SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  56
21st Century Student Outcomes &
Support Systems
The Partnership for 21st Century Skills
http://www.p21.org
ความคิดสร้างสรรค์
(Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
กระบวนการที่บุคคลไวต่อปัญหา ข้อบกพร่อง ช่องว่างในด้านความรู้
สิ่งที่ขาดหายไป หรือสิ่งที่ไม่ประสานกันและไวต่อการแยกแยะสิ่งต่างๆ
ไวต่อการค้นหาวิธีการแก้ไขปัญหา ไวต่อการเดาหรือการตั้งสมมติฐาน
เกี่ยวกับข้อบกพร่อง ทดสอบและทดสอบอีกครั้งเกี่ยวกับสมมติฐาน
จนในที่สุดสามารถนําเอาผลที่ได้ไปแสดงให้ปรากฏแก่ผู้อื่นได้
"เป็ นกระบวนการของความรู้สึกไวต่อปัญหา / สิ่งที่บกพร่องขาดหายไป
แล้วรวบรวมความคิดตั้งเป็ นสมมติฐานขึ้น ต่อจากนั้นก็ทําการรวบรวม
ข้อมูลต่างๆ เพื่อทดสอบสมมติฐานนั้น"
http://๒๐๒.๒๙.๕๓.๒๐/๒๕๑๓๓๐๒/soc๐๖/topic๑๒/linkfile/print๕.htm
E. Paul Torrance
(1962)
ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
ความสามารถทางสมองในการคิดหลายทิศทาง หรือความคิดอเนกนัย
(Divergent Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ไม่ใช่พรสวรรค์ที่บุคคลมี
แต่เป็ นคุณสมบัติที่มีอยู่ในตัวบุคคลซึ่งมีมากน้อยไม่เท่ากัน
และบุคคลแสดงออกมาในระดับต่างกัน
Guilford (1950)
ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
ความสามารถคิดแปลกใหม่แตกต่างจากความคิดธรรมดา
หรือความคิดง่าย ๆ ความคิดริเริ่มอาจจะเกิดจากการนํา
ความรู้เดิมมาคิดดัดแปลงและประยุกต์ให้เกิดเป็ นสิ่งใหม่ขึ้น
ความสามารถในการมองเห็นรายละเอียดในสิ่งที่คนอื่น
มองไม่เห็น การเชื่อมโยงสัมพันธ์สิ่งต่าง ๆ อย่างมี
ความหมาย การตกแต่ง เพื่อให้คิดริเริ่มสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ความคิด
ละเอียดลออ
(Elaboration)
ความคิดริเริ่ม
(Originality)
ความสามารถคิดหาคําตอบที่เด่นชัด/ตรงประเด็นมาก
ที่สุด นับปริมาณความคิดที่ไม่ซํ้ากันในเรื่องเดียวกัน
ความคิด
คล่องแคล่ว
(Fluency)
ความสามารถในการปรับสภาพความคิดในสถานการณ์
ต่าง ๆ ได้ เน้นในเรื่องของปริมาณที่เป็ นประเภทใหญ่ ๆ
ของความคิดแบบคล่องแคล่งให้มากขึ้นด้วยการจัดเป็ น
หมวดหมู่และมีหลักเกณฑ์ยิ่งขึ้น
ความคิดยืดหยุ่น
(Flexibility)
Guilford (1950)
ลักษณะพื้นฐานของผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์
(Guilford, 1959)
ความรู้สึกไวต่อปัญหา
ความคิดสร้างสรรค์
ความสามารถจดจําปัญหา เข้าถึง/ทําความเข้าใจสิ่งที่เข้าใจผิด
สิ่งที่ขาดข้อเท็จจริง สิ่งที่เป็ นมโนทัศน์ที่ผิด/อุปสรรคต่างๆ
ความรู้สึกไวต่อปัญหาของบุคคลเป็ นสิ่งที่สําคัญที่สุด
ผลิตแนวความคิดจํานวนมากในเวลาอันรวดเร็ว เลือกแนวความคิด
ที่ดีที่สุดมาใช้แก้ปัญหา แปลกใหม่และดีกว่าแนวความคิดที่อยู่
ในปัจจุบัน สามารถปรับเปลี่ยนทิศทางในการคิดได้เป็ นอย่างดี
ความคล่องในการคิด
ความคิดริเริ่ม
ความยืดหยุ่นในการคิด
แรงจูงใจ
ค้นหาแนวทางใหม่ๆ /วิธีการแปลกๆ แตกต่างกันออกไปมาใช้
ในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการหาวิธีการหลายๆ วิธีมาแก้ไขปัญหา
ความยืดหยุ่นสัมพันธ์กับความคล่อง
พัฒนาความยืดหยุ่นในการคิด โดยการหาวิธีการแก้ปัญหาหลายๆ วิธี
และวิเคราะห์ปัญหาในหลายมุมมอง
บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์สูงมักมีแรงจูงใจสูง ความสนใจ
ในการหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยความกระตือรือร้น ทําให้ผลผลิตดีขึ้น
