SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้
                                     เรือง การเคลือนทีของวัตถุ

        การเคลือนที เป็ นผลจากแรงทีไปกระทําต่อวัตถุแล้วทําให้วตถุเคลือนทีไป ปริ มาณทีเกียวข้อง
                                                                   ั
กับการเคลือนที เช่น ระยะทาง เวลา อัตราเร็ ว อัตราเร่ ง ตัวอย่างการเคลือนทีในหนึงมิติการเคลือนที
ของรถยนต์

                          เริมต้ น                           เมือเคลือนที




                        การเคลือนทีของรถยนต์ ไปข้ างหน้ าในแนวเส้ นตรง


        การปล่ อยวัตถุให้ ตกในแนวดิง
        เมือปล่อยวัตถุให้ตกในแนวดิง จะเห็นว่าวัตถุจะเคลือนทีได้ระยะทางมากขึนเมือเวลาผ่านไป
นานขึน เนืองจากแรงดึงดูดของโลกจะทําให้วตถุมีความเร่ งในการเคลือนที ดังรู ป
                                         ั

                                     การปล่อยวัตถุให้ตกในแนวดิงจะมีแรงดึงดูด
                                     ของโลกมาเกียวข้องทําให้วตถุตกให้เร็ วขึน
                                                             ั
การโยนวัตถุขึนตรง ๆ
         เมือโยนวัตถุขึนตรง ๆ จะเห็นว่าวัตถุจะเคลือนทีได้ระยะทางน้อยลงเมือเวลาผ่านไป
นานขึน เนืองจากต้องเคลือนทีต้านแรงดึงดูดของโลก

                                   การโยนลูกบอลขึนตรง ๆ ลูกบอล
                                   จะเคลือนทีต้านแรงดึงดูดของโลก



       ดังนัน การเคลือนทีจึงหมายถึง การเปลียนแปลงตําแหน่งของวัตถุต่าง ๆ เมือเวลาเปลียนไป




                                   การสั นและแกว่ งของวัตถุ

           การเคลือนทีในแนวดิง หมายถึงการปล่อยให้วตถุตกลงสู่ พืนดินโดยไม่มีแรงใดมากระทํา
                                                         ั
               ่
ต่อวัตถุนนไม่วาจะเป็ นผลัก แรงต้าน เรี ยกการตกแบบนีเรี ยกว่าการตกอย่างอิสระ เช่นการตกของผลไม้
         ั
ทีหลุดจากขัวลงสู่ พืนดิน
         การตกแบบอิสระนีจะมีแรงทีมาเกียวข้อง คือ แรงโน้มถ่วงของโลก ทําให้วตถุตกลงสู่ พืน
                                                                                ั
โลกเกิดความเร่ งประมาณ 9.8 เมตร/วินาที2 นันคือการตกของวัตถุมีความเร็ วไม่คงทีจะเปลียนไป
ทุกวินาที กล่าวคือวัตถุจะมีความเร็ วเพิมขึน และจะมีความเร็ วทีมากทีสุ ดตอนกระทบพืนโลก
           การเคลือนทีในแนวดิงทีคุนเคยกันมาก คือ การตกของวัตถุลงสู่ พืนโลกหรื อการโยนวัตถุ
                                     ้
ขึนไปตรง ๆ ในแนวดิงนันเอง โดยทัวไปการตกของวัตถุทุกชนิดจะมีแรงต้านของอากาศ ซึ งจะมาก
                 ่ ั
หรื อน้อยขึนอยูกบรู ปร่ างและอัตราเร็ วของวัตถุ ถ้าวัตถุมีมวลมากและรู ปทรงทีเหมาะสม เช่นทรงกลม
                                                                        ่
ทรงรี และตกจากทีไม่สูงมากนัก แรงต้านจากอากาศจะมีนอยมาก ถือได้วาไม่มีผลต่อการตกของวัตถุ
                                                           ้
ในการเคลือนทีของวัตถุทีตกอย่างอิสระ สามารถพิจารณาได้ดงนี   ั
          วัตถุตกจากทีสู งจะมีแรงชนิดหนึงทีเรี ยกกันว่าแรงโน้มถ่วงของโลก ทําให้วตถุตกลงมาด้วย
                                                                                  ั
ความเร่ งคงตัวเท่ากับ 9.8 เมตรต่อวินาที2 เพือความเหมาะสมในการคํานวณ ความเร่ งคงตัวทีเกิดจาก
แรงโน้มถ่วงของโลกทีเราอาจให้เท่ากับ 10 เมตรต่อวินาที2 ก็ได้
          ถ้านักเรี ยนโยนวัตถุขึนไปตรง ๆ นักเรี ยนจะพบว่าวัตถุเคลือนทีช้าลงเรื อย ๆ จนหยุด และ
ตกลงมาไม่วานักเรี ยนจะออกแรงโยนวัตถุขนาดไหนก็ตาม จะแตกต่างกันทีว่า ถ้าออกแรงมากวัตถุก็
             ่
จะขึนไปสู งมาก ถ้าออกแรงน้อยวัตถุก็จะขึนไปสู งน้อยกว่าทีเป็ นเช่นนีเพราะว่ามีแรงโน้มถ่วงของโลก
มากรทําต่อวัตถุ ซึ งพิจารณาได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
          1. ขณะทีวัตถุเคลือนทีขึนในอากาศ จะถูกแรงโน้มถ่วงของโลกทําให้เกิดความเร่ ง – 9.8
เมตรต่อวินาที2 (ความเร่ งมีเครื องหมายลบ ก็คือความหน่วงนันเอง) ทําให้วตถุเคลือนทีช้าลงอย่าง
                                                                        ั
สมําเสมอจนหยุดทีจุดสู งสุ ด คือมีอตราเร็ วเป็ นศูนย์
                                   ั
          2. ขณะทีวัตถุเคลือนทีลงจะถูกแรงโน้มถ่วงของโลกมากระทําให้วตถุเกิดความเร่ งเท่ากับ
                                                                          ั
9.8 เมตรต่อวินาที2 จนกระทังวัตถุตกลงสู่ พืนดิน

