                                    ี
                         พยายามหลีกเลี่ยงการลงโทษให้มากที่สุด เพราะสามารถท�าให้
                                                     เด็กเกิดความรู้สึกต่อต้านได้




12
เมื่อ
 “ลูก”
  เป็น
“วัยรุน”
       ่
           13
ธรรมชาติของวัยรุ่น
     การคบเพื่อนต่างเพศมิใช่เรื่องแปลกประหลาดในสังคม
     มีความเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายจิตใจ	อารมณ์	สังคม	และฮอร์โมนทางเพศ
     รักความเป็นอิสระ
     อยากลอง	อยากรู้
     ค้นหาเอกลักษณ์ของตนเอง
     ชอบแสดงออก




14
ความอบอุ่นที่ควรให้
เห็นคุณค่าในตัวลูก
ไม่เปรียบเทียบกับพี่	น้อง	และคนอื่น
ให้ก�าลังใจ	ไม่ซ�้าเติมเมื่อผิดพลาด
โอบกอด	ให้ค�าปรึกษา	พาไปเที่ยว
แสดงความดีใจเมื่อลูกประสบความส�าเร็จ
ให้อิสระทางความคิด	และยอมรับฟังความคิดเห็นของลูก
ท�ากิจกรรมร่วมกับลูกตามโอกาสอันควร
สร้างบ้านนี้ให้มีแต่รอยยิ้ม
ไม่ควรละเลยเมื่อลูกมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป
ให้ของขวัญตามโอกาสอันควร




                                                   15
รู้ซึ่งถึงจิตใจ
ลองมารู้จักจิตใจของวัยรุ่นว่าเป็นอย่างไร


      ต้องการความรัก	ความอบอุ่น
      ต้องการการยอมรับ
      ต้องการความสนุกสนาน	ร่าเริง
      มีอุดมคติสูง
      อ่อนไหวง่าย	ชอบเพ้อฝัน
      ผูกพันกับเพื่อน




16
ท่านพูดประโยคต่อไปนี้
                        บ่อยแค่ไหน                       ?
                                           “พ่อ	แม่	รักลูกนะ”
                                     “ไม่เป็นไร...เริ่มใหม่ได้”
                                        “เชื่อว่าลูกท�าได้แน่ๆ”
                              “พ่อ	แม่ภูมิใจในตัวลูกมากนะ”
                    “มีเรื่องอะไรทีท�าให้ลูกไม่สบายใจหรือ”
                                    “ดืมาก...ที่ลูกท�าถูกแล้ว”
                                       “ดีใจมากที่ลูกมีน�้าใจ”
                     “ลูกลองคิดดูซิว่าเรื่องนี้ควรท�าอย่างไร”
              “ลูกน่ารักมากที่จัดของเข้าที่เดิมได้เรียบร้อย”
                               “ขอบใจที่ลูกช่วยแม่ประหยัด”
ใช้ค�าว่า	“สวัสดี”		“ขอบคุณ”		“ขอโทษ”	ให้ลูกติดเป็นนิสัย



                                                             17
บอกเล่า “สิ่งดีๆ”
     ที่ “ควรท�า”
      ฝึกให้ลูกเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น
      รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
      ใช้ค�าพูด	 และแสดงท่าทางได้เหมาะสมกับโอกาส	 เวลา	 และสถานที่	
      มองตนเองและผู้อื่นในแง่ดี
      มีความเอื้ออาทร
      รู้จักรับผิดชอบ
      รู้จักอดทน	อดกลั้น
      ให้ตัวอย่างของการต่อสู้ชีวิตจนประสบความส�าเร็จ



18
“เพื่ออนาคตลูก”
  สรรค์สร้างความรักและ
 ความอบอุ่นในครอบครัว


                     19
“การสอนคนให้เก่งนี้...จะต้องอบรมให้ดีพร้อมกันไปด้วย	 ประเทศของ
เราจึงจะได้คนดีมีคุณภาพ	คือทั้งเก่งทั้งดี	มาเป็นปัจจัยส�าคัญของบ้านเมือง...
ให้ความเก่งเป็นปัจจัยและพลังการสร้างสรรค์ให้ความดีเป็นปัจจัยและพลังประ
คับประคองหนุนน�าความเก่งให้ไปในทิศทางที่ถูกที่ควร	 ที่อ�านวยผลประโยชน์
อันพึงประสงค์...”

                                      พระบรมราโชวาท
                        พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช




20
ท�าไมต้อง
                                                                  ดูแล
                                                              ช่วยเหลือ?
                                                           นักเรียน
      ปัจจุบันมีปัญหาการใช้ความรุนแรงทางกายภาพที่ชัดเจนมากระทบต่อเด็ก
และเยาวชนหลายประการ เช่น
	 ความรุนแรงในครอบครัว	 โดยผู้ที่ตกเป็นเหยื่อมักจะเป็นสตรีและเด็กที่ถูกท�าร้าย
และถูกคุกคามทางเพศ
	 ความรุนแรงในชุมชน	 ซึงคุกคามความสงบและความมันคงของชุมชน	 ส่วนใหญ่เป็น
                           ่                          ่
เรืองการลักทรัพย์	การระบาดของยาเสพติด	การใช้อาวุธ	และการต่อสูกนเองของแก๊งค์วยรุน
   ่                                                         ้ั             ั ่
	 ความรุนแรงจากอาชญากรรมในสังคม	 ที่ส�าคัญ	 คือ	 การค้ายาเสพติด	 การค้าคน	
การพนัน	การค้าอาวุธ	และการหลอกลวงทางสื่อเทคโนโลยีต่างๆ


                         หากบุตรหลานถูกปล่อยปละละเลย อาจท�าให้ได้รับผลจากความ
                รุนแรงเหล่านี้ได้ ดังนันผู้ปกครองต้องดูแลเอาใจใส่บุตรหลานของตน
                                       ้
                ซึ่งเป็นไปตามหน้าที่และตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา
                1564 ที่ระบุว่า “บิดามารดาจ�าต้องอุปการะเลี้ยงดู และให้การศึกษาตาม
                สมควรแก่บุตรในระหว่างที่เป็นผู้เยาว์....” รวมทั้งสอดคล้องกับพ.ร.บ.
                การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 22 ที่ก�าหนดว่า “...ส่งเสริมให้ผู้
                เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ”


                                                                                     21
พ่อแม่ ต้นแบบ
                                             มองโลกในแง่ดี


         รู้จักแก้ปัญหา
         ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
         อารมณ์มั่นคง
         รักเข้าใจ	และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น
         คิดดี	พูดดี	ท�าดี

         ไม่เครียด
         กล้าคิด	กล้าท�า	กล้าตัดสินใจ
         มีความคิดเห็นในทางบวก	ชอบ
         และมองคนอื่นในแง่บวก




22
ร่าเริงแจ่มใส	อารมณ์ดี
                 มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
                 แสดงความรู้สึกอย่างเปิดเผย
                 ไม่ปิดบังความลับต่อพ่อแม่

                 สบายใจ
                 อบอุ่นใจ
                 ไว้วางใจ
                 อยากใกล้ชิดและมีความสุข

ยิ้มแย้มแจ่มใส



                                              23
วัยรุ่นยุคนี้
             เป็นอย่างไร

     	            ปัจจุบันสภาพสังคมมีวัฒนธรรมแบบบริ โ ภคนิ ย ม	 เด็ ก วั ย รุ ่ น จึ ง
     มี ค ่ า นิ ย มอยากรวยเร็ว	ส่วนใหญ่ผู้ปกครองเลี้ยงลูกแบบหลงลูกมากกว่า
     รักลูก	 ไม่ฝึกให้ลูกท�างาน	 จึงท�าให้เด็กสมัยนี้ไม่ชอบท�างานและไม่มีเป้า
     หมายในชีวิต
     	            เด็กวัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการท�างานเบาที่ สุ ด 	 เพื่ อ ไปสู ่ ค วามสุ ข
     จึงมีคานิยมฟุงเฟ้อ	หาเงินด้วยการเล่นการพนันขายตัว	หรือขายยาเสพติด	
              ่         ้
     เพื่อให้ได้เงินใช้เร็วๆ	โดยไม่ลงแรงมาก




                                                   ดังนัน	ผูปกครองจึงต้องอบรมดูแลสอน
                                                        ้ ้
                                                       เด็กให้รจกตังเป้าหมายในชีวิตที่
                                                               ู้ ั ้
                                                   เหมาะสม	มีความมุ่งมั่นในการท�างาน	
                                                    เพื่อไปสู่เป้าหมาย	มีความสามารถ
                                                   สร้างสรรค์สิ่งที่เป็นประโยชน์	มีศรัทธา	
                                                    มั่นคงในคุณความดี	มีเหตุผลฉลาด	
                                                   แจ่มใส	เกิดความรับผิดชอบต่อตนเอง
                                                                    และสังคม


24
การอบรมเลี้ยงดู          วัยรุ่น
เด็กคนใดมีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย	
จิตใจ	อารมณ์	สังคมและสติปัญญาครบ
ทุกด้านก็อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข	
ไม่สร้างปัญหาให้ครอบครัวและสังคม	
ผู้ปกครองจ�าเป็นต้องรู้จักวิธีอบรม
เลี้ยงดูวัยรุ่นอย่างถูกวิธี

 ด้านอารมณ์และจิตใจ                       ด้านร่างกาย
 ให้ก�าลังใจและความรัก                    ดูแลให้อาหาร
 ให้ความอบอุ่นและปลอดภัย                  ดูแลให้ที่อยู่
 รับฟังความคิดเห็นและสมเหตุผล             ดูแลให้เครื่องนุ่งห่ม
 ให้เวลา	ให้ค�าปรึกษา                     ดูแลสุขภาพ
 ส่งเสริมคุณธรรม	จริยธรรม

                                                 ด้านสติปัญญา
                                                 ให้โอกาสได้รับการศึกษา
                                                 ส่งเสริมให้มีความสามารถ
                                                 เฉพาะทาง
                                                 ส่งเสริมให้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
                                                 ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
                                                 ด้านสังคม
                                                 ให้โอกาสร่วมกิจกรรม
                                                 ให้โอกาสตัดสินใจและแก้ปัญหา
                                                 ฝึกทักษะการเข้าสังคม
                                                 มีความเป็นประชาธิปไตย
                                                 ให้มีค่านิยมที่เหมาะสม

                                                                               25
ลูกคิดอะไร
              เมื่อได้รับสื่อ
     	        ครอบครัวควรมีเวลาดูโทรทัศน์ร่วมกับเด็ก	 เลือกรายการ
     ที่ดี	มีความรู้	มีประโยชน์ต่อพัฒนาการของเด็ก
     	        แต่ถ้าจ�าเป็นต้องดูรายการที่เลือกไม่ได้	 ผู้ปกครองต้อง
     ฝึกให้เด็กพิจารณาแยกแยะสาระของรายการโทรทัศน์ร่วมกับ
     ตน	เพื่อรู้เท่าทันสังคมในด้านต่างๆ
     	        การปฏิบัติเช่นนี้เป็นวิธีการหนึ่งในการสร้างความอบอุ่น
     ในครอบครัว	 ผู้ปกครองต้องรับฟังว่า	 “ลูกพูดอะไร” “ลูกคิด
     อะไรอยู่”	ร่วมกันพิจารณาว่าสิ่งที่ลูกคิดจะเกิดผลอะไร
     	        นอกจากสือโทรทัศน์แล้วยังมีสอประเภทอืนๆ	อีก	เช่น	สือ
                         ่                   ื่           ่         ่
     สิ่งพิมพ์ต่างๆ	วีดีทัศน์	อินเตอร์เน็ต	เป็นต้น	ซึ่งผู้ปกครองควรให้
     ความเอาใจใส่เช่นกัน


26
เมื่อลูก
                                                             พลาดพลั้งไป
ผู้ปกครองควร :
	      รับฟังเหตุผล	ไม่ลงโทษรุนแรง	ชี้แจงให้เห็นผลที่เกิดขึ้น
	      ร่วมกับเด็กคิดหาทางเลือกในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
	      ให้เด็กระบายความโกรธ	ความก้าวร้าว	ความไม่พอใจ	
	      ด้วยวิธการทีเ่ หมาะสม	เช่น	เล่นกีฬา	เล่นดนตรี	และมีงาน	
              ี
	      อดิเรกตามความสนใจ
	      จัดกิจกรรมให้เด็กมีส่วนร่วมในการพูดคุย	แสดงออก	และ	
	      มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นเพื่อการปรับตัวที่ดี
	      ชื่นชมยินดีหรือให้รางวัลเมื่อเด็กมีพฤติกรรมดีขึ้น

                    	      จากการเปิดใจของนักเรียน	 ในผลการวิจยพบว่า	 พฤติกรรมที่
                                                                ั
                    พ่อแม่กระท�าแล้วเด็กเกิดความรู้สึกดีๆ	อย่างมาก	คือ	การโอบไหล่	
                    กอดจูบ	การให้ค�าปรึกษา	และการพาไปเที่ยว	รองลงมาคือ	การซื้อ
                    ของขวัญให้	 ถามสาระทุกข์สุขดิบเสมอ	 แสดงความดีใจเมื่อเด็ก
                    ประสบความส�าเร็จ	อบรมสั่งสอนเด็กด้วยความเมตตา	และการให้
                    ความรักความอบอุ่นในครอบครัว




