SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
1 
 

                                                จินตวิศวกร คืออะไร? 
                                                                    ดร.ดนัย เทียนพุฒ  
                                                                                     นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ                        
 
                       คําวา จินตวิศวกร (Imagineer) ผูเขียนรูจักและชอบใจเมื่อไดยนคํานีในป 2005 ชวงที่
                                                                                  ิ     ้
ไปศึกษาดูงานประเทศสหรัฐอเมริกา 

                       ผูเขียนเชื่อวา “ดินแดนแหงสวนสนุกและความบันเทิง” เชน Disneyland, Universal 
Studios คงเปนอะไรที่ทกคนไมวาเด็กหรือผูใหญตางก็อยากไปเที่ยว ไปดูความตื่นตาตื่นใจ ไดเลนเครื่อง
                      ุ      
เลนระดับโลกที่หาไมไดในบานเรา 
                       จินตวิศวกร (Imgineer) คือ เหลาวิศวกรทีมีจินตนาการ ซึ่งไดออกแบบบรรดาเครื่องเลน
                                                              ่
ตางๆ ธีมปารคดวยจินตนาการเพื่อใหผูทเี่ ขามาเที่ยวตืนเตนสุดขีด กลัวอยางมากทีสุดและสนุกทีสุดใน
                                                        ่                         ่           ่
ดินแดนแหงจินตนาการเหลานี ้




                                                                                                                                             
 
    ทีมาของ Imagineering 
      ่
                       ใน Wikipedia (http://en.wilipedia.org/wiki/Walt_Disney_Imagineering)
จินตวิศวการ มีตนกําเนิดของคําทีมาจากการรวมคํา 2 คํา คือ 
                                ่
                       Imagination--->                   จินตนาการ 
                       Engineering‐‐‐‐>           วิศวกร 

                       Imagination + Engineering = Imagineering                           เปนที่รจักครั้งแรกในป 1940 โดย Alcoa
                                                                                                  ู
ที่บอกวาคือการรวมคํา 2 คําขางตนและปรับใชโดย Walt Disney ในทศวรรษตอมาเพื่อใชบรรยายชุด
ทักษะของพนักงาน WDI (Walt Disney Imagineering) ที่เรียกกันวา Imagineer (จินตวิศวกร) 

จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 
2 
 

                       จินตวิศวการ (Imagineering) กําหนดความรับผิดชอบในการออกแบบและสรางธีม
ปารคของดีสนีย รีสอรท เรือสําราญและความบันเทิงอืนๆ ในทุกระดับของโครงการที่พัฒนาขึน 
                                                  ่                                ้
                       จินตวิศวกร (Imagineer) เปนบุคคลที่มทักษะและความเกงอัจฉริยะ (Talent) อยาง
                                                           ี
กวางมาก ซึงบริษัทวอลทดสนียมงานมากกวา 140 ชื่อที่อยูในความรับผิดชอบของจินตวิศวกร ยังรวมถึง
           ่            ี     ี
งานวิศวกร สถาปนิก นักออกแบบแสดง นักเขียนการแสดง กราฟฟคดีไซนเนอร เปนตน  
 
                       หลักการสําคัญของจินตวิศวการ 
                       ในขณะที่การสรางไอเดีย (Ideation) และกระบวนการระดมความคิดเปนสิ่งสําคัญ แต
ใน “จินตวิศวการ” มีหลักการสําคัญดังนี้ (สรุปมาจาก Blog: Cool Insider 2010, May 28) 




                                                                                                                                   
         * http://en.wikipedia.org/wiki/Walt_Disney_Imagineering 
 
           หลักการที่         ความจําเปนในการเติมเต็มความตองการที่เฉพาะเจาะจง ตัวอยางเชนเครื่องเลนที่
               1              California Adventure ซึ่งเรียกวา Soarin’ Over California                            ถูกสรางขึ้นเพื่อให 
                              ลูกคาสนุกสนานกับความรูสึกของการบิน แตทําไดในราคาที่ไมสูง โดยผูใชบริการ 
                              สามารถบินมองไปทั่วแคลิฟอรเนีย 
                                                                         