        กฎแห่ งความโน้ มถ่ วงของโลก
        กฎแห่งความโน้มถ่วงของโลก กล่าวว่า วัตถุทุกชนิดล้วนมีแรงดึงดูดซึ งกันและกัน
กฎนีค้นพบโดย ไอแซกนิวตัน (พ.ศ. 2485 – 2270)

             แรงโน้ มถ่ วงของโลก (Gravitation Force)
             แรงโน้มถ่วงของโลก คือ แรงดึงดูดทีมวลของโลกกระทํากับมวลของวัตถุเพือดึงดูดวัตถุนนั
เข้าสู่ ศูนย์กลางโลก โดยทีมวลของโลกคงที ดังนันแรงดึงดูดของโลกจะเพิมมากขึนหรื อลดลงนันจึง
         ่ ั
ขึนอยูกบมวลของวัตถุ ถ้ามวลของวัตถุเพิมขึน แรงโน้มถ่วงของโลกกับมวลของวัตถุจะมากขึน
             นิวตัน เป็ นหน่วยของแรงทีทําให้วตถุเกิดการเปลียนแปลง
                                             ั
             แรง 1 นิวตัน หมายถึง แรงทีทําให้วตถุมวล 1 กิโลกรัม เคลือนทีด้วยความเร็ ว
                                                 ั
1 เมตร / (วินาที)2
                                  F = ma
                           เมือ F    = แรง (นิวตัน หรื อ กิโลกรัม × เมตร / (วินาที)2
                                m = มวลของวัตถุ (กิโลกรัม)
                                a = ความเร่ งของวัตถุ (เมตร / (วินาที)2
                                               ่
                  อากาศส่ วนใหญ่ทีห่อหุ มโลกอยูไม่ลอยหนีไปในอวกาศเป็ นเพราะว่ามีแรงโน้มถ่วง
                                        ้
ของโลกซึ งแตกต่างจากดวงจันทร์ ทีเป็ นบริ วารของโลก มีอากาศห่อหุ มน้อยมาก เพราะดวงจันทร์
                                                                  ้
มีแรงโน้มถ่วงตํากว่า
                                             ่ ั                             ่ ั
          แรงโน้มถ่วงของโลก นอกจากจะขึนอยูกบขนาดของมวลวัตถุแล้ว ยังขึนอยูกบระยะห่ างจาก
จุดศูนย์กลางของโลกอีกด้วย ดังตาราง
          นําหนักของวัตถุ (Weight) แรงโน้มถ่วงระหว่างมวลของโลกกับมวลของวัตถุชินใด
มีค่าเท่ากับนําหนักของวัตถุชินนัน นันคือ นําหนักของวัตถุเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลกกระทําต่อ
มวลของวัตถุ เขียนเป็ นความสัมพันธ์ได้ดงนี
                                        ั
                                                     w = mg
                    เมือ w = นําหนักของวัตถุ มีหน่วยเป็ นนิวตัน (N)
                        m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็ นกิโลกรัม (kg)
                                    g = ความเร่ งเนืองจากแรงโน้มถ่วงของโลก มี
                                         ค่าประมาณ 9.8 m/sce2
             ∴   วัตถุมีมวล 1 kg จะมีนาหนัก
                                      ํ           = 1 kg   ×   9.8 m/ sce2
                                                 = 9.8 kg.m/ sce2
                                                 = 9.8 N
ตารางแสดงค่ าแรงโน้ มถ่ วงของโลกทีกระทําต่ อมวลวัตถุทีระดับต่ าง ๆ