                                                                               27
พ่อแม่ท� า ได้
      พฤติกรรมของพ่อแม่มักถ่ายทอดไปยังลูก ก่อให้เกิดอุปนิสัยเฉพาะตัว
ของลูก พ่อแม่จึงควร
         ร่วมวางแผนอนาคตของลูก
	     	 ไต่ถามเรื่องที่โรงเรียน
	     	 เข้าร่วมประชุมผู้ปกครอง
	     	 ร่วมกิจกรรมของโรงเรียนการอบรมลูก
	     	 ไม่ควรเข้มงวดหรือหย่อนยานจนเกินไป
	     	 ใส่ใจวิธีสอน	ปรึกษาหารือกับอาจารย์	เมื่อรู้สึกมีปัญหา
	     	 ให้ความส�าคัญกับระบบการศึกษา	และคุณภาพของอาจารย์	ปลูกฝังอุปนิสัย	
	     	 ให้เป็นคนดี	มีคุณธรรมประจ�าใจ	ตั้งแต่วัยเด็ก	ช่วยส่งเสริมให้ลูกให้หลานให้	 	
	     	 สามารถท�างาน	จนประสบความส�าเร็จ




28
29
สิทธิที่จะมีชีวิตอยู่รอด


สาระว่าด้วย
กฎหมายคุ้มครอง
สิทธิเด็ก




ลูก     :	 แม่ขา	หนูมีเรื่องจะปรึกษา
แม่     :	 ได้ซิลูก	มีอะไรหรือ
ลูก     :	 คือ	พิมเพื่อนหนู	เขาท้องค่ะ...แล้วแฟนเขาบังคับให้พิมท�าแท้งด้วย...เขาก็มา	 	
	       	 ถามหนูว่าจะท�าอย่างไรดี
แม่     :	 ไม่ได้หรอกลูก	มันบาปนะ...อันตรายต่อชีวิตพิมมาก	แล้วนอกจากนั้นยังผิด	 	
	       	 กฎหมายอีกด้วย


                    ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 301 : “หญิงใดท�าตนเองแท้งลูก
                    ต้องระวางโทษจ�าคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท”

30
สิทธิที่จะไม่ถูกละเมิดทางเพศ

การข่มขืนกระท�าช�าเรา
	      หากกระท�ากับเด็กอายุไม่เกิน	 13	 ปี,	 15	 ปี	 และเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส	
โทษสูงสุด	 จ�าคุก	 20	 ปี	 ปรับตั้งแต่	 30,000	 –	 40,000	 บาท	 หรือจ�าคุกตลอดชีวิต	
และหากถึงแก่ความตาย	โทษประหารชีวิตหรือจ�าคุกตลอดชีวิต
	      โทรมเด็กหญิง	 กระท�าโดยมีอาวุธ	 โทษสูงสุดประหารชีวิต	 หรือจ�าคุกตลอดชีวิต
และถ้าเด็กตายโทษประหารชีวิต

การท�าอนาจาร
	     กระท�ากับเด็กอายุไม่เกิน	15	ปี	ยินยอมหรือไม่ก็ตาม	โทษจ�า/ปรับ
	     ขู่เข็ญ	ใช้ก�าลัง	ไม่สามารถขัดขืน	โทษจ�าคุกไม่เกิน	15	ปี	หรือปรับไม่เกิน	30,000	
บาท	หรือทั้งจ�า/ปรับ

กระท�าช�าเรา
	       เด็กหญิงอายุไม่เกิน	13	ปี/15	ปี	 เป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส	โทษสูงสุดจ�าคุก
ตลอดชีวิต	และหากถึงแก่การตายโทษสูงสุดประหารชีวิต
	       การเป็นธุระจัดหาหญิงไปเพื่อการส�าเร็จความใคร่ของผู้อื่น	 เด็กหญิงอายุไม่เกิน	
15	ปี	โทษสูงสุดจ�าคุก	15	ปี	และปรับกระท�าโดยใช้อุบายหลอกลวง	ข่มขืนใจ	จ�าคุก	20	ปี	
หรือตลอดชีวิต	หรือประหารชีวิต




                                                                                   31
พ่อแม่	 ผู้ปกครอง	 ควรหมั่นสังเกตอาการผิด
     ปกติของบุตรหลานในการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน	 ซึ่ง
     อาจจะเป็นลางบอกเหตุร้าย	 หรือภัยที่จะกล�้ากลาย
     มาสู่เด็กๆ	 ถ้าผู้ปกครองรู้เท่าทันอาจหาวิธีป้องกัน
     ก่อนเหตุร้ายจะเกิดขึ้น




                                                                        แต่งต่อล่อแหลม
                        อาการบอกเหตุ                       กินอาหารมาก/น้อยผิดปกติ
                                                             เก็บตัว	เศร้าซึม	ไม่เว้นวัน
                                                                       กลับบ้านผิดเวลา
                                                       เล่นอินเตอร์เน็ตหามรุ่มหามค�่า
                                                ทุ่มเทเวลาแต่งตัวสวยงามเกินสมควร
                                              สนิทสนมกับเพื่อนบ้านบางคนเป็นพิเศษ
                                                            ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเกินสมควร
                                                        มีพฤติกรรมหลงท�าตามเพื่อน
                                                    หมกมุ่นกับการพูดคุยทางโทรศัพท์
     กันก่อนเกิดเหตุ


       ร่วมกันกับลูกวางแผนการใช้เวลาแต่ละวัน
       ร่วมกันวิเคราะห์วิจารณ์	และเลือกใช้สื่อ/เทคโนโลยี
       ใช้เวลาว่างท�ากิจกรรมในครอบครัวร่วมกัน
       รับฟังปัญหาให้ค�าปรึกษาแบบมิตรที่ดี
       วางแผนค่าใช้จ่ายครอบครัวร่วมกัน


32
สาระว่าด้วย
                                             กฎหมายคุ้มครอง
                                                                  สิทธิเด็ก
     สิทธิในการได้รับการเลี้ยงดู
    และได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน




ป๊อก	   :	 แม่ครับ	โรงเรียนมัธยมศึกษาข้างบ้านเราเขาเปิดรับนักเรียนแล้ว	ให้ผมไปสมัคร
	       	 ชั้นม.1	นะครับ
แม่	    :	 ไม่ต้องเรียนแล้วแกน่ะ	 ออกมาช่วยแม่ท�างานที่โรงงาน	 หรือไปช่วยพ่อเขาตัด
	       	 อ้อยเถอะ
ป้า	    :	 ไม่ได้นะ...!	 ไม่ให้ลูกชายเรียนต่อไม่ได้	 เพราะป๊อกยังอยู่ในวัยต้องเรียนระดับ
	       	 การศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับ	9	ปี
แม่	    :	 อ้าว...!	แล้วใครจะช่วยฉัน
ป้า	    :	 ก็ต้องช่วยกันหาวิธีการแก้ปัญหานี้แหละ	 แต่ถ้าไม่ให้ลูกเรียนผิดกฎหมาย	 และ
	       	 ต้องถูกปรับด้วยนะ
ป๊อก	   :	 ถ้างั้นแม่ให้ผมเรียน	 กศ.น.	 นอกเวลาท�างานนะครับ	 และผมก็ช่วยกันท�างานที่
	       	 บ้านเราได้

	       พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ	 พ.ศ.2545	 มาตรา	 6	 และ
มาตรา	 13	 :	 ให้ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา	 ผู้ปกครองที่ไม่
ปฏิบัติตามต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท

                                                                                      33
สาระว่าด้วย
กฎหมายคุ้มครอง                                          สิทธิที่จะไม่ถูกละเมิดทางเพศ

สิทธิเด็ก
ลุงสิงห์   :	 เดี๋ยวนี้...มีข่าวเด็กถูกข่มขืนบ่อยเหลือเกิน
ลุงช่วง    :	 นั่นนะซิ...สังคมเราแย่ไปกันใหญ่แล้ว
ลุงสิงห์   :	 แล้วพวกเราจะช่วยกันอย่างไรดีล่ะ
ลุงช่วง    :	 เราต้องช่วยกันตักเตือนลูกหลานของเราให้แต่งตัวมิดชิด	อย่าประเจิดประเจ้อ			
	          	 ยั่วยุนักซิ
ลุงสิงห์   :	 การไปในที่เปลี่ยวๆ	ลับหู	ลับตาคนตามล�าพังก็เหมือนกัน	ต้องบอกให้ระวัง	 	
	          	 ตัวตลอดเวลา	ด้วยนะ
ลุงช่วง    :	 ใช่...เราอย่าปล่อยลูกหลานให้ไปคนเดียวในที่เปลี่ยว	 หรือในเวลาค�่ามืด	 ถ้า
	          	 จ�าเป็นก็ต้องให้มีใครไปเป็นเพื่อนด้วยก็แล้วกัน
ลุงสิงห์   :	 อย่างไรก็ตาม	พ่อแม่	ผู้ปกครองควรมีความรู้เรื่องกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิเด็กที่
	          	 จะไม่ถูกละเมิดทางเพศบ้างนะ




34
พ่อแม่ท� า ได้
	     พาลูกไปนอกบ้าน	หรือไปเยี่ยมเพื่อนฝูงเป็นครั้งคราว
	     ทิ้งงานทุกอย่างเพื่อลูกได้	ความสุขของลูกคือสิ่งส�าคัญที่สุด
	     ให้ความสนใจการแสดงออกทางอารมณ์และความคิดของลูก
	     หากเกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์รีบป้องกัน	แก้ไขตั้งแต่เนิ่นๆ
	     ครอบครัวที่พ่อแม่ขัดแย้งกัน	ถ้าทุบตีกันให้เด็กเห็น	เด็กจะมีความกลัว
	     ไม่ลงโทษโดยการดุด่า	ทุบตี	ควรอธิบายให้เด็กรู้ว่าไม่ควรกระท�าโดยบอกเหตุผล




                                                                            35
ส่งเสริมลูกหลาน
ตามความสามารถ
	      การให้ ค วามรู ้ แ ละประสบการณ์ แ ก่ ลู ก หลานของเรามี
ความส�าคัญที่สุด	ผู้ปกครองสามารถส่งเสริมให้เขาสามารถพัฒนา
ตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ	 โดยต้องตระหนักว่า
มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า	 มีปัญญาความสามารถหลายด้าน	
แต่อาจมากน้อยต่างกันในแต่ละด้าน	ได้แก่




36
ความสามารถด้านปัญญา                         การพัฒนาส่งเสริม

ด้านภาษา	                         ฝึกการเขียนบทกวี	ค�าประพันธ์	จดบันทึก	ผสม
	 	                               ผสานค�า	 และการออกเสียงทั้งภาษาไทยและ
	 	                               ต่างประเทศ
ด้านตรรกะและคณิตศาสตร์	           ฝึกการนับเลข	 ฝึกคิดเลขในใจ	 ฝึกใช้และคิด
	 	                               สูตรมาทดแทนการนับ	 ฝึกคิดเป็นเหตุเป็นผล	
	 	                               ฝึกการคิดแก้ปัญหาและการคิดวิเคราะห์
ด้านมิติ	                         ฝึกการจินตนาการ	 คิดสิ่งใหม่ๆ	 การวาดภาพ
	 	                               ตามความคิด	 การประดิษฐ์รูปทรงต่างๆ	 การ
	 	                               วาดภาพและระบายสี
ด้านมนุษย์สัมพันธ์                ฝึกให้ท�ากิจกรรมเป็นกลุ่ม	 ยอมรับฟังความคิด
	 	                               เห็นของผู้อื่น	ฝึกการรับรู้	 แลกเปลี่ยนความคิด
	 	                               เห็นกับผู้อื่น
ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว	 ฝึกการออกก�าลังกาย	 บริหารร่างกาย	 การ
	 	                          เคลื่อนไหวร่างกายที่ถูกต้อง	ฝึกเล่นกีฬาที่ถนัด
ด้านดนตรี	                        ฝึกการร้องเพลง	 ฟังเพลง	 เคาะจังหวะตาม
	 	                               เพลง	เลียนแบบการพูดจากวิทยุ	โทรทัศน์	
ด้านการเข้าใจตนเอง	               ฝึกสมาธิ	 ส�ารวจอารมณ์ตนเอง	 ฝึกสังเกต
	 	                               พฤติกรรมต่างๆ	ของมนุษย์
ด้านธรรมชาติ	                     ฝึกการร่วมกิจกรรมรณรงค์อนุรักษ์ธรรมชาติ	
	 	                               การปลูกและดูแลต้นไม้	 การเลียงสัตว์	 และดูแล
                                                              ้
	 	                               สัตว์เลี้ยง




                                                                               37
พ่อแม่ต้นแบบ
	     ในการดูแลช่วยหลือนักเรียน	 พ่อแม่	 ผู้ปกครองและชุมชนเป็นได้ทั้งแหล่งเรียนรู้	
และบุคคลตัวอย่างได้
	     การส่งเสริมให้ลูกหลานมีวุฒิภาวะทางอารมณ์	ศีลธรรมและจริยธรรม	ดังนี้




                              พฤติกรรมพ่อ แม่
                              ผู้ปกครอง ชุมชน


       พฤติกรรมของลูกหลาน                      ความรู้สึกของลูกหลาน




38
อันตราย – ภัยพาล
                                          ระวัง!	มือมีดดักจี้มือถือนักศึกษา
 อินเตอร์เน็ตเป็นผู้ร้ายที่ไม่มีตัวตน