                        
                        




จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 
3 
 




                                                                                                                       
                         
                             การรวบรวมความคิดที่สามารถพัฒนาและทําอยางประณีตกับการใชงานในอนาคต
               หลักการที่
                   2         ในกรณีของดีสนียแลนด สิงหนึ่งที่ดึงดูดความสนใจเริมแรกคือ  
                                                     ่                         ่
                             “The Museum of   Wired”  ซึ่งตอมาไดกลายมาเปน “The Haunted  

                                        Museum  (คฤหาสนผีสิง)”  




                                                                                                                                  
 
 
 
 
 
 
 

จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 
4 
 

           หลักการที่         หลักการของ “Blue Sky Speculation” ขอบฟาไรขีดจํากัด หองใตหลังคา ซึ่ง
               3              ไอเดียถูกสรางขึ้นโดยไมมีขดจํากัด โดยเปนอะไรก็ไดในโลกแหงแดนสุขาวดี
                                                         ี                                                                             




                                                                                                                         
 
          หลักการที่         ความจําเปนทีตองปรับปรุงงานอยูเ สมอ เพื่อใหมนใจวายังมีท่วางเสมอสําหรับ 
                                          ่                                 ั่           ี
                4 
                             นวัตกรรมอยางแนนอน 
 
          หลักการที่         วัตถุประสงคของการเลาเรื่องในลักษณะนิสัยโดยรวมและดื่มด่ํา สิ่งนีหมายความวา
                                                                                              ้
              5              ทุกๆ ในรายละเอียดไมวาสิงนันจะเล็กนอยเพียงใด ก็จะไดรับการใสใจดูแลทั้งหมด  
                                                      ่ ้
 
  Imagineer Roadmap 
 
           สถาบันจินตวิศวการ (www.imagineeringacadevy.nl) ไดพัฒนาโรดแมปสําหรับการแปลงรูป
ธุรกิจใหมนวัตกรรมใหมๆ ซึงประกอบดวย 4 ขั้นตอนดวยกันดังนี้
          ี               ่
                       แรงบันดาลใจ (Inspiration)
                      เศรษฐกิจอุตสาหกรรมไดเปลี่ยนหลักการพื้นฐานโดยมุงไปสูเศรษฐกิจนวัตกรรม
                                                                     
(Innovation Economy)
                      ดังนันสิ่งแรกทังบุคคล บริษัทและองคกรตองรูเกี่ยวกับเศรษฐกิจเชิงสรางสรรควาเปน
                           ้         ้
อยางไร ซึ่งตองทําการวิเคราะห DNA ของบริษัทและแปลไปเปนความคิดเพื่อแปลงรูปความคิด
(Transformation Thinking) อันจะทําใหมการสรางสิงใหมทมีความหมาย
                                      ี         ่     ี่
จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 
5 
 