         ระยะทางจากจุดศูนย์ กลางของโลก                    ค่ าแรงโน้ มถ่ วงของโลก
                     (กิโลกรัม)                      (จํานวนเท่ าของแรงทีพืนผิวโลก)
                    1 × 6,370*                                        1
                    2 × 6,370                                         1/4
                    3 × 6,370                                         1/9
                    4 × 6,370                                        1/16
                    5 × 6,370                                        1/25
                    6 × 6,370                                        1/36
                    7 × 6,370                                        1/49
                     8 × 6,370                                       1/64
                    9 × 6,370                                        1/81
                    10 × 6,370                                       1/100
              * รัศมีของโลก
          เมือเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางจากจุดศูนย์กลางของโลก และค่าแรง
โน้มถ่วงของโลก โดยให้แกนตังแสดงค่าแรงโน้มถ่วงของโลกและแกนนอนแสดงระยะทางจาก
จุดศูนย์กลางของโลก ระยะทางจากจุดศูนย์กลางของโลก 11 × 6,730 กิโลเมตร
         ค่าแรงโน้มถ่วงของโลกจะเป็ น 1 / 121 เท่าของแรงทีพืนผิวโลก
                          ่
         จากตารางสรุ ปได้วา
           1. แรงโน้มถ่วงของโลกทีกระทําต่อมวลของวัตถุระดับความสู งต่าง ๆ กันของโลก
แปรผกผันกับกําลังสองของระยะทางจากวัตถุถึงจุดศูนย์กลางของโลก
                                                            ่ ั
               2. แรงโน้มถ่วงของโลกทีกระทําต่อมวลวัตถุขึนอยูกบมวลของวัตถุและระยะ
             ั
ระหว่างวัตถุกบจุดศูนย์กลางของโลก
การเคลือนทีแบบโพรเจกไทล์
                เมือปล่อยให้วตถุตกแบบเสรี ทีความสู งระดับหนึง การเคลือนทีของวัตถุจะอยูใน
                                ั                                                              ่
แนวดิงซึ งเป็ นการเคลือนทีในแนวตรง ส่ วนในกรณี ทีวัตถุถูกทําให้เริ มเคลือนทีไปในแนวระดับนัน
ขณะเดียวกันจะตกแบบเสรี ดวยการเคลือนทีตกลงสู่ พืนของวัตถุจะอยูในแนวโค้ง ซึ งเรี ยกลักษณะการ
                              ้                                          ่
                                                                             ่
เคลือนทีกรณี หลังนีว่าการเคลือนทีแบบโพรเจกไทล์นกเรี ยนจะเห็นได้วาวัตถุซึงเคลือนทีแบบโพรเจก
                                                         ั
ไทล์นนประกอบด้วยการเคลือนทีทังในแนวดิงและแนวระดับพร้อม ๆ กัน
         ั
           การเคลือนทีแบบวงกลม
                เมือนักเรี ยนนําเชือกผูกกับวัตถุแล้วเหวียงเป็ นวงกลม ดังภาพนักเรี ยนจะพบว่าขณะที
                                                 นักเรี ยนเหวียงวัตถุนนเชื อกทีผูกติดกับวัตถุจะขึงตึง
                                                                       ั