  เด็กมัธยมเร่ขายบริการทางเพศ

ผลวิจัยพบข้อสังเกตวัยรุ่นเคยเสียสาว


    ผีพนันบอลเข้าสิงนักเรียนยิงตัวตายหนีหนี้

 ขโมยเงินเพื่อนเอาไปซื้อของฟุ่มเฟือย

                       ยิงครูตายแค้นประจานหน้าห้อง
                                                                        วัยรุ่น
                                	         วัยรุ่น	เป็นวัยที่ก�าลังก้าวพ้นจากความเป็นเด็ก
                                เข้าสู่วัยผู้ใหญ่	 เป็นเด็กก็ไม่ใช่ผู้ใหญ่ก็ไม่เชิง	 อายุ
                                ประมาณ	 13	 –	 18	 ปี	 มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทาง
                                ร่างกาย	จิตใจ	อารมณ์	สังคมและฮอร์โมนทางเพศ	รูป
                                ร่างและสรีระก็แปลกไป	จิตใจก็ว้าวุ่น	คิดแปลกๆ	การ
                                เปลี่ยนแปลงทางกายเป็นเรื่องปกติ	 แต่ทางด้านจิตใจ
                                ของวัยรุ่น	 ถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจก็ท�าให้เกิดปัญหาต่างๆ	
                                เช่น	 การก้าวร้าว	 เกิดอารมณ์ความรู้สึก	 หรือระบาย
                                อารมณ์กับผู้อื่น


                                                                                            39
พ่อแม่
     ต้นแบบ

 รู้จักเลือกภาษาในการอบรมสั่งสอนอย่างเหมาะสม

     มีสัมพันธภาพที่ดีกับพ่อแม่      รู้สึกพอใจ
     รู้จักการให้เกียรติผู้อื่น      สบายใจ
     รู้จักกาลเทศะ

                                       แก้ไขปัญหาด้วยการประนีประนอม


                       รู้จักใช้เหตุผล                  สบายใจ
                       มองโลกในแง่ดี                    เชื่อมั่นในตัวพ่อแม่
                       รู้จักผ่อนหนักเป็นเบา            รู้สึกปลอดภัย
                       ไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา


40
เป็นผู้มีการวางแผนในการด�ารงชีวิตที่ดี

เป็นผู้มีการวางแผนในการด�ารงชีวิตที่ดี   ชื่นชม	ภาคภูมิใจ
เป็นคนไม่ประมาท                          รักและอยากท�าตามพ่อแม่
รู้จักตัดสินใจและแก้                     สบายใจ	และรู้จักวางแผนการท�างาน
ปัญหาอย่างมีระบบ
มีความพยายาม
อดทนมีเป้าในในการเรียน
และการด�าเนินชีวิต
เชื่อมั่นภูมิใจในตนเอง


                                สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้

                     รู้จักยับยั้งชั่งใจ           ไม่เครียด
                     มีเหตุมีผล                    ไม่กลัว
                     รู้อารมณ์และแสดง              สบายใจ	และรู้สึกปลอดภัย
                     ออกได้อย่างเหมาะสม
                     มีความมั่นคงทางอารมณ์
                     มีความอดทน	อดกลั้น




                                                                             41
พ่อแม่
        ต้นแบบ                                   มีอารมณ์ขัน

                   มองโลกในแง่ดี                           ร่าเริง	แจ่มใส
                   มีความสุข                               ไม่เครียด
                   มีความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพ        สนุกสนาน
                   เป็นที่ชื่นชอบของคนทั่วไป               อารมณ์ดี
                                                           มีความรู้สึกอบอุ่น

                        ให้ความรักความห่วงใยเอื้ออาทร


     รักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น   มีความสุข
     มีสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น         อารมณ์ดี
     เชื่อมั่นและภาคภูมิใจในตนเอง        สบายใจ
     มองโลกในแง่ดี                       รู้สึกอบอุ่น
     รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่            รักพ่อแม่
     มีความกตัญญูกตเวที                  และคนอื่น




42
เป็นที่ปรึกษาที่อบอุ่นปลอดภัย


            มีความมั่นคงทางอารมณ์                               รักพ่อแม่
            มีความสามารถในการแก้ปัญหาและปรับตัว                 ปลอดภัยและไว้วางใจ
            รู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น                           อบอุ่นใจ
            รู้จักไว้วางใจผู้อื่น                               มั่นใจ
            มองโลกในแง่ดี


                                 มีเมตตาช่วยเหลือผู้อื่น


มีจิตใจอ่อนโยน	ยอมรับผู้อื่น                    ชื่นชม
มีความเอื้อเฟื้อ	เผื่อแผ่                       ภาคภูมิใจ
และภาคภูมิใจในตนเอง                             มีความสุข
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น                  เข้าใจ
มีความเสียสละและรู้จักแบ่งปัน                   มั่นใจผู้อื่น
                                                เอื้ออาทร
                                                ประทับใจ




                                                                                 43
พ่อแม่
     ต้นแบบ
                       ท�ากิจกรรมในครอบครัวร่วมกัน

     มีความพึงพอใจในชีวิตและครอบครัว   มีความสุข
     มีความส�านึกดี                    อบอุ่น	
     ปรองดองในครอบครัว                 มีความรักใครผูกพันในครอบครัว
     มีความรักและช่วยเหลือกัน
     มีความสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน




44
ตัวอย่างกิจกรรมส�าหรับครอบครัว
                                    ครอบครัว                       4ก
กิจกรรมครอบครัว 4 ก นี้ ท�าได้ไม่ยาก จัดกิจกรรม ดังนี้
        ก 1	คือ	กิน	อย่างน้อยวันละ	1	มื้อ	พ่อ	แม่	ลูกควรได้มีโอกาส
กินข้าวร่วมกัน	 การที่แม่ตักข้าวให้ลูก	 หรือลูกเตรียมน�้าดื่มให้พ่อแม่	
พ่อช่วยจัด	จาน	ช้อนส้อมเป็นความผูกพันที่ดียิ่ง	เรื่องราวที่ลูกอยาก
จะเล่าให้พ่อแม่ฟัง	การชื่นชม	หรือการปลอบประโลม	สามารถท�าใน
เวลานี้ได้	 อาการเหงาหงอย	เศร้าซึม	หรือการรับประทานอาหารน้อย
ลงของลูกย่อมเป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรสังเกตได้ในวงข้าว
        ก 2	 คือ	 กอด	 ก่อนลูกรักไปโรงเรียน	 หรือกลับจากโรงเรียน
ถึงบ้าน	หากพ่อแม่คอยส่งและคอยรับด้วยรอยยิ้มและค�าพูด	ไต่ถาม
ด้วยความห่วงใย	ทีสาคัญทีสด	คือ	การโอบกอด	การลูบหลัง	ลูบศีรษะ	
                   ่�      ุ่
จะเป็นยาขนานเอกที่ดึงหัวใจของลูกรักไว้ทุกครั้งที่จะท�าสิ่งไม่ถูกไม่
ควร	ก็จะนึกถึงสัมผัสอันอ่อนโยนของพ่อแม่ก่อน
        ก 3	 คือ	 กล่อม	 ไม่จ�าเป็นต้องถึงขั้นร้องเพลงกล่อมเหมือน
ทารก	แต่จะเป็นค�าพูดดีๆ	ไพเราะ	อ่อนหวน	ค�าพูดที่ท�าให้ลูกอบอุ่น	มี
ความสุขและสบายใจ
        ก 4	คือ	เกลา	การที่ถูกท�าผิดหรือกระท�าอะไรไม่ถูกต้อง	พ่อ
แม่สามารถที่จะค่อยๆ	 บอกและสอนไปทีละนิดทีละหน่อย	 บางเรื่อง
อาจท�าเป็นตัวอย่างให้เห็น	ให้รู้สึกภูมิใจ	ลูกชายอยากท�าดีเหมือนพ่อ	
ลูกสาวก็อยากท�าดีเหมือนอย่างที่แม่ท�า


                                                                          45
ตัวอย่างกิจกรรมส�าหรับครอบครัว
กิจกรรม
ค ร อ บ ค รั ว
สัมพันธ์
      	        เป็นกิจกรรมที่สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว	 ระหว่างพ่อ	 แม่	
      ลูก	 และบุคคลอื่นๆ	 ในครอบครัว	 เพื่อสร้างความรู้สึกที่ดีๆ	 ต่อกัน	
      เป็นการท�ากิจกรรมเพือแสดงความเอืออาทรซึงกันและกัน	 เป็นกิจกรรม
                           ่             ้       ่
      ที่สร้างคุณลักษณะความรับผิดชอบร่วมกัน

      	      มีกิจกรรมหลากหลายให้เลือกและร่วมกันท�า	เช่น
      	      	 ออกก�าลังกายร่วมกัน
      	      	 ปลูกต้นไม้
      	      	 ทัศนศึกษา
      	      	 ท�ากิจกรรมสาธารณะ
      	      	 ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา
      	      																										ฯลฯ




46
ตัวอย่างกิจกรรมส�าหรับครอบครัว
                                                      พ่อแม่ปลูก
                                          ลูก รักษา
	      กิจกรรมนี้	เป็นกิจกรรมที่ต้องการให้ลูกมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางอาชีพต่างๆ	เพื่อ
เด็กจะได้มีความขยัน	อดทน	รักการท�างาน	และเห็นคุณค่าในตนเอง
ขั้นตอนการท�ากิจกรรมมีดังนี้
	     พ่อ	แม่ปลูกต้นไม้
	     ลูกช่วยรดน�้าต้นไม้	ใส่ปุ๋ย	ดูแลรักษา
	     พ่อ	แม่	ลูกไปศึกษาแหล่งเรียนรู	้ ตัวอย่างความส�าเร็จ	งานนิทรรศการ	การประกวด		
	     ต้นไม้	เพื่อเป็นความรู้มาดูแลต้นไม้ของตนเอง
	     มอบหมายให้ลูกดูแลต้นไม้




                                                                                47
ผู้ปกครองร่วมมือ
     ชุมชนร่วมใจ
     เด็กไทยพัฒนา




48
พ่อ แม่
ครูที่ดีที่สุดของลูก


                   49
ปัญหาของลูกนั้นมีหลากหลาย
                              ทั้งที่เป็นปัญหาทาง	ร่างกาย
                            ปัญหาทางจิตใจ	อารมณ์	สังคม
                              ปัญหาการเรียน	การท�างาน
                         ตลอดจนปัญหาชีวิตที่มีเหตุปัจจัยซับซ้อน


                     พ่อแม่จึงควรช่วยให้ลูก.......
                     	     แข็งแกร่งและมีภูมิต้านทานเพียงพอ
                     	     ที่จะใช้สติปัญญาแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
                     	     โดยการฝึกหัดอบรมลูก
                     	     ให้เรียนรู้การแก้ปัญหาตั้งแต่เยาว์



      ลูกรักของเราไม่ใช่หุ่น	หรือตุ๊กตา
      ลูกไม่ใช่ดินเหนียวที่พ่อแม่ถือสิทธิ์ปั้นแต่งเอาตามชอบใจ
      ลูกรักเป็นมนุษย์มีชีวิตจิตใจ	มีความสามารถความถนัดความสนใจของเขาเอง


 ดัวยเหตุนี้
 	      พ่อแม่ต้องหมั่นสังเกตพฤติกรรมของลูก
 	      ไมว่าลูกจะยังอ่อนเยาว์	หรือเติบโต
 	      เป็นเด็กวัยรุ่นหรือหนุ่มสาว

 	        ลูกเรียนรู้โดยเลียนแบบพฤติกรรมที่พ่อแม่พูด	พ่อแม่ท�า	พ่อแม่ปฏิบัติต่อผู้อื่น	ลูก
 เรียนรู้จากค�าแนะน�า	 ตักเตือน	 เสริมแรงทีละน้อย	 ค่อยอบรม	 ลูกจึงได้รับค�าชมเมื่อคิดดี	
 ท�าดี	 แต่เมื่อลูกท�าผิดพลาด	 พ่อแม่ลูกวิธีท�าโทษที่ละเว้นความรุนแรง	 มุ่งแสดงเหตุผล
 และจัดสถานการณ์ให้ลูกมีก�าลังใจแก้ไขความผิดพลาดนั้นๆ


50
สอนอย่างไรให้เขาเชื่อ
เขาจะเชื่อเมื่อเขารัก
เขาจะเชื่อเมื่อเขาศรัทธา
เขาจะเชื่อเมื่อเราเป็นแบบอย่างที่ดี
	     ท�าอย่างไรให้เขารัก
	     ท�าอย่างไรให้เขาศรัทธา
	     ท�าอย่างไรให้เขาท�าตามแบบอย่างที่ดี
	     		             สอนคนอื่น
	     		             สอนคนอื่นให้เข้มแข็ง
	     		             สอนคนอื่นให้กล้าหาญ
	     		             สอนคนอื่นให้สามัคคี
	     		             สอนคนอื่นให้มีวินัย
	     		             สอนคนอื่นให้ท�าดี
	     		             สอนให้เขา......ท�าโน่น........ท�านี่........