กระบวนการเกิดความคิดสร้างสรรค์
(E. Paul Torrance, 1962)
การค้นหา
ข้อเท็จจริง
(Fact Finding)
การค้นพบ
ปัญหา
(Problem –
Finding)
การค้นพบ
ความคิด
(Ideal –
Finding)
การค้นพบ
คําตอบ
(Solution –
Finding)
การยอมรับ
จากการค้นพบ
(Acceptance –
Finding)
ความรู้สึกกังวล สับสนวุ่นวาย แต่ยังไม่สามารถหาปัญหาได้ว่าเกิดจากอะไร
คิดจนเข้าใจจะสามารถบอกได้ว่าปัญหาคืออะไร
คิดและตั้งสมมติฐาน รวบรวมข้อมูลทดสอบความคิด
ทดสอบสมมติฐาน
ยอมรับคําตอบที่ค้นพบ นําไปสู่หนทางที่จะทําให้เกิดแนวความคิดใหม่
การท้าทายในทิศทางใหม่ (New Challenge)
นโยบายภาครัฐ
การวางแผนสนับสนุน
ตามแนวนโยบายรัฐบาล
การสร้างเครือข่ายโครงสร้างพื้นฐาน
และ ระบบที่เอื้ออํานวย
ระบบการศึกษา
แนวคิดและพัฒนา
ที่ต่างกัน
Policy
Governmental
Platform
Social Network
and Infrastructure
Education System
Creative Individual
CERI: Creative Economy Research Initiative (www.ceri.in.th)
หลักการสร้าง Creative Economy
ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
๑. มีความสามารถในการตัดสินใจ
๒. มีความเป็ นอิสระในด้านการคิด
๓. มีอารมณ์อ่อนไหวและเป็ นคนอ่อนโยน
๔. มีความกล้าที่จะคิดในสิ่งที่แปลงใหม่
๕. มีแนวคิดค่อนข้างซับซ้อน
๖. มีความคิดเห็นรุนแรง
๗. มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง
๘. มีความพยายามที่จะทํางานยากๆ หรืองานที่ต้องแก้ปัญหา
๙. มีความจําแม่นยํา
๑๐. มีความรู้สึกไวต่อสิ่งสวยงาม
๑๑. มีความซื่อสัตย์และรักความเป็ นธรรม
๑๒. มีความเป็ นอิสระในการตัดสินใจ
๑๓. มีความตั้งใจจริง
Minnesota Multiphasic Personality Inventory (MMPI) , Thematic Apperception (TAT),
แบบวัดบุคลิกภาพของรอร์ชาจ (Rorschach)
ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
๑๔. มีความสามารถในการหยั่งรู้
๑๕. มักจะกล้าหาญและชอบการผจญภัย
๑๖. มักจะใช้เวลาให้เป็ นประโยชน์
๑๗. มักจะคาดคะเนหรือเดาเหตุการณ์ล่วงหน้า
๑๘. มักจะช่วยเหลือและให้ความรู้แก่ผู้อื่น
๑๙. มักจะต่อต้านในสิ่งที่ไม่เห็นด้วย
๒๐. มักจะทําผิดข้อบังคับและกฎเกณฑ์
๒๑. มักจะวิเคราะห์วิจารณ์สิ่งที่พบเห็น
๒๒. มักจะทํางานผิดพลาด
๒๓. มักจะทําในสิ่งแปลกๆ ใหม่ๆ
๒๔. มักจะรักสันโดษ
๒๕. มักจะเห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นมากกว่าประโยชน์ของตนเอง
๒๖. มักให้ความสนใจกับทุกสิ่งที่อยู่รอบตัว
Minnesota Multiphasic Personality Inventory (MMPI) , Thematic Apperceprtion (TAT),
แบบวัดบุคลิกภาพของรอร์ชาจ (Rorschach)
ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
๒๗. มักจะอยากรู้อยากเห็น
๒๘. มักจะยอมรับในสิ่งที่ไม่เป็ นระเบียบ
๒๙. มักจะไม่ทําตามหรือเลียนแบบผู้อื่น
๓๐. มักจะหมกมุ่นในปัญหา
๓๑. มักจะดื้อดึงและหัวแข็ง
๓๒. มักจะช่างซักถาม
๓๓. มักจะไม่สนใจในสิ่งเล็กๆ น้อยๆ
๓๔. มักจะไม่ยอมรับความคิดของผู้อื่นโดยง่าย
๓๕. มักจะกล้าแสดงความคิดเห็นที่ไม่ตรงกับผู้อื่น
๓๖. มักจะรักและเต็มใจเสี่ยง
๓๗. มักจะไม่เบื่อที่จะทํากิจกรรม
๓๘. มักจะไม่ชอบทําตัวเด่น
๓๙. มักจะมีความสามารถในการหยั่งรู้
Minnesota Multiphasic Personality Inventory (MMPI) , Thematic Apperceprtion (TAT),
แบบวัดบุคลิกภาพของรอร์ชาจ (Rorschach)
ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
๔๐. มักจะพอใจในผลงานที่ท้าทาย