                                                 ตลอดเวลาทังนีเพราะเราออกแรงตึงเชือกและเชื อกก็
                                                 ออกแรงดึงวัตถุแรงทีเกิดขึนในเส้นเชือกนีเราเรี ยกว่า
                                                 แรงตึงเชือก (T) และทิศทางของแรงตึงเชื อกทีกระทํา
                                                 ต่อวัตถุ จะมีทิศพุงเข้าสู่ จุดศูนย์กลางของการเคลือนที
                                                                   ่
                                                 ซึ งเราเรี ยกลักษณะการเคลือนทีเช่นนี ว่า การเคลือนที
                                                 แบบวงกลมวัตถุจะเคลือนทีแบบนีได้ตองมีแรงกระทํา
                                                                                          ้
                                                 ต่อวัตถุในทิศทางพุงเข้าสู่ จุดศูนย์กลางของการเคลือนที
                                                                     ่
เสมอตัวอย่างการเคลือนทีแบบวงกลมคือชิงช้าสวรรค์มอเตอร์ ไซค์ไต่ถงรถเลียวโค้งดาวเทียมโคจรโลก
                                                                           ั
           การเคลือนทีบนทางโค้ ง
                รถยนต์หรื อรถจักรยานซึ งแล่นบนถนนราบตรงจะมีแรงเสี ยดทานระหว่างยางรถกับ
พืนถนนในทิศเดียวกันกับการเคลือนที ซึ งช่วยให้รถยนต์เคลือนทีไปข้างหน้า แต่เมือรถเลียวโค้ง
จะต้องมีแรงสู่ ศูนย์กลางกระทําต่อรถ มิฉะนันแนวการเคลือนทีของรถจะยังคงต้องเป็ นเส้นตรงนันคือ
รถจะแล่นออกนอกทางโค้งทีเรี ยกกันทัวไปว่ารถแหกโค้ง ในกรณี ทีรถสามารถแล่นเลียวโค้งได้
แสดงว่ามีแรงเสี ยดทานระหว่างยางรถกับพืนถนนในแนวทีพุงเข้าสู่ ศูนย์กลางของการเลียวโค้ง
                                                                 ่
แรงสู่ ศูนย์กลางทีทําให้รถแล่นเลียวโค้ง คือแรงเสี ยดทาน
           การเคลือนทีแบบซิมเปิ ลฮาร์ มอนิก
                  ลักษณะของการเคลือนทีแบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย จะเป็ นการเคลือนทีทีมีลกษณะ     ั
พิเศษ คือวัตถุจะเคลือนทีกลับไปกลับมาทีเราเรี ยกว่า แกว่ง หรื อ สัน การเคลือนทีแบบนีจะเป็ นการ
             ่
เคลือนทีอยูในช่วงสันๆ มีขอบเขตจํากัด เราเรี ยกว่า แอมพลิจูด (Amplitude) โดยนับจากตําแหน่งสมดุล
       ่
ซึ งอยูตรงจุดกลางวัดไปทางซ้ายหรื อขวา เช่น การแกว่งของชิงช้า หรื อยานไวกิงในสวนสนุก
การเคลือนทีแบบวงกลม
                เป็ นการเคลือนทีของวัตถุรอบจุดๆหนึง โดยมีรัศมีคงที การเคลือนทีเป็ นวงกลม ทิศทาง
ของการเคลือนทีจะเปลียนแปลงตลอดเวลา ความเร็ วของวัตถุจะเปลียนไปตลอดเวลา ทิศของแรงที
กระทําจะตังฉากกับทิศของการเคลือนทีแรงทีกระทําต่อวัตถุจะมีทิศทางเข้าสู่ ศูนย์กลาง เราจึงเรี ยกว่า
“แรงสู่ ศูนย์กลาง” ในขณะเดียวกัน จะมีแรงต้านทีไม่ให้วตถุเข้าสู่ ศูนย์กลาง เราเรี ยกว่า “แรงหนี
                                                       ั
ศูนย์กลาง” แรงหนีศูนย์กลางจะเท่ากับแรงสู่ ศูนย์กลาง วัตถุจึงจะเคลือนทีเป็ นวงกลมได้
การเคลื่อนที่ของวัตถุ