             “ตัวเรานี้ ท�าหรือยัง ดีหรือยัง”

                                                                    51
ในการสร้างการเรียนรู้แก่ลูกหลาน
     เปิดโอกาสให้ลูกได้สัมผัสและสัมพันธ์กับ
     หลายสิ่งที่แวดล้อม
     สังเกตความเคลื่อนไหว
     ได้เห็นความเปลี่ยนแปลงและความงดงามของธรรมชาติ

     	     พ่อแม่ไม่ควรก�าหนดเคี่ยวเข็ญให้ลูกเป็น
     	     ในสิ่งที่เขาไม่เป็น	และเป็นไม่ได้
     	     พ่อแม่ส่งเสริมการเรียนรู้ของลูก
     	     ตามที่ลูกเป็น
     	     และตามที่ลูกสามารถเป็นได้


                                                     สุมน อมรวิวัฒน์




52
จุดมุ่งหมายของการศึกษา	 คือ	 การพัฒนาอุปนิสัยที่ดีงามในตัวเด็กให้สมบูรณ์	
เราจะต้องยกระดับจิตใจของเด็กให้ถึงระดับสูงสุด	เราจะต้องพัฒนาเด็กในทุกๆ	ด้าน	ไป
พร้อมๆ	กัน
	      เราสอนให้เด็ก......
	      	 รู้จักใช้มือ	ในการท�าแต่สิ่งที่ดี
	      	 รู้จักใช้ปากและลิ้น	พูดแต่สิ่งที่ดีมีประโยชน์
	      	 รู้จักใช้หู	เพื่อฟังแต่สิ่งที่ดี
	      	 รู้จักใช้ตา	มองแต่สิ่งที่ดี	เห็นบทเรียนที่อยู่รอบตัว
	      	 รู้จักใช้ปัญญา	หยั่งรู้ทุกศาสตร์วิชาที่จะท�าให้ประสบผลส�าเร็จ
	      พ่อแม่และครู	 ปรารถนาที่จะเห็นบุตรหลานเป็นคนดี	 มีความรู้	 มีความสามารถ	
เห็นแต่สิ่งที่ดี	คิดแต่สิ่งที่ดี	และท�าแต่สิ่งที่ดีตลอดเวลา
	      ดังนั้น	พ่อแม่	และครู	จึงต้องเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับเด็ก


                                                ดร.อาจอง	ชุมสาย	ณ	อยุธยา




                                                                             53
พูดให้คิด
     	   “บิดามารดา...
     	   ผู้ตามใจลูกเกินไป
     	   จนลูกเสียคน
     	   ย่อมเสี่ยงที่จะเป็นศัตรูของลูก
     	   มากกว่าที่จะเป็น
     	   		           บุพการีของลูก”

                                ศรีวิทย์ ทองเพ็ง




54
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่าง

Contenu connexe

En vedette

งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิงงานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิงdirectorcherdsak
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coaching
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coachingภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coaching
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coachingdirectorcherdsak
 
งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนนักเรียนโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนนักเรียนโรงเรียนสงวนหญิงงานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนนักเรียนโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนนักเรียนโรงเรียนสงวนหญิงdirectorcherdsak
 
Kristin arnold powerful_panels_wec16
Kristin arnold powerful_panels_wec16Kristin arnold powerful_panels_wec16
Kristin arnold powerful_panels_wec16Kristin Arnold
 
The Effects of SEO on Website Visitation
The Effects of SEO on Website VisitationThe Effects of SEO on Website Visitation
The Effects of SEO on Website VisitationAliah Thomas
 
You Can Do That In a Keynote
You Can Do That In a KeynoteYou Can Do That In a Keynote
You Can Do That In a KeynoteKristin Arnold
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณdirectorcherdsak
 

En vedette (10)

งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิงงานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิง
 
Nonsi step
Nonsi stepNonsi step
Nonsi step
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coaching
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coachingภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coaching
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coaching
 
SEO vs. PPC
SEO vs. PPC SEO vs. PPC
SEO vs. PPC
 
งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนนักเรียนโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนนักเรียนโรงเรียนสงวนหญิงงานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนนักเรียนโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนนักเรียนโรงเรียนสงวนหญิง
 
Kristin arnold powerful_panels_wec16
Kristin arnold powerful_panels_wec16Kristin arnold powerful_panels_wec16
Kristin arnold powerful_panels_wec16
 
The Effects of SEO on Website Visitation
The Effects of SEO on Website VisitationThe Effects of SEO on Website Visitation
The Effects of SEO on Website Visitation
 
You Can Do That In a Keynote
You Can Do That In a KeynoteYou Can Do That In a Keynote
You Can Do That In a Keynote
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
C 7 1
C 7 1C 7 1
C 7 1
 

Similaire à พ่อแม่แบบอย่าง

Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2New Born
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2ya035
 
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ครูบ้านนอก จนจน
 
บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง Pnong Club
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2duenka
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการaaesahasmat
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการrorsed
 
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111ying1990
 
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111ying1990
 
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111apassara1111
 
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111ying1990
 
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111ying1990
 

Similaire à พ่อแม่แบบอย่าง (20)

2010111209582136
20101112095821362010111209582136
2010111209582136
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
 
บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
 
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
 
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
 
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
 
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111
 

พ่อแม่แบบอย่าง

  • 2. ค�าน�า “ความส�าเร็จของลูก คือ ความสุขของพ่อแม่” ในฐานะที่ท่านเป็นผู้ ปกครอง ผมเชื่อว่าสิ่งส�าคัญที่สุดในชีวิตของท่าน คือ “ลูก” และสิ่งที่จะท�าให้ ท่านมีความสุขที่สุด คือ การที่ท่านเห็นลูกเติบโตเป็นคนดีเห็นความส�าเร็จของ ลูก ซึ่งการที่ท่านจะเห็นสิ่งเหล่านี้ได้นั้นไม่ใช่เรื่องยากเลยเพียงแต่เริ่มต้นที่ตัว ท่าน ด้วยการ “ท�างานให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูก” โดยเฉพาะอย่างยิ่งพ่อ แม่ได้ ชื่อว่าเป็นครูคนแรกของลูกที่คอยสอนชี้แนะ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูก “เป็นครู เป็น ที่พึ่ง ของลูกตลอดชีวิต” ให้ความรัก ความเอาใจใส่ ความห่วงใย เอื้ออาทรแก่ ลูก ให้อภัยเมื่อลูกท�าผิดพลาด ลูกจึงเป็นแก้วตาดวงใจของพ่อ แม่ตลอดเวลา ดังนั้นการที่พ่อ แม่บางท่าน คิดว่า การศึกษาเป็นเรื่องของครูกับโรงเรียน เท่านั้น จึงยกหน้าที่ในการดูแลบุตรหลานให้กับโรงเรียนทั้งหมด และคิดว่า ตนเองไม่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดู อบรม ซึ่งเป็นการเข้าใจผิด บ้านและโรงเรียน จะต้องให้ความร่วมมือกันทั้ง 2 ฝ่าย เปรียบเสมือนปรบมือ 2 ข้าง (พ่อ แม่ และ ครู) จึงจะดัง หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมข้อคิดต่างๆ จัดท�าขึ้นโดยมุ่งหวังเพื่อแนะน�าผู้ ปกครอง พ่อ แม่ในการอบรมเลี้ยงดู เอาใจใส่ในฐานะผู้ปกครอง เพื่อให้ลูก เป็น คนดี เรียนจบ และปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โรงเรียนจึงโครงการ นนทรีร่วมสร้างครอบครัวอบอุ่น อันจะก่อให้เกิดความสุข ความเจริญแก่บุตร หลาน และสังคมไทยโดยรวมตลอดไปอย่างยั่งยืน (นายเชิดศักดิ์ ศุภโสภณ) ผู้อ�านวยการโรงเรียนนนทรีวิทยา ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๓ 2
  • 4. สาส์นผู้อ�านวยการ เรียน ผู้ปกครองนักเรียนทุกท่าน ในฐานะที่ท่านเป็นผู้ปกครอง ผมเชื่อว่าสิ่งที่ส�าคัญที่สุดในชีวิตของท่านคือ “ลูก” และสิ่งที่จะท�าให้ท่านมีความสุขที่สุดในชีวิต คือการที่ท่านได้เห็นลูกเติบโตเป็นคนดี เห็น ความส�าเร็จของลูก และเห็นลูกขอองท่านมีความสุขซึ่งการที่ท่าน ได้สร้างสิ่งเหล่านั้น ไม่ใช่เรื่องยากเลย เพียงเริ่มต้นที่ตัวท่าน ด้วยการช่วยสร้างครอบครัวที่อบอุ่น ซึ่งผมเชื่อ ว่าทุกท่านได้สร้างครอบครัวที่อบอุ่นอยู่แล้ว หากแต่ ในสังคมปัจจุบันดูจะมีปัญหา มากมายที่จะส่งผลกระทบต่อลูกของเรา ผมในฐานะผู้อ�านวยการโรงเรียน ซึ่งมีความรัก และความห่วงใยในบุตรหลานของท่านและ คิดอยู่เสมอว่าเขาเหล่านั้น คือ ลูกหลานของ ผมที่ผมต้องดูแลเอาใจใส่ให้เขา มีความสุขความส�าเร็จ ในชีวิตเช่นเดียวกัน โรงเรียน นนทรีวิทยาจึงขอเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวของท่านในการช่วยกันสร้างครอบครัวของ เราให้อบอุ่น ด้วยการ ให้ความรักความอบอุ่น ด้วยการให้ความรักความอบอุ่นแก่ลูก ของเราด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1. ไม่ดื่มสุรา ไม่เสพสิ่งเสพติดและไม่เล่นการพนันทุกชนิด 2. ประกอบอาชีพโดยสุจริต โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง 3. เมือมีปญหาเกิดขึน ให้ใช้เหตุผลในการแก้ปญหา หลีกเลียงการใช้ความ รุนแรง ่ ั ้ ั ่ 4. มีเวลาท�ากิจกรรมร่วมกับลูก เช่น รับประทานข้าวร่วมกันเดือนละอย่างน้อย 12 ครั้ง หรือ 3 มื้อ / สัปดาห์ 5. ท�าบ้านให้สะอาด ร่มรื่น น่าอยู่ 6. เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูก เช่น ไม่ทะเลาะกันมีความซื่อสัตย์ สุภาพ เมตตาต่อกัน มีเหตุผล ยิ้มแย้มแจ่มใส 7. ทุกคนในครอบครัวมีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าทีของตน และท�างานอย่างมี ่ ประสิทธิภาพ 8. สมาชิกในครอบครัวมีเวลาท�ากิจกรรมนอกบ้านร่วมกัน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง ้ เช่น ไปเที่ยวพักผ่อน ไปเยี่ยมญาติ ไปรับประทานอาหารนอกบ้าน 4
  • 5. 9. พ่อ แม่ ลูก มีความสนิทสนมใกล้ชิดกัน เป็นครอบครัวที่อบอุ่นพร้อมที่จะพูด รับฟังความคิดเห้นของกันและกันอยู่เสมอ 10. สมาชิกในครอบครัวไปร่วมพิธีทางศาสนาร่วมกันอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง 11. สมาชิกในครอบครัวได้มีโอกาสได้มีโอกาสอยู่ร่วมกับปู่ย่าตายาย โดยการน�า บุตรหลานไปเยี่ยมเยียน หรือรับมาอยู่ในครอบครัวด้วย เพื่อสร้างความสนิทสนมใกล้ชิด กันและรู้จักกตัญญูรู้คุณบุพการี 12. ควรมีกจกรรมนันทนาการในครอบครัวร่วมกัน เช่น ร้องเพลง เล่านิทาน เล่นเกมส์ ิ ดูภาพยนต์ ผมเชื่อว่าหลายครอบครัวได้มีกิจกรรมนี้อยู่แล้ว และผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้ ปกครองทุกท่านคงจะได้น�ากิจกรรมเหล่านี้ไปปรับใช้ในครอบครัวต่อไป เพื่อสร้างความ รัก ความอบอุ่น และความสุขให้แก่ลูกหลานของเราซึ่งย่อมหมายถึง ความสุขของท่าน เช่นเดียวกัน เมื่อท่าน และลูกหลานมีความสุข ผมและครูโรงเรียนนนทรีวิทยาทุกคน ที่เปรียบ เสมือนบุคคลในครอบครัวเดียวกันกับท่าน และมุ่งหวังจะเห็นความสุข ความส�าเร็จของ ศิษย์ ซึ่งเปรียบเสมือน “ลูก” เช่นเดียวกับท่าน ก็มีความสุข และความภาคภูมิใจ มีก�าลัง ใจที่จะปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลเอาใจใส่ให้วิชาความรู้แก่ศิษย์ต่อไป ในโอกาสนี้ผมจึงขอเชิญชวน และขอขอบคุณท่านผู้ปกครองทุกท่าน ในการที่จะ ช่วยสร้างครอบครัวของเราให้อบอุ่นเพื่อ “ลูก” อันเป็นที่รักยิ่งของเรา (นายเชิดศักดิ์ ศุภโสภณ) ผู้อ�านวยการโรงเรียนนนทรีวิทยา 5
  • 6. การเลี้ยงดูบุตรในยุคโลกาภิวัฒน์ ปัญหาของเด็กในปัจจุบัน แพทย์หญิงวินัดดา ปิยะศิลป์ พบปัญหาหลากหลายรูปแบบ จะยกขึ้นมาเฉพาะปัญหาที่เกิด จากการเลี้ยงดูที่เบี่ยงเบนเท่านั้น ยกตัวอย่างเช่น รักสบาย ขี้เกียจ ขาดความกระตือรือร้น เฉื่อยชา ฟุ้งเฟ้อ ใช้เงินเปลืองไม่เห็นคุณค่าของเงินและของที่ได้มา ดื้อ เอาแต่ใจตัวเอง เห็นแก่ตัว ไม่ค�านึงถึง ความรู้สึกของผู้อื่น ก้าวร้าว รุนแรง ทั้งกิริยา วาจา การกระท�า รวมทั้งวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ขาดระเบียบ วินย ไม่มมารยาท ขาดความควบคุมตนเอง หรือควบคุมตนเองได้นอย ั ี ้ ใจร้อนตามใจ ตนเองมาก แต่ไปบังคับเรียกร้องจากคนอื่น คิดแก้ปัญหาต่างๆ ไม่เป็นระบบหรือท�าได้บางส่วนขาดการวางแผน ไม่รอบคอบ ขาดทักษะ ขาดประสบการณ์ ขาดไหวพริบ มีข้อขัดแย้งสูง ไม่มั่นใจในตนเอง ว้าเหว่ เหงา เบื่อหน่ายง่าย ขาดจุดมุ่งหมาย ฯลฯ จากปัญหาข้างต้นเป็นเหตุให้พ่อแม่ยุคปัจจุบันจ�าเป็นต้อง กลับมาพิจารณาวิถีชีวิต และวิธีการเลี้ยงดูเพื่อปรับเปลี่ยน ลดปัญหาต่างๆ ในเด็กให้น้อยที่สุด... 6
  • 7. ปัญหาของพ่อแม่ในยุคปัจจุบัน 1.มีความเร่งรัดและมีการแข่งขันสูง : ในปัจจุบันเป็นยุคการแข่งขัน การลงทุน เป็นยุคของการท�าธุรกิจทีตองการ ความรวดเร็ว พ่อแม่สวนใหญ่จะหมดเวลาและพลังงาน ่้ ่ ในกิจการงานต่างๆ การเลียงลูกในยุคนีจงกลายเป็นสิงหนึงต้องท�าให้รวดเร็วในเวลาจ�ากัด ้ ้ึ ่ ่ ทังในด้านชีวตความเป็นอยู ่ การเรียน การท�างาน แม้แต่การกีฬา หรือด้านตรี ซึงจะยัดเยียด ้ ิ ่ ให้เด็กท�าให้ได้ในเวลาที่จ�ากัดขณะเดียวกันมักจะคาดหวังไว้สูง โดยลืมว่าพื้นฐานการ เรียนรูในเด็กทีดควรมาจากบรรยากาศทีสนุกสนาน ใช้ เวลาในการซึมชับ ให้โอกาสลองผิด ้ ่ ี ่ ลองถูก ให้ก�าลังใจกันเป็นระยะๆ ค่อยเป็นค่อยไปมีแบบอย่างและมีแรงจูงใจที่ดีทั้งหมด จะส่งผลการท�าให้เด็กเฉือยชา ขาดความกระตือรือร้น ในทางตรงข้าม เด็กจะมีการแข่งขัน ่ ชิงดีชิงเด่นสูงความเห็นแก่ตัวได้เพิ่มขึ้น ไม่สนความรู้สึกของคนอื่นเป็นต้น 2.ต้องการความรวดเร็ว : ในเวลาที่เร่งรีบ พ่อแม่ ส่วนใหญ่มักจะใช้เหตุผลนี้ใน การเข้ามาช่วยเหลือเด็ก โดยหวังว่าจะให้การท�ากิจกรรมต่างๆ ของเด็ก ประสบความส�าเร็จ ในเวลา ที่ก�าหนด เช่น การกิน การแต่งตัว การรับประทานอาหาร การเก็บของเล่น ฯลฯ แต่ลืมคิดไป ว่าการที่พ่อแม่เข้ามาช่วยเด็ก รวมทั้งขัดขวางพัฒนาการในการเรียนรู้ ฝึกฝน ทักษะ ทีสาคัญทีสดก็คอ มาตัดโอกาสทีจะให้เด็กหัดคิดไตร่ตรอง แก้ปญหาจากเหตุการณ์ ่� ุ่ ื ่ ั ต่างๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวทั้งหมด จะมีผลท�าให้ เด็กช่วยตัวเอง ไม่สมวัย ติดอยู่กับการพึ่งพา ผู้อื่น ขาดทักษะการใช้มือคิดเองไม่เป็น ขาดการวางแผนล่วงหน้าและที่ส�าคัญก็คือเด็ก เคยชินกับการที่ไม่ต้องพึ่งตัวเอง รักสบาย ขี้เกียจขาดความกระตือรือร้นเฉื่อยชาได้ 3. มีความระเริงไปกับสิ่งอารมณ์ต่างๆ : เช่น แสง สี เสียง ดนตรี กีฬา วัตถุที่ เร้าอารมณ์ ความรู้สึกสิ่งของต่างๆ เช่น หลงใหลในวัตถุเครื่องใช้ การแต่งตัวของเล่น เครื่องเล่นเกม เป็นต้น ซึ่งทั้งหมด จะเป็นแบบอย่างท�าให้เด็กเลียนแบบ และติดอยู่กับสิง ่ ต่างๆ เหล่านีได้งายในชีวตของเด็กจะต้องใช้ชวตในการเล่าเรียนแสวงหาประสบการณ์แต่ก็ ้ ่ ิ ีิ ต้องแบ่งเวลา ในการผ่อนคลายอารมณ์โดยผ่านการเล่นเป็นระยะจึงจะท�าให้เด็กรับสภาพ การเรียนรู้ในสถาบันการศึกษาได้ยาวนานหน้าที่ของพ่อแม่ นอกจากส่งเสริมสนับสนุน 7