                       การสราง (Creation)
                      ขั้นตอนนี้สนใจในสิ่งที่เรียกวา จินตนาการและวิธีการ จิตสํานึกและสัญชาติญาณ การ
สรางสรรคและการออกแบบ การสรางแนวคิดในกระบวนการสรางไอเดียสรางสรรคของ DNA บริษัทจะถูก
แปลไปสูแนวคิดเชิงประสบการณสัมพันธกับธุรกิจ
                      ดังนันความรูและความเขาใจในกระบวนการสรางสรรคและจัดการคิดสรางสรรคเปนสิ่ง
                           ้
สําคัญมากในขั้นนี้
                       การสํารวจ (Exploration)
                      ถาเราเขาใจวาทําไมและวิธอยางไรในการพัฒนาแนวคิดเชิงประสบการณใหม (New
                                                ี
Experience Concept) ก็จะนําไปสูการแปลงรูปองคกร
                      ขั้นตอนนี้เปนการออกแบบแพลตฟอรมสําหรับสถานการณใหม ซึ่งจําเปนตองสรางโมเดล
ธุรกิจ (Business Model) สําหรับผลิตภัณฑใหม บริการใหม เทคโนโลยีใหม โลจิสติกสใหมและเครือขาย
ใหม เปนตน
                       การจัดองคกร (Organization)
                      เมื่อเราได แนวคิดเชิงประสบการณใหม ก็มีความจําเปนตองการวิธีใหมสําหรับองคกร
                      ดังนันการจัดการองคประกอบสําคัญ เชน ความเปนผูนา คุณภาพสวนบุคคลและการ
                           ้                                           ํ
สื่อสารแบบเปดใจและการลดสายบังคับบัญชา ฯลฯ สิงเหลานี้ชวยใหเกิดจินตวิศวการ
                                             ่


    ริเริ่มจินตวิศวกรในเมืองไทย
                       ตามทีนําเสนอมาเปนเรื่องราวของ จินตวิศวการ (Imagineering) และจินตวิศวกร
                            ่
(Imagineer)
                       ผูนําเสนอใหธรกิจไดรูจักคํานี้ในแวดวงวิชาการอยู 2 ลักษณะตั้งแตป 2005 คือ
                                     ุ
                       - ลักษณะแรกเปนตัวอยางทีชักนําใหเห็นวาคนทํางานหรือพนักงานในองคกรสามารถ
                                                ่
“คิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรม (InnoCreativity Thinking)” โดยนําเสนอเปนหนึงในกรณีศึกษาของการคิด
                                                                       ่
ไอเดียที่นาไปสูนวัตกรรมตามหลักการสําคัญของจินตวิศวกรใหกับองคกรและอีกหลายบริษท
          ํ                                                                    ั
                       - ลักษณะสองเปน Knowledge Imagineer หรือจินตวิศวกรความรู หมายถึง เปนทัง
                                                                                               ้
ผูสรางจินตนาการและวิศวกรออกแบบความรู ซึงจินตวิศวกรความรูนตอง
                                          ่                 ี้
                       -

จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 
6 
 

                            1) เขาใจถึงพฤติกรรมการเรียนรูของคนรุนใหมวาเปนอยางไร
                            2) จะหยิบวิธการเรียนรูแบบไหนมาใชไดอยางสอดคลองกับพฤติกรรมของผูเรียน
                                        ี
                            3) จัดสภาพแวดลอมที่จะทําใหผูเรียนไดปลอยจินตนาการเมื่อมีการกระตุนจาก
วิธการเรียนรูจนเกิดผลลัพธของการเรียนรูตามที่องคกรหรือธุรกิจตองการ
   ี
                       ตัวอยางแนวคิดของจินตวิศวกรที่ผูเขียนไดนําเสนอ เชน
                            1) ในหนังสือบริหารคนในทศวรรษหนา (ดนัย เทียนพุฒ, 2551: 78) และเพิ่มเติม
ตอมาในหนังสือ “ทุนมนุษยจัดการใหดีสูดเี ลิศ :แนวทางวิจัยโมเดลการวัดทุนมุนษย “
(ดนัย เทียนพุฒ, 2553: 296) วา
                           “จินตวิศวกรความรู บางครั้งเรียกวา Knowledge (K)-Imagineer ทําหนาที่สราง
สมรรถภาพเชิงกลยุทธ (Strategic Capabilities) ดูแลและจัดการสินทรัพยทางความรู การออกแบบคลัง
ความรู การกําหนดรูปแบบองคกรนักปฏิบัต/ิ ชุมชนนักปฏิบัติ โดยบทบาททีมุงหวังของจินตวิศวกรความรู
                                                                   ่
คือ การเปลี่ยนองคกรอยางกาวกระโดด การพัฒนานวัตกรรมและการผลิตความรู การพิชิตอุปสรรคอยาง
เฉลียวฉลาด (การควบคุมสถานการณ รูจกตัวตนของเรา การเขาถึงทางแกปญหาไดอยางโปะเชะ และมอง
                                   ั
โลกในแงด)
         ี
                            2) เมื่อปที่แลว (ป 2554) ไดไปจุดประกายใหกบ รศ.ดร.ดํารงค อุดมไพจิตรกุล ผ.อ.
                                                                          ั
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(การจัดการความรู) หรือ ป.โท KM ของ ม.ราชภัฎสวนดุสิต วาทิศทาง
ใหมของหลักสูตรนาจะนํา Imagineer ไปใชเปนชื่อ ซึ่งเร็วๆ นี้ไดพัฒนาเปนปริญญาดุษฎีบัณฑิตในชื่อที่
ผูเขียนแนะนําไว คงไดรับอนุมัติเปดหลักสูตร ป.เอก ในชื่อใหมที่ เก ๆ อีกไมนานเกินรอครับ
 