Contenu connexe

Tendances

วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
savokclash
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
chanok
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
Saran Srimee
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
Mew' Cifer
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
Khwankamon Changwiriya
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
dnavaroj
 

Tendances (20)

แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
wan
wanwan
wan
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Evaporation 4 slides
Evaporation 4 slidesEvaporation 4 slides
Evaporation 4 slides
 

Similaire à การเคลื่อนที่ของวัตถุ

แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
Janesita Sinpiang
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
Lai Pong
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
weerawat pisurat
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
Taweesak Poochai
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
pumarin20012
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ธงชัย ควรคนึง
 
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
Foam Watiboonruang
 

Similaire à การเคลื่อนที่ของวัตถุ (20)

Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
Brands physics
Brands physicsBrands physics
Brands physics
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
Kraft Och RöRelse Thai
Kraft Och RöRelse ThaiKraft Och RöRelse Thai
Kraft Och RöRelse Thai
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
mahin
mahinmahin
mahin
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
 

Plus de dnavaroj

บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 

Plus de dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

การเคลื่อนที่ของวัตถุ

  • 1. ใบความรู้ เรือง การเคลือนทีของวัตถุ การเคลือนที เป็ นผลจากแรงทีไปกระทําต่อวัตถุแล้วทําให้วตถุเคลือนทีไป ปริ มาณทีเกียวข้อง ั กับการเคลือนที เช่น ระยะทาง เวลา อัตราเร็ ว อัตราเร่ ง ตัวอย่างการเคลือนทีในหนึงมิติการเคลือนที ของรถยนต์ เริมต้ น เมือเคลือนที การเคลือนทีของรถยนต์ ไปข้ างหน้ าในแนวเส้ นตรง การปล่ อยวัตถุให้ ตกในแนวดิง เมือปล่อยวัตถุให้ตกในแนวดิง จะเห็นว่าวัตถุจะเคลือนทีได้ระยะทางมากขึนเมือเวลาผ่านไป นานขึน เนืองจากแรงดึงดูดของโลกจะทําให้วตถุมีความเร่ งในการเคลือนที ดังรู ป ั การปล่อยวัตถุให้ตกในแนวดิงจะมีแรงดึงดูด ของโลกมาเกียวข้องทําให้วตถุตกให้เร็ วขึน ั