  • 8. การเรียนรู้ของเด็กตามวัยทั้งจากห้องเรียนและจากชีวิตประจ�าวันแล้ว ยังต้องสอนให้เด็ก หัดแบ่งเวลาในการผ่อนคลายหรือสามารถหาความรื่นรมย์ จากสิ่งต่างๆ รอบตัว แต่ถ้า เป็นการผ่อนคลายมากเกินไป จะท�าให้เด็ก ติดกับ การเล่นสนุก หรือติดของเล่นจนท�าให้ การเรียนรู้ ด้านอื่นตกไปเช่นกัน ในทางตรงข้ามถ้าฝึกฝนจริงจังเกินไปแม้ในการเล่นก็จะ ท�าให้บรรยากาศใน การผ่อนคลายเสียไปเท่ากับไม่เพิ่มความเครียดให้มากขึ้น 4. บรรยากาศรุนแรง : นอกจากสิงแวดล้อมต่าง ๆทีเ่ ร่งรีบแข่งขันแล้วความเครียด ่ จากการท�างาน การเดินทาง ซึ่งถูกเร้าด้วยภาระหน้าที่จะเป็นการเสริมท�าให้ผู้คนปัจจุบัน นิยม ที่จะแสดงออกถึงความก้าวร้าวทั้งจากการกระท�าและ ทางวาจาได้ง่ายโดยเฉพาะ ในเด็กซึงนอกจากจะเห็นแบบอย่างลักษณะดังกล่าวจากพ่อแม่และ ผูคนรอบข้างแล้ว ยังมี ่ ้ ความก้าวร้าวที่ซ่อนอยู่ในระบบสื่อสารมวลชน เช่น ทางโทรทัศน์ละคร เกม วีดีโอ ฯลฯ ซึ่ง ส่วนใหญ่จะออกมาในรูปของบรรยากาศก้าวร้าวทังนัน ทังหมดจะหล่อหลอมท�าให้เคยชิน ้ ้ ้ กับสิ่งเหล่านี้ และกลายกลืนเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพ 5. ไม่มจดมุงหมายในการเลียงดู : พ่อแม่ปจจุบนส่วนใหญ่ ยังไม่มจดมุงหมาย ี ุ ่ ้ ั ั ีุ ่ ในการเลี้ยงดูเด็กในแต่ละช่วงอายุ และไม่ทราบวิธีการที่จะใช้ในการฝึกเด็ก จึงท�าให้ผลที่ ได้มาแตกต่างไปจากสิ่งที่พ่อแม่ต้องการในขณะที่เรามีคู่มือในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ แต่เราไม่เคยเรียนรู้หรือมีคู่มือในการเลี้ยงดูเด็กที่เหมาะสม ส�าหรับพ่อแม่ยุคใหม่เช่นกัน ต่างคนต่าง ก็ท�าตามสิ่งที่ตนเองเคยได้รับหรือเคยเห็นมา โดยไม่ทราบว่าสิ่งนั้น ถูกหรือ ผิดเหมาะสมหรือไม่เหมาะสมส�าหรับเด็กแต่ละคนหรือไม่ ในขณะที่สังคมภายนอกเปราะบางอยู่ในระบบธุรกิจ แก่งแย่งชิงดี หลงใหลไปกับวัตถุ สิ่งล่อใจต่าง เป็นระบบตัวใครตัวมัน แข่งขัน ถือดี จริยธรรมเสื่อมโทรม ฯลฯ เด็กยุคใหม่ที่จะอยู่ในสังคมที่มีลักษณะ ที่กล่าวมาข้างต้นได้จึงจ�าเป็นต้องมี “ภูมิคุ้มกัน” หรือมี “ความต้านทาน” ต่อสิ่งต่างๆ ให้ได้... 8
  • 9. คุณ สมบัติของเด็ก ที่จะประสบกับความส�าเร็จในชีวิตและมีความสุขนั้นจึงจ�าเป็นต้องมีลักษณะดัง ต่อไปนี้ เช่น 1. พื้นอารมณ์สดใส ร่าเริง มองโลกในแง่ดี รักตนเอง และผู้อื่น 2. มีอารมณ์ขัน สามารถเอาความผิดพลาดมาเป็นบทเรียนของชีวิตได้ 3. มีทางผ่อนคลาย มีงานอดิเรก หรือ มีกิจกรรมหลากหลายสามารถแสดงออกและ ไม่เก็บกด 4. เข้ากับคนง่าย เข้ากับกลุ่มเพื่อนได้หลากหลาย 5. เข้าใจจุดแข็ง และจุดอ่อนของตัวเอง และรูจกพัฒนาตนเองรูวาตนเองมีคณค่า ้ั ้่ ุ 6. เรียนรูสวนดีและส่วนไม่ดของคน รูจกและแยกแยะสิงถูก-ผิด ชัว-ดี รับฟังความคิด ้่ ี ้ั ่ ่ เห็นของผู้อื่น 7. ช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามวัย 8. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ในทางสร้างสรรค์ ยืดหยุ่น ปรับตัวได้ดี 9. จิตใจเข้มแข็ง มั่นคง และมีความอดทนต่อแรงกดดัน 10. เป็นของตัวเอง (มิใช่เอาแต่ใจตนเอง) มั่นใจในตนเอง 11. มีความพยายาม มีจุดมุ่งหมายและมีค่านิยมที่ถูกต้อง 12. รู้จักวางแผนล่วงหน้า 13. รับผิดชอบต่อตนเอง หน้าที่และผู้อื่น อยากช่วยเหลือสังคม 14. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ฯลฯ ซึ่งทั้งหมดเป็นผลมาจากการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ข้อ 1-5 จะท�าให้เด็กมีความสุข ข้อ 6-14 เป็นพื้นฐานที่ท�าให้เด็กประสบกับความส�าเร็จในชีวิต 9
  • 10. หลักเกณฑ์ใ นการอบรม 1. ให้ความรัก ความอบอุ่นอย่างเหมาะสม 2. ท�าให้ครอบครัวมีความสุข บรรยากาศสดชื่น ร่าเริง 3. ท�าความเข้าใจธรรมชาติของเด็กแต่ละวัย 4. เลี้ยงลูกด้วยตนเอง 5. ช่วยเด็กพัฒนาความสามารถตามวัย (ตรงกับพัฒนาการในแต่ละขั้นตอน) 6. ช่วยให้เด็กมีความสุขที่ดีต่อตนเอง และผู้อื่น 7. ส่งเสริมให้เด็กมีความส�าคัญของตนเองไม่น้อยกว่าคนอื่น 8. ส่งเสริมให้เด็กได้คิดแบบมีหลักการ และเหตุผลให้โอกาสลองท�าและช่วยชี้แนะ เมื่อเด็กตัดสินใจผิดพลาดเพื่อฝึกให้เด็กหัดแก้ปัญหาที่ตามมา 9. ส่งเสริมให้เด็กสามารถรู้สึกสนุกสนาน ผ่อนคลายในขณะที่เรียนรู้สิ่งต่างๆ 10. สม�่าเสมอ นุ่มนวล เข้าใจความรู้สึก แต่มีขอบเขตชัดเจน ยืดหยุ่นได้เล็กน้อย 10
  • 11. การอบรม เลี้ยงดูเด็ก ผูทเี่ คยเลียงดูเด็กคงทราบดีวา ปัญหาเกียวกับพฤติกรรมของเด็กเกิดขึน ได้เสมอ ๆ ้ ้ ่ ่ ้ และผู้ใหญ่จ�าเป็นต้องมีวิธีการในการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม มีแรงเสริมเพื่อเพิ่ม พฤติกรรมที่เหมาะสมให้ความสนใจเมื่อเด็กสามารถควบคุมตัวเองได้ พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม หรือพฤติกรรมที่เราไม่ต้องการ เช่น พฤติกรรมก้าวร้าว รุนแรง ไม่ยอมท�าตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เป็นต้น วิธีการตอบสนองต่อพฤติกรรมดัง กล่าว คือ 1. การใช้เหตุผล : ควรท�าอย่างตรงไปตรงมาใช้ค�าพูดที่ง่ายแต่สั้นไม่ยืดยาว 2. การใช้ท่าที่หนักแน่น และจริงจัง : บางครั้งต้องใช้ท่าทางหรือลงมือท�าร่วมกับเด็ก 3. การใช้สิ่งอื่นมาทดแทน : เช่น ขณะที่ห้ามท�าสิ่งหนึ่งควรมีทางอื่นอีก 2 – 3 อย่างให้เด็กมีโอกาสเลือก 4. ให้โอกาส : แสดงความคิดเห็น และความรู้สึกออกมาทางค�าพูดหรือท่าทางได้ 5. การให้รางวัล : เมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมโดยที่รางวัลนั้นอาจเป็นการกอด ยิ้ม จับ ไหล่ ฯลฯ ไม่จ�าเป็นที่รางวัลหรือสิ่งของเสมอไป 6. การเลิกให้ความสนใจ เพราะธรรมชาติของเด็กทุกคน ต้องการความ สนใจจากผู้อื่นถ้าเด็กท�าพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม : เลิกให้ความสนใจ เมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่ดีขึ้นควรให้ความสนใจต่อเด็กทันที 7. เป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็ก 11
  • 12. 8. การลงโทษ : ควรระวังในความรุนแรง เพราะอาจไปท�าร้ายร่างกายเด็กได้ และไม่ควร ลงโทษโดยใช้อารมณ์ เนื่องจากจะท�าให้การลงโทษรุนแรงเกินกว่าเหตุ ควรใช่วิธีการอื่น ในการแก้ปัญหาพฤติกรรมของเด็กก่อน และเวลาใช้ควรแสดงให้เด็กเห็นว่าเราต้องการที่ จะหยุดพฤติกรรม ที่ไม่เหมาะสมเท่านั้น และพร้อมที่จะหยุดการลงโทษ เมื่อเด็กสามารถ ควบคุมตัวเองได้ การลงโทษมีหลายวิธี เช่น การดุว่า การแยกตัว เด็กออกไปอยู่ตาม ล�าพัง การปรับ การตี เป็นต้น วิธการข้างต้นที่กล่าวมาอาจเลือกใช้เป็นกรณีๆ ไป ี พยายามหลีกเลี่ยงการลงโทษให้มากที่สุด เพราะสามารถท�าให้ เด็กเกิดความรู้สึกต่อต้านได้ 12
  • 13. เมื่อ “ลูก” เป็น “วัยรุน” ่ 13
  • 14. ธรรมชาติของวัยรุ่น การคบเพื่อนต่างเพศมิใช่เรื่องแปลกประหลาดในสังคม มีความเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคม และฮอร์โมนทางเพศ รักความเป็นอิสระ อยากลอง อยากรู้ ค้นหาเอกลักษณ์ของตนเอง ชอบแสดงออก 14
  • 15. ความอบอุ่นที่ควรให้ เห็นคุณค่าในตัวลูก ไม่เปรียบเทียบกับพี่ น้อง และคนอื่น ให้ก�าลังใจ ไม่ซ�้าเติมเมื่อผิดพลาด โอบกอด ให้ค�าปรึกษา พาไปเที่ยว แสดงความดีใจเมื่อลูกประสบความส�าเร็จ ให้อิสระทางความคิด และยอมรับฟังความคิดเห็นของลูก ท�ากิจกรรมร่วมกับลูกตามโอกาสอันควร สร้างบ้านนี้ให้มีแต่รอยยิ้ม ไม่ควรละเลยเมื่อลูกมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป ให้ของขวัญตามโอกาสอันควร 15
  • 16. รู้ซึ่งถึงจิตใจ ลองมารู้จักจิตใจของวัยรุ่นว่าเป็นอย่างไร ต้องการความรัก ความอบอุ่น ต้องการการยอมรับ ต้องการความสนุกสนาน ร่าเริง มีอุดมคติสูง อ่อนไหวง่าย ชอบเพ้อฝัน ผูกพันกับเพื่อน 16
  • 17. ท่านพูดประโยคต่อไปนี้ บ่อยแค่ไหน ? “พ่อ แม่ รักลูกนะ” “ไม่เป็นไร...เริ่มใหม่ได้” “เชื่อว่าลูกท�าได้แน่ๆ” “พ่อ แม่ภูมิใจในตัวลูกมากนะ” “มีเรื่องอะไรทีท�าให้ลูกไม่สบายใจหรือ” “ดืมาก...ที่ลูกท�าถูกแล้ว” “ดีใจมากที่ลูกมีน�้าใจ” “ลูกลองคิดดูซิว่าเรื่องนี้ควรท�าอย่างไร” “ลูกน่ารักมากที่จัดของเข้าที่เดิมได้เรียบร้อย” “ขอบใจที่ลูกช่วยแม่ประหยัด” ใช้ค�าว่า “สวัสดี” “ขอบคุณ” “ขอโทษ” ให้ลูกติดเป็นนิสัย 17
  • 18. บอกเล่า “สิ่งดีๆ” ที่ “ควรท�า” ฝึกให้ลูกเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ใช้ค�าพูด และแสดงท่าทางได้เหมาะสมกับโอกาส เวลา และสถานที่ มองตนเองและผู้อื่นในแง่ดี มีความเอื้ออาทร รู้จักรับผิดชอบ รู้จักอดทน อดกลั้น ให้ตัวอย่างของการต่อสู้ชีวิตจนประสบความส�าเร็จ 18
  • 20. “การสอนคนให้เก่งนี้...จะต้องอบรมให้ดีพร้อมกันไปด้วย ประเทศของ เราจึงจะได้คนดีมีคุณภาพ คือทั้งเก่งทั้งดี มาเป็นปัจจัยส�าคัญของบ้านเมือง... ให้ความเก่งเป็นปัจจัยและพลังการสร้างสรรค์ให้ความดีเป็นปัจจัยและพลังประ คับประคองหนุนน�าความเก่งให้ไปในทิศทางที่ถูกที่ควร ที่อ�านวยผลประโยชน์ อันพึงประสงค์...” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช 20
  • 21. ท�าไมต้อง ดูแล ช่วยเหลือ? นักเรียน ปัจจุบันมีปัญหาการใช้ความรุนแรงทางกายภาพที่ชัดเจนมากระทบต่อเด็ก และเยาวชนหลายประการ เช่น ความรุนแรงในครอบครัว โดยผู้ที่ตกเป็นเหยื่อมักจะเป็นสตรีและเด็กที่ถูกท�าร้าย และถูกคุกคามทางเพศ ความรุนแรงในชุมชน ซึงคุกคามความสงบและความมันคงของชุมชน ส่วนใหญ่เป็น ่ ่ เรืองการลักทรัพย์ การระบาดของยาเสพติด การใช้อาวุธ และการต่อสูกนเองของแก๊งค์วยรุน ่ ้ั ั ่ ความรุนแรงจากอาชญากรรมในสังคม ที่ส�าคัญ คือ การค้ายาเสพติด การค้าคน การพนัน การค้าอาวุธ และการหลอกลวงทางสื่อเทคโนโลยีต่างๆ หากบุตรหลานถูกปล่อยปละละเลย อาจท�าให้ได้รับผลจากความ รุนแรงเหล่านี้ได้ ดังนันผู้ปกครองต้องดูแลเอาใจใส่บุตรหลานของตน ้ ซึ่งเป็นไปตามหน้าที่และตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1564 ที่ระบุว่า “บิดามารดาจ�าต้องอุปการะเลี้ยงดู และให้การศึกษาตาม สมควรแก่บุตรในระหว่างที่เป็นผู้เยาว์....” รวมทั้งสอดคล้องกับพ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 22 ที่ก�าหนดว่า “...ส่งเสริมให้ผู้ เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” 21
  • 22. พ่อแม่ ต้นแบบ มองโลกในแง่ดี รู้จักแก้ปัญหา ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น อารมณ์มั่นคง รักเข้าใจ และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น คิดดี พูดดี ท�าดี ไม่เครียด กล้าคิด กล้าท�า กล้าตัดสินใจ มีความคิดเห็นในทางบวก ชอบ และมองคนอื่นในแง่บวก 22
  • 23. ร่าเริงแจ่มใส อารมณ์ดี มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน แสดงความรู้สึกอย่างเปิดเผย ไม่ปิดบังความลับต่อพ่อแม่ สบายใจ อบอุ่นใจ ไว้วางใจ อยากใกล้ชิดและมีความสุข ยิ้มแย้มแจ่มใส 23