 
 
 
 




จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 

Contenu connexe

Similaire à จินตวิศวกร Imagineer

การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017
Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017
Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017Phijarana (Pij) Rattanathikun
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3pantapong
 
Original 02 hci_principles
Original 02 hci_principlesOriginal 02 hci_principles
Original 02 hci_principlesTaiMe Sakdisri
 
การออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีkrunoommr
 
การพัฒนาเว็บไซต์องค์กร และทีมงานให้เดินไปถึงเป้าหมาย ประเทศไทย 4.0
การพัฒนาเว็บไซต์องค์กร และทีมงานให้เดินไปถึงเป้าหมาย ประเทศไทย 4.0การพัฒนาเว็บไซต์องค์กร และทีมงานให้เดินไปถึงเป้าหมาย ประเทศไทย 4.0
การพัฒนาเว็บไซต์องค์กร และทีมงานให้เดินไปถึงเป้าหมาย ประเทศไทย 4.0Worajedt Sitthidumrong
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจDrDanai Thienphut
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2DrDanai Thienphut
 
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 ttfintl
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationChangnoi Etc
 

Similaire à จินตวิศวกร Imagineer (20)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Km
KmKm
Km
 
Analysis Design Introduction
Analysis Design IntroductionAnalysis Design Introduction
Analysis Design Introduction
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017
Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017
Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017
 
Ai
AiAi
Ai
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Ci13501chap3
Ci13501chap3Ci13501chap3
Ci13501chap3
 
Innovative thinking
Innovative thinkingInnovative thinking
Innovative thinking
 
Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3
 
Original 02 hci_principles
Original 02 hci_principlesOriginal 02 hci_principles
Original 02 hci_principles
 
การออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยี
 
การพัฒนาเว็บไซต์องค์กร และทีมงานให้เดินไปถึงเป้าหมาย ประเทศไทย 4.0
การพัฒนาเว็บไซต์องค์กร และทีมงานให้เดินไปถึงเป้าหมาย ประเทศไทย 4.0การพัฒนาเว็บไซต์องค์กร และทีมงานให้เดินไปถึงเป้าหมาย ประเทศไทย 4.0
การพัฒนาเว็บไซต์องค์กร และทีมงานให้เดินไปถึงเป้าหมาย ประเทศไทย 4.0
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
 
แก้ไข ประเภทของโครงงาน2
แก้ไข ประเภทของโครงงาน2แก้ไข ประเภทของโครงงาน2
แก้ไข ประเภทของโครงงาน2
 
แก้ไข ประเภทของโครงงาน3
แก้ไข ประเภทของโครงงาน3แก้ไข ประเภทของโครงงาน3
แก้ไข ประเภทของโครงงาน3
 
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
 
Vol01
Vol01Vol01
Vol01
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovation
 