  • 2. การโยนวัตถุขึนตรง ๆ เมือโยนวัตถุขึนตรง ๆ จะเห็นว่าวัตถุจะเคลือนทีได้ระยะทางน้อยลงเมือเวลาผ่านไป นานขึน เนืองจากต้องเคลือนทีต้านแรงดึงดูดของโลก การโยนลูกบอลขึนตรง ๆ ลูกบอล จะเคลือนทีต้านแรงดึงดูดของโลก ดังนัน การเคลือนทีจึงหมายถึง การเปลียนแปลงตําแหน่งของวัตถุต่าง ๆ เมือเวลาเปลียนไป การสั นและแกว่ งของวัตถุ การเคลือนทีในแนวดิง หมายถึงการปล่อยให้วตถุตกลงสู่ พืนดินโดยไม่มีแรงใดมากระทํา ั ่ ต่อวัตถุนนไม่วาจะเป็ นผลัก แรงต้าน เรี ยกการตกแบบนีเรี ยกว่าการตกอย่างอิสระ เช่นการตกของผลไม้ ั ทีหลุดจากขัวลงสู่ พืนดิน การตกแบบอิสระนีจะมีแรงทีมาเกียวข้อง คือ แรงโน้มถ่วงของโลก ทําให้วตถุตกลงสู่ พืน ั โลกเกิดความเร่ งประมาณ 9.8 เมตร/วินาที2 นันคือการตกของวัตถุมีความเร็ วไม่คงทีจะเปลียนไป ทุกวินาที กล่าวคือวัตถุจะมีความเร็ วเพิมขึน และจะมีความเร็ วทีมากทีสุ ดตอนกระทบพืนโลก การเคลือนทีในแนวดิงทีคุนเคยกันมาก คือ การตกของวัตถุลงสู่ พืนโลกหรื อการโยนวัตถุ ้ ขึนไปตรง ๆ ในแนวดิงนันเอง โดยทัวไปการตกของวัตถุทุกชนิดจะมีแรงต้านของอากาศ ซึ งจะมาก ่ ั หรื อน้อยขึนอยูกบรู ปร่ างและอัตราเร็ วของวัตถุ ถ้าวัตถุมีมวลมากและรู ปทรงทีเหมาะสม เช่นทรงกลม ่ ทรงรี และตกจากทีไม่สูงมากนัก แรงต้านจากอากาศจะมีนอยมาก ถือได้วาไม่มีผลต่อการตกของวัตถุ ้
  • 3. ในการเคลือนทีของวัตถุทีตกอย่างอิสระ สามารถพิจารณาได้ดงนี ั วัตถุตกจากทีสู งจะมีแรงชนิดหนึงทีเรี ยกกันว่าแรงโน้มถ่วงของโลก ทําให้วตถุตกลงมาด้วย ั ความเร่ งคงตัวเท่ากับ 9.8 เมตรต่อวินาที2 เพือความเหมาะสมในการคํานวณ ความเร่ งคงตัวทีเกิดจาก แรงโน้มถ่วงของโลกทีเราอาจให้เท่ากับ 10 เมตรต่อวินาที2 ก็ได้ ถ้านักเรี ยนโยนวัตถุขึนไปตรง ๆ นักเรี ยนจะพบว่าวัตถุเคลือนทีช้าลงเรื อย ๆ จนหยุด และ ตกลงมาไม่วานักเรี ยนจะออกแรงโยนวัตถุขนาดไหนก็ตาม จะแตกต่างกันทีว่า ถ้าออกแรงมากวัตถุก็ ่ จะขึนไปสู งมาก ถ้าออกแรงน้อยวัตถุก็จะขึนไปสู งน้อยกว่าทีเป็ นเช่นนีเพราะว่ามีแรงโน้มถ่วงของโลก มากรทําต่อวัตถุ ซึ งพิจารณาได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ 1. ขณะทีวัตถุเคลือนทีขึนในอากาศ จะถูกแรงโน้มถ่วงของโลกทําให้เกิดความเร่ ง – 9.8 เมตรต่อวินาที2 (ความเร่ งมีเครื องหมายลบ ก็คือความหน่วงนันเอง) ทําให้วตถุเคลือนทีช้าลงอย่าง ั สมําเสมอจนหยุดทีจุดสู งสุ ด คือมีอตราเร็ วเป็ นศูนย์ ั 2. ขณะทีวัตถุเคลือนทีลงจะถูกแรงโน้มถ่วงของโลกมากระทําให้วตถุเกิดความเร่ งเท่ากับ ั 9.8 เมตรต่อวินาที2 จนกระทังวัตถุตกลงสู่ พืนดิน กฎแห่ งความโน้ มถ่ วงของโลก กฎแห่งความโน้มถ่วงของโลก กล่าวว่า วัตถุทุกชนิดล้วนมีแรงดึงดูดซึ งกันและกัน กฎนีค้นพบโดย ไอแซกนิวตัน (พ.