๔๑. มักจะไม่เคยเป็ นศัตรูของใคร
๔๒. มักจะต่อต้านกฎระเบียบต่างๆ ที่ไม่ถูกต้อง
๔๓. มักจะวางเป้ าหมายให้กับชีวิตตนเอง
๔๔. มักจะต่อต้านการกระทําที่รุนแรงต่างๆ
๔๕. มักจะจริงใจกับทุกๆ คน
๔๖. มักจะเลี้ยงตนเองได้โดยที่ไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น
Minnesota Multiphasic Personality Inventory (MMPI) , Thematic Apperceprtion (TAT),
แบบวัดบุคลิกภาพของรอร์ชาจ (Rorschach)
เครื่องมือวัด
ความคิดสร้างสรรค์
แบบทดสอบความคล่องแคล่ว
ของ Guilford and Christensen
แบบทดสอบวัด Divergent Thinking
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาและผู้ใหญ่
วัดตัวประกอบในแต่ละเซลล์ตามโครงสร้างสมรรถภาพทางสมอง 3 มิติ คือ
เนื้อหาที่คิด (Content)
วิธีการคิด (Operation)
ผลิตผลแห่งความคิด (Product)
แบบทดสอบย่อย 4 ชุด 11 ฉบับ
ด้านภาษาเขียน 7 ฉบับ
ด้านรูปภาพ 3 ฉบับ
โจทย์ปัญหา 1 ฉบับ
(Guilford, 1967)
แบบทดสอบความคล่องแคล่ว
ของ Guilford and Christensen (Guilford, 1967)
Divergent Thinking
ความคล่องแคล่วในการใช้คํา (Word Fluency, DSU)
ความคล่องแคล่วทางความคิด (Ideational Fluency, DMU)
ความคล่องแคล่วด้านเชื่อมโยง (Associational Fluent, DMR)
ความคล่องแคล่วในการแสดงออก (Expressional Fluency, DSS)
การใช้ประโยชน์อย่างอื่น (Alternate Uses, DMC)
การสรุปผล (Consequence, DMU, DMC)
ประเภทของงานอาชีพ (Possible Jobs, DMI)
การวาดรูป (Making Objects, DFS)
การสเกตซ์รูป (Sketches, DFU)
การแก้ปัญหา (Match Problem, DFT)
การตกแต่ง (Decorations, DFI)
Torrance Tests of Creative Thinking:
TTCT
อนุบาลถึงระดับอุดมศึกษา
เน้นความเร็วในการทําแบบทดสอบ กิจกรรมละ ๕ - ๑๐ นาที
Verbal
Torrance Test of Creative Thinking Verbal Form
Figural
Torrance Test of Creative Thinking Figural Form A
Torrance Test of Creative Thinking Figural Form B
(Torrance, 1966)
Torrance Tests of Creative Thinking
(Torrance, 1966)
แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์โดยอาศัยภาษา (Thinking Creatively With Words)
Torrance Test of Creative Thinking Verbal Form
การตั้งคําถาม (Asking)
การเดาสาเหตุ (Guessing Causes)
การเดาผลที่เกิดมา (Guessing Consequences)
การปรับปรุงผลผลิตให้ดีขึ้น (Product Improvements)
การใช้ประโยชน์ของสิ่งของ (Unusual Uses)
การตั้งคําถามแปลก ๆ (Unusual Questions)
การสมมติอย่างมีเหตุผล (Just Suppose)
Torrance Tests of Creative Thinking
(Torrance, 1966)
แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์โดยอาศัยรูปภาพ (Thinking Creatively With Pictures)
Torrance Test of Creative Thinking Figural Form A
ให้นักเรียนต่อเติมภาพจากรูปวงรีที่กําหนด
ให้เป็ นภาพที่แปลกใหม่ พร้อมกับตั้งชื่อภาพ
การวาดภาพ
(Picture Construction)
ให้นักเรียนต่อเติมภาพเส้นในลักษณะต่าง ๆ ที่กําหนดให้
๑๐ ภาพ ให้ได้ภาพที่น่าสนใจมาให้มากที่สุด
พร้อมกับตั้งชื่อภาพ
การต่อเติมภาพ
ให้สมบูรณ์
(Picture Completion)
ให้นักเรียนต่อเติมภาพจากเส้นขนาน ๓๐ คู่
ให้ได้ภาพที่แปลกมาให้มากที่สุด
พร้อมกับตั้งชื่อภาพ
การใช้เส้นคู่ขนาน
(Parallel Lines)
Torrance Tests of Creative Thinking
(Torrance, 1966)
แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์โดยอาศัยรูปภาพ (Thinking Creatively With Pictures)