Plus de DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

Plus de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

จินตวิศวกร Imagineer

  • 1. 1    จินตวิศวกร คืออะไร?                                                                  ดร.ดนัย เทียนพุฒ   นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ            คําวา จินตวิศวกร (Imagineer) ผูเขียนรูจักและชอบใจเมื่อไดยนคํานีในป 2005 ชวงที่  ิ ้ ไปศึกษาดูงานประเทศสหรัฐอเมริกา  ผูเขียนเชื่อวา “ดินแดนแหงสวนสนุกและความบันเทิง” เชน Disneyland, Universal  Studios คงเปนอะไรที่ทกคนไมวาเด็กหรือผูใหญตางก็อยากไปเที่ยว ไปดูความตื่นตาตื่นใจ ไดเลนเครื่อง ุ  เลนระดับโลกที่หาไมไดในบานเรา  จินตวิศวกร (Imgineer) คือ เหลาวิศวกรทีมีจินตนาการ ซึ่งไดออกแบบบรรดาเครื่องเลน ่ ตางๆ ธีมปารคดวยจินตนาการเพื่อใหผูทเี่ ขามาเที่ยวตืนเตนสุดขีด กลัวอยางมากทีสุดและสนุกทีสุดใน ่ ่ ่ ดินแดนแหงจินตนาการเหลานี ้       ทีมาของ Imagineering  ่     ใน Wikipedia (http://en.wilipedia.org/wiki/Walt_Disney_Imagineering) จินตวิศวการ มีตนกําเนิดของคําทีมาจากการรวมคํา 2 คํา คือ  ่ Imagination--->  จินตนาการ  Engineering‐‐‐‐>           วิศวกร  Imagination + Engineering = Imagineering เปนที่รจักครั้งแรกในป 1940 โดย Alcoa ู ที่บอกวาคือการรวมคํา 2 คําขางตนและปรับใชโดย Walt Disney ในทศวรรษตอมาเพื่อใชบรรยายชุด ทักษะของพนักงาน WDI (Walt Disney Imagineering) ที่เรียกกันวา Imagineer (จินตวิศวกร)  จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 
  • 2. 2    จินตวิศวการ (Imagineering) กําหนดความรับผิดชอบในการออกแบบและสรางธีม ปารคของดีสนีย รีสอรท เรือสําราญและความบันเทิงอืนๆ ในทุกระดับของโครงการที่พัฒนาขึน  ่ ้     จินตวิศวกร (Imagineer) เปนบุคคลที่มทักษะและความเกงอัจฉริยะ (Talent) อยาง ี กวางมาก ซึงบริษัทวอลทดสนียมงานมากกวา 140 ชื่อที่อยูในความรับผิดชอบของจินตวิศวกร ยังรวมถึง ่ ี ี งานวิศวกร สถาปนิก นักออกแบบแสดง นักเขียนการแสดง กราฟฟคดีไซนเนอร เปนตน     หลักการสําคัญของจินตวิศวการ  ในขณะที่การสรางไอเดีย (Ideation) และกระบวนการระดมความคิดเปนสิ่งสําคัญ แต ใน “จินตวิศวการ” มีหลักการสําคัญดังนี้ (สรุปมาจาก Blog: Cool Insider 2010, May 28)    * http://en.wikipedia.org/wiki/Walt_Disney_Imagineering    หลักการที่ ความจําเปนในการเติมเต็มความตองการที่เฉพาะเจาะจง ตัวอยางเชนเครื่องเลนที่ 1  California Adventure ซึ่งเรียกวา Soarin’ Over California ถูกสรางขึ้นเพื่อให  ลูกคาสนุกสนานกับความรูสึกของการบิน แตทําไดในราคาที่ไมสูง โดยผูใชบริการ  สามารถบินมองไปทั่วแคลิฟอรเนีย        จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 