ศ. 2485 – 2270) แรงโน้ มถ่ วงของโลก (Gravitation Force) แรงโน้มถ่วงของโลก คือ แรงดึงดูดทีมวลของโลกกระทํากับมวลของวัตถุเพือดึงดูดวัตถุนนั เข้าสู่ ศูนย์กลางโลก โดยทีมวลของโลกคงที ดังนันแรงดึงดูดของโลกจะเพิมมากขึนหรื อลดลงนันจึง ่ ั ขึนอยูกบมวลของวัตถุ ถ้ามวลของวัตถุเพิมขึน แรงโน้มถ่วงของโลกกับมวลของวัตถุจะมากขึน นิวตัน เป็ นหน่วยของแรงทีทําให้วตถุเกิดการเปลียนแปลง ั แรง 1 นิวตัน หมายถึง แรงทีทําให้วตถุมวล 1 กิโลกรัม เคลือนทีด้วยความเร็ ว ั 1 เมตร / (วินาที)2 F = ma เมือ F = แรง (นิวตัน หรื อ กิโลกรัม × เมตร / (วินาที)2 m = มวลของวัตถุ (กิโลกรัม) a = ความเร่ งของวัตถุ (เมตร / (วินาที)2 ่ อากาศส่ วนใหญ่ทีห่อหุ มโลกอยูไม่ลอยหนีไปในอวกาศเป็ นเพราะว่ามีแรงโน้มถ่วง ้ ของโลกซึ งแตกต่างจากดวงจันทร์ ทีเป็ นบริ วารของโลก มีอากาศห่อหุ มน้อยมาก เพราะดวงจันทร์ ้
  • 4. มีแรงโน้มถ่วงตํากว่า ่ ั ่ ั แรงโน้มถ่วงของโลก นอกจากจะขึนอยูกบขนาดของมวลวัตถุแล้ว ยังขึนอยูกบระยะห่ างจาก จุดศูนย์กลางของโลกอีกด้วย ดังตาราง นําหนักของวัตถุ (Weight) แรงโน้มถ่วงระหว่างมวลของโลกกับมวลของวัตถุชินใด มีค่าเท่ากับนําหนักของวัตถุชินนัน นันคือ นําหนักของวัตถุเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลกกระทําต่อ มวลของวัตถุ เขียนเป็ นความสัมพันธ์ได้ดงนี ั w = mg เมือ w = นําหนักของวัตถุ มีหน่วยเป็ นนิวตัน (N) m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็ นกิโลกรัม (kg) g = ความเร่ งเนืองจากแรงโน้มถ่วงของโลก มี ค่าประมาณ 9.8 m/sce2 ∴ วัตถุมีมวล 1 kg จะมีนาหนัก ํ = 1 kg × 9.8 m/ sce2 = 9.8 kg.m/ sce2 = 9.8 N
  • 5. ตารางแสดงค่ าแรงโน้ มถ่ วงของโลกทีกระทําต่ อมวลวัตถุทีระดับต่ าง ๆ ระยะทางจากจุดศูนย์ กลางของโลก ค่ าแรงโน้ มถ่ วงของโลก (กิโลกรัม) (จํานวนเท่ าของแรงทีพืนผิวโลก) 1 × 6,370* 1 2 × 6,370 1/4 3 × 6,370 1/9 4 × 6,370 1/16 5 × 6,370 1/25 6 × 6,370 1/36 7 × 6,370 1/49 8 × 6,370 1/64 9 × 6,370 1/81 10 × 6,370 1/100 * รัศมีของโลก เมือเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางจากจุดศูนย์กลางของโลก และค่าแรง โน้มถ่วงของโลก โดยให้แกนตังแสดงค่าแรงโน้มถ่วงของโลกและแกนนอนแสดงระยะทางจาก จุดศูนย์กลางของโลก ระยะทางจากจุดศูนย์กลางของโลก 11 × 6,730 กิโลเมตร ค่าแรงโน้มถ่วงของโลกจะเป็ น 1 / 121 เท่าของแรงทีพืนผิวโลก ่ จากตารางสรุ ปได้วา 1. แรงโน้มถ่วงของโลกทีกระทําต่อมวลของวัตถุระดับความสู งต่าง ๆ กันของโลก แปรผกผันกับกําลังสองของระยะทางจากวัตถุถึงจุดศูนย์กลางของโลก ่ ั 2. แรงโน้มถ่วงของโลกทีกระทําต่อมวลวัตถุขึนอยูกบมวลของวัตถุและระยะ ั ระหว่างวัตถุกบจุดศูนย์กลางของโลก