  • 24. วัยรุ่นยุคนี้ เป็นอย่างไร ปัจจุบันสภาพสังคมมีวัฒนธรรมแบบบริ โ ภคนิ ย ม เด็ ก วั ย รุ ่ น จึ ง มี ค ่ า นิ ย มอยากรวยเร็ว ส่วนใหญ่ผู้ปกครองเลี้ยงลูกแบบหลงลูกมากกว่า รักลูก ไม่ฝึกให้ลูกท�างาน จึงท�าให้เด็กสมัยนี้ไม่ชอบท�างานและไม่มีเป้า หมายในชีวิต เด็กวัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการท�างานเบาที่ สุ ด เพื่ อ ไปสู ่ ค วามสุ ข จึงมีคานิยมฟุงเฟ้อ หาเงินด้วยการเล่นการพนันขายตัว หรือขายยาเสพติด ่ ้ เพื่อให้ได้เงินใช้เร็วๆ โดยไม่ลงแรงมาก ดังนัน ผูปกครองจึงต้องอบรมดูแลสอน ้ ้ เด็กให้รจกตังเป้าหมายในชีวิตที่ ู้ ั ้ เหมาะสม มีความมุ่งมั่นในการท�างาน เพื่อไปสู่เป้าหมาย มีความสามารถ สร้างสรรค์สิ่งที่เป็นประโยชน์ มีศรัทธา มั่นคงในคุณความดี มีเหตุผลฉลาด แจ่มใส เกิดความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม 24
  • 25. การอบรมเลี้ยงดู วัยรุ่น เด็กคนใดมีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาครบ ทุกด้านก็อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ไม่สร้างปัญหาให้ครอบครัวและสังคม ผู้ปกครองจ�าเป็นต้องรู้จักวิธีอบรม เลี้ยงดูวัยรุ่นอย่างถูกวิธี ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านร่างกาย ให้ก�าลังใจและความรัก ดูแลให้อาหาร ให้ความอบอุ่นและปลอดภัย ดูแลให้ที่อยู่ รับฟังความคิดเห็นและสมเหตุผล ดูแลให้เครื่องนุ่งห่ม ให้เวลา ให้ค�าปรึกษา ดูแลสุขภาพ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ด้านสติปัญญา ให้โอกาสได้รับการศึกษา ส่งเสริมให้มีความสามารถ เฉพาะทาง ส่งเสริมให้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ด้านสังคม ให้โอกาสร่วมกิจกรรม ให้โอกาสตัดสินใจและแก้ปัญหา ฝึกทักษะการเข้าสังคม มีความเป็นประชาธิปไตย ให้มีค่านิยมที่เหมาะสม 25
  • 26. ลูกคิดอะไร เมื่อได้รับสื่อ ครอบครัวควรมีเวลาดูโทรทัศน์ร่วมกับเด็ก เลือกรายการ ที่ดี มีความรู้ มีประโยชน์ต่อพัฒนาการของเด็ก แต่ถ้าจ�าเป็นต้องดูรายการที่เลือกไม่ได้ ผู้ปกครองต้อง ฝึกให้เด็กพิจารณาแยกแยะสาระของรายการโทรทัศน์ร่วมกับ ตน เพื่อรู้เท่าทันสังคมในด้านต่างๆ การปฏิบัติเช่นนี้เป็นวิธีการหนึ่งในการสร้างความอบอุ่น ในครอบครัว ผู้ปกครองต้องรับฟังว่า “ลูกพูดอะไร” “ลูกคิด อะไรอยู่” ร่วมกันพิจารณาว่าสิ่งที่ลูกคิดจะเกิดผลอะไร นอกจากสือโทรทัศน์แล้วยังมีสอประเภทอืนๆ อีก เช่น สือ ่ ื่ ่ ่ สิ่งพิมพ์ต่างๆ วีดีทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ซึ่งผู้ปกครองควรให้ ความเอาใจใส่เช่นกัน 26
  • 27. เมื่อลูก พลาดพลั้งไป ผู้ปกครองควร : รับฟังเหตุผล ไม่ลงโทษรุนแรง ชี้แจงให้เห็นผลที่เกิดขึ้น ร่วมกับเด็กคิดหาทางเลือกในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม ให้เด็กระบายความโกรธ ความก้าวร้าว ความไม่พอใจ ด้วยวิธการทีเ่ หมาะสม เช่น เล่นกีฬา เล่นดนตรี และมีงาน ี อดิเรกตามความสนใจ จัดกิจกรรมให้เด็กมีส่วนร่วมในการพูดคุย แสดงออก และ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นเพื่อการปรับตัวที่ดี ชื่นชมยินดีหรือให้รางวัลเมื่อเด็กมีพฤติกรรมดีขึ้น จากการเปิดใจของนักเรียน ในผลการวิจยพบว่า พฤติกรรมที่ ั พ่อแม่กระท�าแล้วเด็กเกิดความรู้สึกดีๆ อย่างมาก คือ การโอบไหล่ กอดจูบ การให้ค�าปรึกษา และการพาไปเที่ยว รองลงมาคือ การซื้อ ของขวัญให้ ถามสาระทุกข์สุขดิบเสมอ แสดงความดีใจเมื่อเด็ก ประสบความส�าเร็จ อบรมสั่งสอนเด็กด้วยความเมตตา และการให้ ความรักความอบอุ่นในครอบครัว 27
  • 28. พ่อแม่ท� า ได้ พฤติกรรมของพ่อแม่มักถ่ายทอดไปยังลูก ก่อให้เกิดอุปนิสัยเฉพาะตัว ของลูก พ่อแม่จึงควร ร่วมวางแผนอนาคตของลูก ไต่ถามเรื่องที่โรงเรียน เข้าร่วมประชุมผู้ปกครอง ร่วมกิจกรรมของโรงเรียนการอบรมลูก ไม่ควรเข้มงวดหรือหย่อนยานจนเกินไป ใส่ใจวิธีสอน ปรึกษาหารือกับอาจารย์ เมื่อรู้สึกมีปัญหา ให้ความส�าคัญกับระบบการศึกษา และคุณภาพของอาจารย์ ปลูกฝังอุปนิสัย ให้เป็นคนดี มีคุณธรรมประจ�าใจ ตั้งแต่วัยเด็ก ช่วยส่งเสริมให้ลูกให้หลานให้ สามารถท�างาน จนประสบความส�าเร็จ 28
  • 29. 29
  • 30. สิทธิที่จะมีชีวิตอยู่รอด สาระว่าด้วย กฎหมายคุ้มครอง สิทธิเด็ก ลูก : แม่ขา หนูมีเรื่องจะปรึกษา แม่ : ได้ซิลูก มีอะไรหรือ ลูก : คือ พิมเพื่อนหนู เขาท้องค่ะ...แล้วแฟนเขาบังคับให้พิมท�าแท้งด้วย...เขาก็มา ถามหนูว่าจะท�าอย่างไรดี แม่ : ไม่ได้หรอกลูก มันบาปนะ...อันตรายต่อชีวิตพิมมาก แล้วนอกจากนั้นยังผิด กฎหมายอีกด้วย ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 301 : “หญิงใดท�าตนเองแท้งลูก ต้องระวางโทษจ�าคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท” 30
  • 31. สิทธิที่จะไม่ถูกละเมิดทางเพศ การข่มขืนกระท�าช�าเรา หากกระท�ากับเด็กอายุไม่เกิน 13 ปี, 15 ปี และเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส โทษสูงสุด จ�าคุก 20 ปี ปรับตั้งแต่ 30,000 – 40,000 บาท หรือจ�าคุกตลอดชีวิต และหากถึงแก่ความตาย โทษประหารชีวิตหรือจ�าคุกตลอดชีวิต โทรมเด็กหญิง กระท�าโดยมีอาวุธ โทษสูงสุดประหารชีวิต หรือจ�าคุกตลอดชีวิต และถ้าเด็กตายโทษประหารชีวิต การท�าอนาจาร กระท�ากับเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี ยินยอมหรือไม่ก็ตาม โทษจ�า/ปรับ ขู่เข็ญ ใช้ก�าลัง ไม่สามารถขัดขืน โทษจ�าคุกไม่เกิน 15 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจ�า/ปรับ กระท�าช�าเรา เด็กหญิงอายุไม่เกิน 13 ปี/15 ปี เป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส โทษสูงสุดจ�าคุก ตลอดชีวิต และหากถึงแก่การตายโทษสูงสุดประหารชีวิต การเป็นธุระจัดหาหญิงไปเพื่อการส�าเร็จความใคร่ของผู้อื่น เด็กหญิงอายุไม่เกิน 15 ปี โทษสูงสุดจ�าคุก 15 ปี และปรับกระท�าโดยใช้อุบายหลอกลวง ข่มขืนใจ จ�าคุก 20 ปี หรือตลอดชีวิต หรือประหารชีวิต 31
  • 32. พ่อแม่ ผู้ปกครอง ควรหมั่นสังเกตอาการผิด ปกติของบุตรหลานในการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน ซึ่ง อาจจะเป็นลางบอกเหตุร้าย หรือภัยที่จะกล�้ากลาย มาสู่เด็กๆ ถ้าผู้ปกครองรู้เท่าทันอาจหาวิธีป้องกัน ก่อนเหตุร้ายจะเกิดขึ้น แต่งต่อล่อแหลม อาการบอกเหตุ กินอาหารมาก/น้อยผิดปกติ เก็บตัว เศร้าซึม ไม่เว้นวัน กลับบ้านผิดเวลา เล่นอินเตอร์เน็ตหามรุ่มหามค�่า ทุ่มเทเวลาแต่งตัวสวยงามเกินสมควร สนิทสนมกับเพื่อนบ้านบางคนเป็นพิเศษ ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเกินสมควร มีพฤติกรรมหลงท�าตามเพื่อน หมกมุ่นกับการพูดคุยทางโทรศัพท์ กันก่อนเกิดเหตุ ร่วมกันกับลูกวางแผนการใช้เวลาแต่ละวัน ร่วมกันวิเคราะห์วิจารณ์ และเลือกใช้สื่อ/เทคโนโลยี ใช้เวลาว่างท�ากิจกรรมในครอบครัวร่วมกัน รับฟังปัญหาให้ค�าปรึกษาแบบมิตรที่ดี วางแผนค่าใช้จ่ายครอบครัวร่วมกัน 32
  • 33. สาระว่าด้วย กฎหมายคุ้มครอง สิทธิเด็ก สิทธิในการได้รับการเลี้ยงดู และได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ป๊อก : แม่ครับ โรงเรียนมัธยมศึกษาข้างบ้านเราเขาเปิดรับนักเรียนแล้ว ให้ผมไปสมัคร ชั้นม.1 นะครับ แม่ : ไม่ต้องเรียนแล้วแกน่ะ ออกมาช่วยแม่ท�างานที่โรงงาน หรือไปช่วยพ่อเขาตัด อ้อยเถอะ ป้า : ไม่ได้นะ...! ไม่ให้ลูกชายเรียนต่อไม่ได้ เพราะป๊อกยังอยู่ในวัยต้องเรียนระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับ 9 ปี แม่ : อ้าว...! แล้วใครจะช่วยฉัน ป้า : ก็ต้องช่วยกันหาวิธีการแก้ปัญหานี้แหละ แต่ถ้าไม่ให้ลูกเรียนผิดกฎหมาย และ ต้องถูกปรับด้วยนะ ป๊อก : ถ้างั้นแม่ให้ผมเรียน กศ.น. นอกเวลาท�างานนะครับ และผมก็ช่วยกันท�างานที่ บ้านเราได้ พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545 มาตรา 6 และ มาตรา 13 : ให้ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา ผู้ปกครองที่ไม่ ปฏิบัติตามต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท 33
  • 34. สาระว่าด้วย กฎหมายคุ้มครอง สิทธิที่จะไม่ถูกละเมิดทางเพศ สิทธิเด็ก ลุงสิงห์ : เดี๋ยวนี้...มีข่าวเด็กถูกข่มขืนบ่อยเหลือเกิน ลุงช่วง : นั่นนะซิ...สังคมเราแย่ไปกันใหญ่แล้ว ลุงสิงห์ : แล้วพวกเราจะช่วยกันอย่างไรดีล่ะ ลุงช่วง : เราต้องช่วยกันตักเตือนลูกหลานของเราให้แต่งตัวมิดชิด อย่าประเจิดประเจ้อ ยั่วยุนักซิ ลุงสิงห์ : การไปในที่เปลี่ยวๆ ลับหู ลับตาคนตามล�าพังก็เหมือนกัน ต้องบอกให้ระวัง ตัวตลอดเวลา ด้วยนะ ลุงช่วง : ใช่...เราอย่าปล่อยลูกหลานให้ไปคนเดียวในที่เปลี่ยว หรือในเวลาค�่ามืด ถ้า จ�าเป็นก็ต้องให้มีใครไปเป็นเพื่อนด้วยก็แล้วกัน ลุงสิงห์ : อย่างไรก็ตาม พ่อแม่ ผู้ปกครองควรมีความรู้เรื่องกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิเด็กที่ จะไม่ถูกละเมิดทางเพศบ้างนะ 34
  • 35. พ่อแม่ท� า ได้ พาลูกไปนอกบ้าน หรือไปเยี่ยมเพื่อนฝูงเป็นครั้งคราว ทิ้งงานทุกอย่างเพื่อลูกได้ ความสุขของลูกคือสิ่งส�าคัญที่สุด ให้ความสนใจการแสดงออกทางอารมณ์และความคิดของลูก หากเกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์รีบป้องกัน แก้ไขตั้งแต่เนิ่นๆ ครอบครัวที่พ่อแม่ขัดแย้งกัน ถ้าทุบตีกันให้เด็กเห็น เด็กจะมีความกลัว ไม่ลงโทษโดยการดุด่า ทุบตี ควรอธิบายให้เด็กรู้ว่าไม่ควรกระท�าโดยบอกเหตุผล 35
  • 36. ส่งเสริมลูกหลาน ตามความสามารถ การให้ ค วามรู ้ แ ละประสบการณ์ แ ก่ ลู ก หลานของเรามี ความส�าคัญที่สุด ผู้ปกครองสามารถส่งเสริมให้เขาสามารถพัฒนา ตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โดยต้องตระหนักว่า มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า มีปัญญาความสามารถหลายด้าน แต่อาจมากน้อยต่างกันในแต่ละด้าน ได้แก่ 36
  • 37. ความสามารถด้านปัญญา การพัฒนาส่งเสริม ด้านภาษา ฝึกการเขียนบทกวี ค�าประพันธ์ จดบันทึก ผสม ผสานค�า และการออกเสียงทั้งภาษาไทยและ ต่างประเทศ ด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ ฝึกการนับเลข ฝึกคิดเลขในใจ ฝึกใช้และคิด สูตรมาทดแทนการนับ ฝึกคิดเป็นเหตุเป็นผล ฝึกการคิดแก้ปัญหาและการคิดวิเคราะห์ ด้านมิติ ฝึกการจินตนาการ คิดสิ่งใหม่ๆ การวาดภาพ ตามความคิด การประดิษฐ์รูปทรงต่างๆ การ วาดภาพและระบายสี ด้านมนุษย์สัมพันธ์ ฝึกให้ท�ากิจกรรมเป็นกลุ่ม ยอมรับฟังความคิด เห็นของผู้อื่น ฝึกการรับรู้ แลกเปลี่ยนความคิด เห็นกับผู้อื่น ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว ฝึกการออกก�าลังกาย บริหารร่างกาย การ เคลื่อนไหวร่างกายที่ถูกต้อง ฝึกเล่นกีฬาที่ถนัด ด้านดนตรี ฝึกการร้องเพลง ฟังเพลง เคาะจังหวะตาม เพลง เลียนแบบการพูดจากวิทยุ โทรทัศน์ ด้านการเข้าใจตนเอง ฝึกสมาธิ ส�ารวจอารมณ์ตนเอง ฝึกสังเกต พฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ ด้านธรรมชาติ ฝึกการร่วมกิจกรรมรณรงค์อนุรักษ์ธรรมชาติ การปลูกและดูแลต้นไม้ การเลียงสัตว์ และดูแล ้ สัตว์เลี้ยง 37