  • 3. 3        การรวบรวมความคิดที่สามารถพัฒนาและทําอยางประณีตกับการใชงานในอนาคต หลักการที่ 2  ในกรณีของดีสนียแลนด สิงหนึ่งที่ดึงดูดความสนใจเริมแรกคือ   ่ ่              “The Museum of   Wired”  ซึ่งตอมาไดกลายมาเปน “The Haunted                            Museum  (คฤหาสนผีสิง)”                   จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 
  • 4. 4            หลักการที่ หลักการของ “Blue Sky Speculation” ขอบฟาไรขีดจํากัด หองใตหลังคา ซึ่ง 3  ไอเดียถูกสรางขึ้นโดยไมมีขดจํากัด โดยเปนอะไรก็ไดในโลกแหงแดนสุขาวดี ี                 หลักการที่ ความจําเปนทีตองปรับปรุงงานอยูเ สมอ เพื่อใหมนใจวายังมีท่วางเสมอสําหรับ  ่ ั่ ี 4  นวัตกรรมอยางแนนอน    หลักการที่ วัตถุประสงคของการเลาเรื่องในลักษณะนิสัยโดยรวมและดื่มด่ํา สิ่งนีหมายความวา ้ 5  ทุกๆ ในรายละเอียดไมวาสิงนันจะเล็กนอยเพียงใด ก็จะไดรับการใสใจดูแลทั้งหมด   ่ ้     Imagineer Roadmap        สถาบันจินตวิศวการ (www.imagineeringacadevy.nl) ไดพัฒนาโรดแมปสําหรับการแปลงรูป ธุรกิจใหมนวัตกรรมใหมๆ ซึงประกอบดวย 4 ขั้นตอนดวยกันดังนี้ ี ่  แรงบันดาลใจ (Inspiration) เศรษฐกิจอุตสาหกรรมไดเปลี่ยนหลักการพื้นฐานโดยมุงไปสูเศรษฐกิจนวัตกรรม  (Innovation Economy) ดังนันสิ่งแรกทังบุคคล บริษัทและองคกรตองรูเกี่ยวกับเศรษฐกิจเชิงสรางสรรควาเปน ้ ้ อยางไร ซึ่งตองทําการวิเคราะห DNA ของบริษัทและแปลไปเปนความคิดเพื่อแปลงรูปความคิด (Transformation Thinking) อันจะทําใหมการสรางสิงใหมทมีความหมาย ี ่ ี่ จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 
  • 5. 5     การสราง (Creation) ขั้นตอนนี้สนใจในสิ่งที่เรียกวา จินตนาการและวิธีการ จิตสํานึกและสัญชาติญาณ การ สรางสรรคและการออกแบบ การสรางแนวคิดในกระบวนการสรางไอเดียสรางสรรคของ DNA บริษัทจะถูก แปลไปสูแนวคิดเชิงประสบการณสัมพันธกับธุรกิจ ดังนันความรูและความเขาใจในกระบวนการสรางสรรคและจัดการคิดสรางสรรคเปนสิ่ง ้ สําคัญมากในขั้นนี้  การสํารวจ (Exploration) ถาเราเขาใจวาทําไมและวิธอยางไรในการพัฒนาแนวคิดเชิงประสบการณใหม (New ี Experience Concept) ก็จะนําไปสูการแปลงรูปองคกร ขั้นตอนนี้เปนการออกแบบแพลตฟอรมสําหรับสถานการณใหม ซึ่งจําเปนตองสรางโมเดล ธุรกิจ (Business Model) สําหรับผลิตภัณฑใหม บริการใหม เทคโนโลยีใหม โลจิสติกสใหมและเครือขาย ใหม เปนตน  การจัดองคกร (Organization) เมื่อเราได แนวคิดเชิงประสบการณใหม