Torrance Test of Creative Thinking Figural Form B
ให้นักเรียนต่อเติมภาพจากรูปคล้ายไส้กรอกสีส้ม
พร้อมกับตั้งชื่อภาพ
การวาดภาพ
(Picture Construction)
ให้นักเรียนต่อเติม ภาพเส้นในลักษณะต่าง ๆ ที่กําหนดให้
๑๐ ภาพ ให้ได้ภาพที่น่าสนใจมาให้มากที่สุด
พร้อมกับตั้งชื่อภาพ
การต่อเติมภาพ
ให้สมบูรณ์
(Picture Completion)
ให้นักเรียนต่อเติมภาพจากรูปวงกลม ๓๐ รูป
การใช้วงกลม
(Circles)
ประเด็นวิจัย
ความคิดสร้างสรรค์
ประเด็นวิจัยความคิดสร้างสรรค์
การนําเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บ ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
โดยใช้แฟ้ มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนิสิต
ปริญญาบัณฑิต
ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหา
เชิงสร้างสรรค์ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์
ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ๒
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บโดยใช้กระบวนการเรียนรู้
แบบเบรนเบสด์ในวิชาการออกแบบ เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ของนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิต *
ประเด็นวิจัยความคิดสร้างสรรค์
ผลการจัดประสบการณ์โดยใช้แนวคิดหมวกคิด ๖ ใบของเดอ โบโน
ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กอนุบาล
ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิค ๔ MAT
ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์และความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ผลของการเรียนแบบร่วมมือบนเว็บที่มีต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย แนวการเรียนโปรแกรมศิลปศึกษา *
ผลของการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักต่อความสามารถในการแก้ปัญหา
และความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
(Critical Thinking)
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
เป็ นความคิดประกอบด้วย ทัศนคติ ความรู้ และทักษะ
ทัศนคติต่อการแสวงหาความรู้ การยอมรับการแสวงหาหลักฐาน
มาสนับสนุนสิ่งที่อ้างว่าเป็ นจริง แล้วใช้ความรู้ด้านการอนุมาน
การสรุปใจความสําคัญและการสรุปเป็ นกรณีทั่วไป โดยตัดสินจาก
หลักฐานอย่างสมเหตุสมผล สอดคล้องกับหลักตรรกวิทยา
ตลอดจนทักษะในการใช้ทัศนคติและความรู้ดังกล่าว มาประเมินและ
ตัดสินความถูกต้องของข้อความ
Watson
(1964)
Ennis (1985)
ความคิดอย่างมีเหตุผล คิดแบบตรึกตรอง ก่อนที่จะเชื่อก่อนลงมือปฏิบัติ
Norris (1989)
การคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผล มีการสะท้อนความคิดที่มุ่งสู่การตัดสินใจ
ที่จะทํา/เชื่อ
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ความคิดวิจารณญาณ
กระบวนการคิดพิจารณาไตร่ตรอง อย่างมีเหตุผล มีหลักเกณฑ์
และตรวจสอบหลักฐาน ข้อเท็จจริงต่าง ๆ อย่างรอบคอบเกี่ยวกับข้อมูล
ที่เป็ นปัญหาโดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์ของตนเองในการคิด
ทบทวน
เพื่อนําไปสู่การสรุปอย่างสมเหตุสมผล ก่อนที่จะตัดสินใจว่าจะเชื่อหรือไม่เชื่อ
/ ตัดสินใจก่อนว่าจะกระทําหรือไม่กระทํา
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
Watson and Glaser (1964)
ความสามารถในการเห็นปัญหา
ความต้องการสืบเสาะค้นหาข้อมูล