  • 6. การเคลือนทีแบบโพรเจกไทล์ เมือปล่อยให้วตถุตกแบบเสรี ทีความสู งระดับหนึง การเคลือนทีของวัตถุจะอยูใน ั ่ แนวดิงซึ งเป็ นการเคลือนทีในแนวตรง ส่ วนในกรณี ทีวัตถุถูกทําให้เริ มเคลือนทีไปในแนวระดับนัน ขณะเดียวกันจะตกแบบเสรี ดวยการเคลือนทีตกลงสู่ พืนของวัตถุจะอยูในแนวโค้ง ซึ งเรี ยกลักษณะการ ้ ่ ่ เคลือนทีกรณี หลังนีว่าการเคลือนทีแบบโพรเจกไทล์นกเรี ยนจะเห็นได้วาวัตถุซึงเคลือนทีแบบโพรเจก ั ไทล์นนประกอบด้วยการเคลือนทีทังในแนวดิงและแนวระดับพร้อม ๆ กัน ั การเคลือนทีแบบวงกลม เมือนักเรี ยนนําเชือกผูกกับวัตถุแล้วเหวียงเป็ นวงกลม ดังภาพนักเรี ยนจะพบว่าขณะที นักเรี ยนเหวียงวัตถุนนเชื อกทีผูกติดกับวัตถุจะขึงตึง ั ตลอดเวลาทังนีเพราะเราออกแรงตึงเชือกและเชื อกก็ ออกแรงดึงวัตถุแรงทีเกิดขึนในเส้นเชือกนีเราเรี ยกว่า แรงตึงเชือก (T) และทิศทางของแรงตึงเชื อกทีกระทํา ต่อวัตถุ จะมีทิศพุงเข้าสู่ จุดศูนย์กลางของการเคลือนที ่ ซึ งเราเรี ยกลักษณะการเคลือนทีเช่นนี ว่า การเคลือนที แบบวงกลมวัตถุจะเคลือนทีแบบนีได้ตองมีแรงกระทํา ้ ต่อวัตถุในทิศทางพุงเข้าสู่ จุดศูนย์กลางของการเคลือนที ่ เสมอตัวอย่างการเคลือนทีแบบวงกลมคือชิงช้าสวรรค์มอเตอร์ ไซค์ไต่ถงรถเลียวโค้งดาวเทียมโคจรโลก ั การเคลือนทีบนทางโค้ ง รถยนต์หรื อรถจักรยานซึ งแล่นบนถนนราบตรงจะมีแรงเสี ยดทานระหว่างยางรถกับ พืนถนนในทิศเดียวกันกับการเคลือนที ซึ งช่วยให้รถยนต์เคลือนทีไปข้างหน้า แต่เมือรถเลียวโค้ง จะต้องมีแรงสู่ ศูนย์กลางกระทําต่อรถ มิฉะนันแนวการเคลือนทีของรถจะยังคงต้องเป็ นเส้นตรงนันคือ รถจะแล่นออกนอกทางโค้งทีเรี ยกกันทัวไปว่ารถแหกโค้ง ในกรณี ทีรถสามารถแล่นเลียวโค้งได้ แสดงว่ามีแรงเสี ยดทานระหว่างยางรถกับพืนถนนในแนวทีพุงเข้าสู่ ศูนย์กลางของการเลียวโค้ง ่ แรงสู่ ศูนย์กลางทีทําให้รถแล่นเลียวโค้ง คือแรงเสี ยดทาน การเคลือนทีแบบซิมเปิ ลฮาร์ มอนิก ลักษณะของการเคลือนทีแบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย จะเป็ นการเคลือนทีทีมีลกษณะ ั พิเศษ คือวัตถุจะเคลือนทีกลับไปกลับมาทีเราเรี ยกว่า แกว่ง หรื อ สัน การเคลือนทีแบบนีจะเป็ นการ ่ เคลือนทีอยูในช่วงสันๆ มีขอบเขตจํากัด เราเรี ยกว่า แอมพลิจูด (Amplitude) โดยนับจากตําแหน่งสมดุล ่ ซึ งอยูตรงจุดกลางวัดไปทางซ้ายหรื อขวา เช่น การแกว่งของชิงช้า หรื อยานไวกิงในสวนสนุก
  • 7. การเคลือนทีแบบวงกลม เป็ นการเคลือนทีของวัตถุรอบจุดๆหนึง โดยมีรัศมีคงที การเคลือนทีเป็ นวงกลม ทิศทาง ของการเคลือนทีจะเปลียนแปลงตลอดเวลา ความเร็ วของวัตถุจะเปลียนไปตลอดเวลา ทิศของแรงที กระทําจะตังฉากกับทิศของการเคลือนทีแรงทีกระทําต่อวัตถุจะมีทิศทางเข้าสู่ ศูนย์กลาง เราจึงเรี ยกว่า “แรงสู่ ศูนย์กลาง” ในขณะเดียวกัน จะมีแรงต้านทีไม่ให้วตถุเข้าสู่ ศูนย์กลาง เราเรี ยกว่า “แรงหนี ั ศูนย์กลาง” แรงหนีศูนย์กลางจะเท่ากับแรงสู่ ศูนย์กลาง วัตถุจึงจะเคลือนทีเป็ นวงกลมได้