ก็มีความจําเปนตองการวิธีใหมสําหรับองคกร ดังนันการจัดการองคประกอบสําคัญ เชน ความเปนผูนา คุณภาพสวนบุคคลและการ ้ ํ สื่อสารแบบเปดใจและการลดสายบังคับบัญชา ฯลฯ สิงเหลานี้ชวยใหเกิดจินตวิศวการ ่ ริเริ่มจินตวิศวกรในเมืองไทย ตามทีนําเสนอมาเปนเรื่องราวของ จินตวิศวการ (Imagineering) และจินตวิศวกร ่ (Imagineer) ผูนําเสนอใหธรกิจไดรูจักคํานี้ในแวดวงวิชาการอยู 2 ลักษณะตั้งแตป 2005 คือ ุ - ลักษณะแรกเปนตัวอยางทีชักนําใหเห็นวาคนทํางานหรือพนักงานในองคกรสามารถ ่ “คิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรม (InnoCreativity Thinking)” โดยนําเสนอเปนหนึงในกรณีศึกษาของการคิด ่ ไอเดียที่นาไปสูนวัตกรรมตามหลักการสําคัญของจินตวิศวกรใหกับองคกรและอีกหลายบริษท ํ ั - ลักษณะสองเปน Knowledge Imagineer หรือจินตวิศวกรความรู หมายถึง เปนทัง ้ ผูสรางจินตนาการและวิศวกรออกแบบความรู ซึงจินตวิศวกรความรูนตอง ่  ี้ - จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 
  • 6. 6    1) เขาใจถึงพฤติกรรมการเรียนรูของคนรุนใหมวาเปนอยางไร 2) จะหยิบวิธการเรียนรูแบบไหนมาใชไดอยางสอดคลองกับพฤติกรรมของผูเรียน ี 3) จัดสภาพแวดลอมที่จะทําใหผูเรียนไดปลอยจินตนาการเมื่อมีการกระตุนจาก วิธการเรียนรูจนเกิดผลลัพธของการเรียนรูตามที่องคกรหรือธุรกิจตองการ ี  ตัวอยางแนวคิดของจินตวิศวกรที่ผูเขียนไดนําเสนอ เชน 1) ในหนังสือบริหารคนในทศวรรษหนา (ดนัย เทียนพุฒ, 2551: 78) และเพิ่มเติม ตอมาในหนังสือ “ทุนมนุษยจัดการใหดีสูดเี ลิศ :แนวทางวิจัยโมเดลการวัดทุนมุนษย “ (ดนัย เทียนพุฒ, 2553: 296) วา “จินตวิศวกรความรู บางครั้งเรียกวา Knowledge (K)-Imagineer ทําหนาที่สราง สมรรถภาพเชิงกลยุทธ (Strategic Capabilities) ดูแลและจัดการสินทรัพยทางความรู การออกแบบคลัง ความรู การกําหนดรูปแบบองคกรนักปฏิบัต/ิ ชุมชนนักปฏิบัติ โดยบทบาททีมุงหวังของจินตวิศวกรความรู ่ คือ การเปลี่ยนองคกรอยางกาวกระโดด การพัฒนานวัตกรรมและการผลิตความรู การพิชิตอุปสรรคอยาง เฉลียวฉลาด (การควบคุมสถานการณ รูจกตัวตนของเรา การเขาถึงทางแกปญหาไดอยางโปะเชะ และมอง ั โลกในแงด) ี 2) เมื่อปที่แลว (ป 2554) ไดไปจุดประกายใหกบ รศ.ดร.ดํารงค อุดมไพจิตรกุล ผ.อ. ั หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(การจัดการความรู) หรือ ป.โท KM ของ ม.ราชภัฎสวนดุสิต วาทิศทาง ใหมของหลักสูตรนาจะนํา Imagineer ไปใชเปนชื่อ ซึ่งเร็วๆ นี้ไดพัฒนาเปนปริญญาดุษฎีบัณฑิตในชื่อที่ ผูเขียนแนะนําไว คงไดรับอนุมัติเปดหลักสูตร ป.เอก ในชื่อใหมที่ เก ๆ อีกไมนานเกินรอครับ           จินตวิศวกรคืออะไร ?                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555