หลักฐานเพื่อพิสูจน์หาข้อเท็จจริง
ทัศนคติ
การหาแหล่งข้อมูลอ้างอิง
การใช้ข้อมูลอ้างอิงอย่างมีเหตุผลความรู้
การประยุกต์ใช้ความรู้
การประยุกต์ใช้ทัศนคติทักษะ
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
Ennis (1985 )
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กําหนด ระบุประเด็นปัญหา คําถาม
คิดวิเคราะห์ข้อโต้แย้ง
ถามด้วยคําถามที่ท้าทาย ตอบคาถามได้อย่างชัดเจน
พิจารณาความเชื่อถือของแหล่งข้อมูล
สังเกตและตัดสินผลข้อมูลที่ได้จากการสังเกตด้วยตนเอง
นิรนัยและตัดสินผลการนิรนัย
อุปนัยและตัดสินผลการอุปนัย
ตัดสินคุณค่า
บอกความหมายและตัดสินความหมายของคํา
ระบุข้อสันนิษฐาน
ตัดสินใจเพื่อนําไปปฏิบัติ
การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
การพัฒนา
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
The Critical Thinking Assessment
A Powerful Hiring & Development Tool
Process for Critical Thinking
The Foundation for Critical Thinking
http://www.criticalthinking.org
เครื่องมือวัด
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal
(Watson and Glaser, 1937 - 1980)
Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal Form A , B
๘๐ ข้อ เวลา ๕๐ นาที
นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ถึงผู้ใหญ่
ความเที่ยงแบบคงที่ โดยวิธีสอบซํ้า (๓ เดือน) = 0.73
Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal
จําแนกระดับความน่าจะเป็ นของข้อสรุปที่คาดคะเนจาก
สถานการณ์ : จริง / น่าจะเป็ นจริง / ข้อมูลที่ให้ไม่
เพียงพอ / น่าจะเป็ นเท็จ / เป็ นเท็จ (False)
การสรุปอ้างอิง
(Inference)
จําแนกแยกแยะข้อมูล อาศัยแนวคิดที่ได้ทําความตกลง
เบื้องต้นในแง่มุมต่าง ๆ
การระบุข้อตกลง
เบื้องต้น
(Recognition of Assumptions)
การหาข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้ออ้างโดยใช้
หลักตรรกศาสตร์
การสรุปเหตุผล
เชิงนิรนัย
(Deduction)
วัดความสามารถในการให้น้าหนักข้อมูล หลักฐาน
เพื่อตัดสินความเป็ นไปได้ของข้อสรุป
การตีความ
(Interpretation)
การประเมิน การอ้างเหตุผล ว่าสิ่งใดเป็ นความสมเหตุสมผล
การประเมินข้อโต้แย้ง
(evaluation of arguments)
(Watson and Glaser, 1937 - 1980)
Cornell Critical Thinking Test
(Ennis and Millman, 1985)
Cornell Critical Thinking Test, Level X
ป.๔ – ม.ต้น
แบบปรนัย ๓ ตัวเลือก ข้อสอบ ๗๑ ข้อ ๕๐ นาที
ค่าความเที่ยง ๐.๖๗ – ๐.๗๙
การพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล และการสังเกต
(Credibility of Sources and Observation)
การนิรนัย (Deduction)
การอุปนัย (Induction)
การระบุข้อตกลงเบื้องต้น (Assumption Identification)
Cornell Critical Thinking Test
(Ennis and Millman, 1985)
Cornell Critical Thinking Test, Level Z
ม.ปลาย ป.ตรี บัณฑิตศึกษา ผู้ใหญ่
แบบปรนัย ๓ ตัวเลือก ข้อสอบ ๗๒ ข้อ ๕๐ นาที
ค่าความเที่ยง ๐.๕๐ – ๐.๗๗
การพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล (Credibility of Sources)
การพยากรณ์และการวางแผนการทดลอง (Prediction and Experimental
Planning)
การสรุปโดยการทดสอบสมมติฐานและการทํานาย (Fallacies)
การนิรนัย (Deduction)
การอุปนัย (Induction)
การให้คําจํากัดความ (Definition)
การระบุข้อตกลงเบื้องต้น (Assumption Identification)