  • 38. พ่อแม่ต้นแบบ ในการดูแลช่วยหลือนักเรียน พ่อแม่ ผู้ปกครองและชุมชนเป็นได้ทั้งแหล่งเรียนรู้ และบุคคลตัวอย่างได้ การส่งเสริมให้ลูกหลานมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ศีลธรรมและจริยธรรม ดังนี้ พฤติกรรมพ่อ แม่ ผู้ปกครอง ชุมชน พฤติกรรมของลูกหลาน ความรู้สึกของลูกหลาน 38
  • 39. อันตราย – ภัยพาล ระวัง! มือมีดดักจี้มือถือนักศึกษา อินเตอร์เน็ตเป็นผู้ร้ายที่ไม่มีตัวตน เด็กมัธยมเร่ขายบริการทางเพศ ผลวิจัยพบข้อสังเกตวัยรุ่นเคยเสียสาว ผีพนันบอลเข้าสิงนักเรียนยิงตัวตายหนีหนี้ ขโมยเงินเพื่อนเอาไปซื้อของฟุ่มเฟือย ยิงครูตายแค้นประจานหน้าห้อง วัยรุ่น วัยรุ่น เป็นวัยที่ก�าลังก้าวพ้นจากความเป็นเด็ก เข้าสู่วัยผู้ใหญ่ เป็นเด็กก็ไม่ใช่ผู้ใหญ่ก็ไม่เชิง อายุ ประมาณ 13 – 18 ปี มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทาง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและฮอร์โมนทางเพศ รูป ร่างและสรีระก็แปลกไป จิตใจก็ว้าวุ่น คิดแปลกๆ การ เปลี่ยนแปลงทางกายเป็นเรื่องปกติ แต่ทางด้านจิตใจ ของวัยรุ่น ถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจก็ท�าให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น การก้าวร้าว เกิดอารมณ์ความรู้สึก หรือระบาย อารมณ์กับผู้อื่น 39
  • 40. พ่อแม่ ต้นแบบ รู้จักเลือกภาษาในการอบรมสั่งสอนอย่างเหมาะสม มีสัมพันธภาพที่ดีกับพ่อแม่ รู้สึกพอใจ รู้จักการให้เกียรติผู้อื่น สบายใจ รู้จักกาลเทศะ แก้ไขปัญหาด้วยการประนีประนอม รู้จักใช้เหตุผล สบายใจ มองโลกในแง่ดี เชื่อมั่นในตัวพ่อแม่ รู้จักผ่อนหนักเป็นเบา รู้สึกปลอดภัย ไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา 40
  • 41. เป็นผู้มีการวางแผนในการด�ารงชีวิตที่ดี เป็นผู้มีการวางแผนในการด�ารงชีวิตที่ดี ชื่นชม ภาคภูมิใจ เป็นคนไม่ประมาท รักและอยากท�าตามพ่อแม่ รู้จักตัดสินใจและแก้ สบายใจ และรู้จักวางแผนการท�างาน ปัญหาอย่างมีระบบ มีความพยายาม อดทนมีเป้าในในการเรียน และการด�าเนินชีวิต เชื่อมั่นภูมิใจในตนเอง สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ รู้จักยับยั้งชั่งใจ ไม่เครียด มีเหตุมีผล ไม่กลัว รู้อารมณ์และแสดง สบายใจ และรู้สึกปลอดภัย ออกได้อย่างเหมาะสม มีความมั่นคงทางอารมณ์ มีความอดทน อดกลั้น 41
  • 42. พ่อแม่ ต้นแบบ มีอารมณ์ขัน มองโลกในแง่ดี ร่าเริง แจ่มใส มีความสุข ไม่เครียด มีความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพ สนุกสนาน เป็นที่ชื่นชอบของคนทั่วไป อารมณ์ดี มีความรู้สึกอบอุ่น ให้ความรักความห่วงใยเอื้ออาทร รักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น มีความสุข มีสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น อารมณ์ดี เชื่อมั่นและภาคภูมิใจในตนเอง สบายใจ มองโลกในแง่ดี รู้สึกอบอุ่น รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รักพ่อแม่ มีความกตัญญูกตเวที และคนอื่น 42
  • 43. เป็นที่ปรึกษาที่อบอุ่นปลอดภัย มีความมั่นคงทางอารมณ์ รักพ่อแม่ มีความสามารถในการแก้ปัญหาและปรับตัว ปลอดภัยและไว้วางใจ รู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น อบอุ่นใจ รู้จักไว้วางใจผู้อื่น มั่นใจ มองโลกในแง่ดี มีเมตตาช่วยเหลือผู้อื่น มีจิตใจอ่อนโยน ยอมรับผู้อื่น ชื่นชม มีความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ภาคภูมิใจ และภาคภูมิใจในตนเอง มีความสุข สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น เข้าใจ มีความเสียสละและรู้จักแบ่งปัน มั่นใจผู้อื่น เอื้ออาทร ประทับใจ 43
  • 44. พ่อแม่ ต้นแบบ ท�ากิจกรรมในครอบครัวร่วมกัน มีความพึงพอใจในชีวิตและครอบครัว มีความสุข มีความส�านึกดี อบอุ่น ปรองดองในครอบครัว มีความรักใครผูกพันในครอบครัว มีความรักและช่วยเหลือกัน มีความสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 44
  • 45. ตัวอย่างกิจกรรมส�าหรับครอบครัว ครอบครัว 4ก กิจกรรมครอบครัว 4 ก นี้ ท�าได้ไม่ยาก จัดกิจกรรม ดังนี้ ก 1 คือ กิน อย่างน้อยวันละ 1 มื้อ พ่อ แม่ ลูกควรได้มีโอกาส กินข้าวร่วมกัน การที่แม่ตักข้าวให้ลูก หรือลูกเตรียมน�้าดื่มให้พ่อแม่ พ่อช่วยจัด จาน ช้อนส้อมเป็นความผูกพันที่ดียิ่ง เรื่องราวที่ลูกอยาก จะเล่าให้พ่อแม่ฟัง การชื่นชม หรือการปลอบประโลม สามารถท�าใน เวลานี้ได้ อาการเหงาหงอย เศร้าซึม หรือการรับประทานอาหารน้อย ลงของลูกย่อมเป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรสังเกตได้ในวงข้าว ก 2 คือ กอด ก่อนลูกรักไปโรงเรียน หรือกลับจากโรงเรียน ถึงบ้าน หากพ่อแม่คอยส่งและคอยรับด้วยรอยยิ้มและค�าพูด ไต่ถาม ด้วยความห่วงใย ทีสาคัญทีสด คือ การโอบกอด การลูบหลัง ลูบศีรษะ ่� ุ่ จะเป็นยาขนานเอกที่ดึงหัวใจของลูกรักไว้ทุกครั้งที่จะท�าสิ่งไม่ถูกไม่ ควร ก็จะนึกถึงสัมผัสอันอ่อนโยนของพ่อแม่ก่อน ก 3 คือ กล่อม ไม่จ�าเป็นต้องถึงขั้นร้องเพลงกล่อมเหมือน ทารก แต่จะเป็นค�าพูดดีๆ ไพเราะ อ่อนหวน ค�าพูดที่ท�าให้ลูกอบอุ่น มี ความสุขและสบายใจ ก 4 คือ เกลา การที่ถูกท�าผิดหรือกระท�าอะไรไม่ถูกต้อง พ่อ แม่สามารถที่จะค่อยๆ บอกและสอนไปทีละนิดทีละหน่อย บางเรื่อง อาจท�าเป็นตัวอย่างให้เห็น ให้รู้สึกภูมิใจ ลูกชายอยากท�าดีเหมือนพ่อ ลูกสาวก็อยากท�าดีเหมือนอย่างที่แม่ท�า 45
  • 46. ตัวอย่างกิจกรรมส�าหรับครอบครัว กิจกรรม ค ร อ บ ค รั ว สัมพันธ์ เป็นกิจกรรมที่สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว ระหว่างพ่อ แม่ ลูก และบุคคลอื่นๆ ในครอบครัว เพื่อสร้างความรู้สึกที่ดีๆ ต่อกัน เป็นการท�ากิจกรรมเพือแสดงความเอืออาทรซึงกันและกัน เป็นกิจกรรม ่ ้ ่ ที่สร้างคุณลักษณะความรับผิดชอบร่วมกัน มีกิจกรรมหลากหลายให้เลือกและร่วมกันท�า เช่น ออกก�าลังกายร่วมกัน ปลูกต้นไม้ ทัศนศึกษา ท�ากิจกรรมสาธารณะ ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา ฯลฯ 46
  • 47. ตัวอย่างกิจกรรมส�าหรับครอบครัว พ่อแม่ปลูก ลูก รักษา กิจกรรมนี้ เป็นกิจกรรมที่ต้องการให้ลูกมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางอาชีพต่างๆ เพื่อ เด็กจะได้มีความขยัน อดทน รักการท�างาน และเห็นคุณค่าในตนเอง ขั้นตอนการท�ากิจกรรมมีดังนี้ พ่อ แม่ปลูกต้นไม้ ลูกช่วยรดน�้าต้นไม้ ใส่ปุ๋ย ดูแลรักษา พ่อ แม่ ลูกไปศึกษาแหล่งเรียนรู ้ ตัวอย่างความส�าเร็จ งานนิทรรศการ การประกวด ต้นไม้ เพื่อเป็นความรู้มาดูแลต้นไม้ของตนเอง มอบหมายให้ลูกดูแลต้นไม้ 47
  • 48. ผู้ปกครองร่วมมือ ชุมชนร่วมใจ เด็กไทยพัฒนา 48
  • 50. ปัญหาของลูกนั้นมีหลากหลาย ทั้งที่เป็นปัญหาทาง ร่างกาย ปัญหาทางจิตใจ อารมณ์ สังคม ปัญหาการเรียน การท�างาน ตลอดจนปัญหาชีวิตที่มีเหตุปัจจัยซับซ้อน พ่อแม่จึงควรช่วยให้ลูก....... แข็งแกร่งและมีภูมิต้านทานเพียงพอ ที่จะใช้สติปัญญาแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง โดยการฝึกหัดอบรมลูก ให้เรียนรู้การแก้ปัญหาตั้งแต่เยาว์ ลูกรักของเราไม่ใช่หุ่น หรือตุ๊กตา ลูกไม่ใช่ดินเหนียวที่พ่อแม่ถือสิทธิ์ปั้นแต่งเอาตามชอบใจ ลูกรักเป็นมนุษย์มีชีวิตจิตใจ มีความสามารถความถนัดความสนใจของเขาเอง ดัวยเหตุนี้ พ่อแม่ต้องหมั่นสังเกตพฤติกรรมของลูก ไมว่าลูกจะยังอ่อนเยาว์ หรือเติบโต เป็นเด็กวัยรุ่นหรือหนุ่มสาว ลูกเรียนรู้โดยเลียนแบบพฤติกรรมที่พ่อแม่พูด พ่อแม่ท�า พ่อแม่ปฏิบัติต่อผู้อื่น ลูก เรียนรู้จากค�าแนะน�า ตักเตือน เสริมแรงทีละน้อย ค่อยอบรม ลูกจึงได้รับค�าชมเมื่อคิดดี ท�าดี แต่เมื่อลูกท�าผิดพลาด พ่อแม่ลูกวิธีท�าโทษที่ละเว้นความรุนแรง มุ่งแสดงเหตุผล และจัดสถานการณ์ให้ลูกมีก�าลังใจแก้ไขความผิดพลาดนั้นๆ 50
  • 51. สอนอย่างไรให้เขาเชื่อ เขาจะเชื่อเมื่อเขารัก เขาจะเชื่อเมื่อเขาศรัทธา เขาจะเชื่อเมื่อเราเป็นแบบอย่างที่ดี ท�าอย่างไรให้เขารัก ท�าอย่างไรให้เขาศรัทธา ท�าอย่างไรให้เขาท�าตามแบบอย่างที่ดี สอนคนอื่น สอนคนอื่นให้เข้มแข็ง สอนคนอื่นให้กล้าหาญ สอนคนอื่นให้สามัคคี สอนคนอื่นให้มีวินัย สอนคนอื่นให้ท�าดี สอนให้เขา......ท�าโน่น........ท�านี่........ “ตัวเรานี้ ท�าหรือยัง ดีหรือยัง” 51
  • 52. ในการสร้างการเรียนรู้แก่ลูกหลาน เปิดโอกาสให้ลูกได้สัมผัสและสัมพันธ์กับ หลายสิ่งที่แวดล้อม สังเกตความเคลื่อนไหว ได้เห็นความเปลี่ยนแปลงและความงดงามของธรรมชาติ พ่อแม่ไม่ควรก�าหนดเคี่ยวเข็ญให้ลูกเป็น ในสิ่งที่เขาไม่เป็น และเป็นไม่ได้ พ่อแม่ส่งเสริมการเรียนรู้ของลูก ตามที่ลูกเป็น และตามที่ลูกสามารถเป็นได้ สุมน อมรวิวัฒน์ 52
  • 53. จุดมุ่งหมายของการศึกษา คือ การพัฒนาอุปนิสัยที่ดีงามในตัวเด็กให้สมบูรณ์ เราจะต้องยกระดับจิตใจของเด็กให้ถึงระดับสูงสุด เราจะต้องพัฒนาเด็กในทุกๆ ด้าน ไป พร้อมๆ กัน เราสอนให้เด็ก...... รู้จักใช้มือ ในการท�าแต่สิ่งที่ดี รู้จักใช้ปากและลิ้น พูดแต่สิ่งที่ดีมีประโยชน์ รู้จักใช้หู เพื่อฟังแต่สิ่งที่ดี รู้จักใช้ตา มองแต่สิ่งที่ดี เห็นบทเรียนที่อยู่รอบตัว รู้จักใช้ปัญญา หยั่งรู้ทุกศาสตร์วิชาที่จะท�าให้ประสบผลส�าเร็จ พ่อแม่และครู ปรารถนาที่จะเห็นบุตรหลานเป็นคนดี มีความรู้ มีความสามารถ เห็นแต่สิ่งที่ดี คิดแต่สิ่งที่ดี และท�าแต่สิ่งที่ดีตลอดเวลา ดังนั้น พ่อแม่ และครู จึงต้องเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับเด็ก ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา 53
  • 54. พูดให้คิด “บิดามารดา... ผู้ตามใจลูกเกินไป จนลูกเสียคน ย่อมเสี่ยงที่จะเป็นศัตรูของลูก มากกว่าที่จะเป็น บุพการีของลูก” ศรีวิทย์ ทองเพ็ง 54