แบบวัดการคิดวิจารณญาณตามหลักโยนิโสมนสิการ
(ผ่องลักษม์ จิตต์การุญ, ๒๕๔๗)
แบบวัดการคิดวิจารณญาณตามหลักโยนิโสมนสิการ
แบบปรนัย ๓ ตัวเลือก ข้อสอบ ๔๐ ข้อ ๔๐ นาที
ค่าความเที่ยง ๐.๗๙๘
การคิดถูกต้อง
การคิกถูกทาง
การคิดมีเหตุผล
การคิดเร้ากุศล
ประเด็นวิจัย
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ประเด็นวิจัยความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การพัฒนารูปแบบการเรียนบนเว็บแบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็ นหลัก
เพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนิสิตปริญญาบัณฑิต
การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้
แผนผังทางปัญญา เพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
สําหรับนักศึกษาปริญญาบัณฑิต
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนทางไกลเชิงพุทธของสถานีโทรทัศน์
ผ่านที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ประเด็นวิจัยความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บโดยใช้โมเดลซิปปาเพื่อพัฒนาทักษะการคิด
อย่างมีวิจารณญาณสําหรับนิสิตปริญญาบัณฑิตกลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์
รูปแบบการฝึกอบรมผ่านเว็บด้วยการเรียนแบบร่วมมือแบบกรณีศึกษา
เพื่อการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณสําหรับพยาบาลวิชาชีพ
รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บโดยใช้หลักการจัดกิจกรรมแบบ 4 MAT
เพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณสําหรับนิสิตปริญญาบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การพัฒนารูปแบบแฟ้ มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การประเมินตนเอง
เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนิสิตนักศึกษาฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู
ประเด็นวิจัยความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ผลของการเรียนการสอนบนเว็บด้วยวิธีการสืบสอบเพื่อพัฒนาการคิด
อย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีแบบการคิดต่างกัน
ผลของการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการสืบสอบเชิงปรัชญาที่มีต่อการคิด
อย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายกรุงเทพมหานคร
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีโครงสร้างต่างกันบนเว็บด้วยกระดานสนทนา
ที่มีต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕
ที่มีบุคลิกภาพต่างกัน
การพัฒนารูปแบบแฟ้ มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การประเมินตนเอง
เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนิสิตนักศึกษาฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู
กรอบแนวคิดการวิจัย
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
(Thorne, ๒๐๐๓; Jordan,๒๐๐๔; Alvarez,๒๐๐๕;
Bonk,๒๐๐๖)
กําหนดจุดมุ่งหมาย
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
กําหนดทักษะความรู้พื้นฐาน
กําหนดจุดมุ่งหมายของการเรียน
จัดการเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน
ประยุกต์ยุทธวิธีในการจัดการเรียนการสอน
กําหนดยุทธวิธีการประเมินผล
การเรียนโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
(Ausubel,๑๙๖๘; Clark,๑๙๙๑; Buzan,๑๙๙๘; Novak &
Gowin,๒๐๐๐)
เตรียมการก่อนการเรียนการสอน
ศึกษาเนื้อหา
สร้างแผนผังทางปัญญาโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
วัดและประเมินผล
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
(Norris and Ennis,๑๙๘๙)
สรุปแบบนิรนัย
ให้ความหมาย
พิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล
และการสังเกต
สรุปแบบอุปนัย
สรุปโดยการทดสอบสมมติฐานและการทํานาย
นิยามและระบุข้อสันนิษฐาน
กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
(Woods,๑๙๙๔; Kreger,๑๙๙๘; Schmidt & Moust,๒๐๐๐
)
เสนอสถานการณ์ปัญหา
ผู้เรียนคิดวิเคราะห์สถานการณ์
ส่งเสริมให้ผู้เรียนตรวจสอบ ค้นหาเหตุผล
ผู้เรียนตีความ สรุปความและประเมินสถานภาพ
ผู้เรียนตัดสินใจเลือกคําตอบ
ผู้เรียนตรวจคําตอบ
การประเมินผลขั้นสุดท้ายเพื่อให้ได้ข้อสรุป
ที่เป็ นเหตุเป็ นผล
รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา : องค์ประกอบหลัก
BLCT Model
หลักการ
เพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
๖ ด้าน
การสรุปแบบนิรนัย
การให้ความหมาย
การพิจารณาความน่าเชื่อถือของ
แหล่งข้อมูลและการสังเกต
การสรุปแบบอุปนัย
การสรุปโดยการทดสอบสมมติฐาน
และการทํานาย
การนิยามและระบุข้อสันนิษฐาน
ประเมินการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
๖ ด้าน
การสรุปแบบนิรนัย
การให้ความหมาย
การพิจารณาความน่าเชื่อถือของ
แหล่งข้อมูลและการสังเกต
การสรุปแบบอุปนัย
การสรุปโดยการทดสอบสมมติฐาน
และการทํานาย
การนิยามและระบุข้อสันนิษฐาน
ขั้นการเตรียมการ
ก่อนการเรียนการสอน
ขั้นการจัดกระบวนการเรียน
การสอน
การเรียนการสอนแบบผสมผสาน
กระบวนการเรียนการสอน
โดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
กิจกรรมการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาความคิดอย่างมี
วิจารณญาณ
วิธีปฏิสัมพันธ์บนเว็บ
บทบาทผู้เรียน
บทบาทผู้สอน
ปัจจัยที่สนับสนุนการเรียนบนเว็บ
วัตถุประสงค์ กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา : หลักการ
BLCT Model
Principles
Teacher’s roles
Cognitive Tools
Activities to
Develop Critical
Thinking
Learner’s roles Interaction on web
Supportive
resources on the
web
Blended Learning
System
รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
การสรุปแบบนิรนัย
การใหความหมาย
การพิจารณาความนาเชื่อถือของ
แหลงขอมูลและการสังเกต
การสรุปแบบอุปนัย
การสรุปโดยการทดสอบสมมติฐาน
และการทํานาย
การนิยามและระบุขอสันนิษฐาน
การบวนการเรียนโดยใชเครื่องมือทางปญญา
กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดยใชเครื่องมือทางปญญา
การเรียนการสอนในหองเรียน
 ๔๐%
การเรียนการสอนออนไลน  ๖๐ %
ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ
ศึกษาเนื้อหาภาคปฏิบัติ  ศึกษาเนื้อหาภาคทฤษฎี 
แผนผังความคิด แผนผังงาน แผนผังมโนทัศน แผนผังกางปลา
ขั้นการระดมสมอง 
ขั้นการจัดโครงสรางและรูปแบบ 
ขั้นการแสดงความเชื่อมโยง 
ขั้นการสรุปทบวน 
ขั้นการนําไปใชประโยชน 
องคประกอบของรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใชเครื่องมือทางปญญา
กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา : ขั้นการเตรียมการก่อนการเรียนการสอน
ขั้นการเตรียมการก่อนการเรียนการสอน
การปฐมนิเทศ
การฝึกปฏิบัติ
วัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียน

การจัดกลุ่มผู้เรียน



ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน การเรียนการสอนบนเว็บ
การเรียนการสอนในห้องเรียน
การเรียนการสอนบนเว็บและในห้องเรียน



บทบาทผู้สอน
บทบาทผู้เรียน
บทบาทกลุ่มผู้เรียน
กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา : ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน
ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน


กระบวนการเรียนโดยใช้
เครื่องมือทางปัญญา
การศึกษาเนื้ อหา
ศึกษาเนื้อหาภาคทฤษฎี
ศึกษาเนื้อหาภาคปฏิบัติ
Self pace e-Learning / LMS: Online content
F๒F Classroom / Computer Lab
กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา : ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน
กระบวนการเรียนโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
แผนผังความคิด แผนผังงาน แผนผังมโนทัศน์ แผนผังก้างปลา
ขั้นที่ ๑ การระดมสมอง
ขั้นที่ ๒ การจัดโครงสร้างและรูปแบบ
ขั้นที่ ๓ การแสดงความเชื่อมโยง
ขั้นที่ ๔ การสรุปทบวน
ขั้นที่ ๕ การนําไปใช้ประโยชน์
กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา : ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน
ขั้นที่ ๑ การระดมสมอง
(Brainstorming Phase)
กําหนดประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหา
สร้างสมมติฐานและจัดลําดับสมมติฐาน
สมมติฐาน
กําหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
ทําความเข้าใจประเด็นปัญหา






Live e-Learning, e-Brainstorming
LMS: small group chat room, Web board
Live e-Learning, e-Brainstorming
LMS: small group chat room, Web board
Online question assignment ๑
Live e-Learning, e-Brainstorming
LMS: small group chat room, Web board
Online question assignment ๒
Live e-Learning, e-Brainstorming
LMS: small group chat room, Web board
Online question assignment ๓
กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา : ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน
ขั้นที่ ๓ การแสดงความเชื่อมโยง
(Linking Phase)
ขั้นที่ ๒ การจัดโครงสร้างและรูปแบบ
(Organizing Phase)
Live e-Learning, e-Brainstorming
LMS: small group chat room, Web board
Online question assignment ๔
ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูล


Live e-Learning, e-Brainstorming
LMS: small group chat room, Web board
Online question assignment ๕
สังเคราะห์ข้อมูล ตรวจสอบสมมติฐาน
ตรวจสอบสมมติฐาน


กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา : ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน
Live e-Learning, e-Brainstorming
LMS: small group chat room, Web board
Online question assignment ๖
F๒F Classroom: Classroom discussion,
Oral presentation
Online Learning: Live e-Learning,
e-Brainstorming
LMS: Small group chat room, Web board
สรุปหลักการ แนวคิดที่ได้จากการแก้ปัญหา
นําเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา
และประยุกต์ใช้สถานการณ์อื่น ๆ
สรุปหลักการ แนวคิด



ขั้นที่ ๔ การสรุปทบวน
(Finalizing the concept map)
ขั้นที่ ๕ การนําไปใช้ประโยชน์
(Utilization Phase)
ทักษะการคิดแก้ปัญหา
Problem Solving Skills
การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์
Creative Problem Solving: CPS
4 Levels of Problem Solving

Contenu connexe

Tendances

ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
sornordon
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
Aon Narinchoti
 
แบบ ขย11 พิมพ์เอง
แบบ ขย11 พิมพ์เองแบบ ขย11 พิมพ์เอง
แบบ ขย11 พิมพ์เอง
Tanita
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
Parichart Ampon
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
Aena_Ka
 
ป้ายสัญลักษณ์จาราจร
ป้ายสัญลักษณ์จาราจรป้ายสัญลักษณ์จาราจร
ป้ายสัญลักษณ์จาราจร
pingpingmum
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชัน
Aon Narinchoti
 

Tendances (20)

รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยแนวข้อสอบครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
ยูเนียน
ยูเนียนยูเนียน
ยูเนียน
 
กลอนวันเด็กแห่งชาติ
กลอนวันเด็กแห่งชาติกลอนวันเด็กแห่งชาติ
กลอนวันเด็กแห่งชาติ
 
P48545670053
P48545670053P48545670053
P48545670053
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
แบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับ
แบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับแบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับ
แบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับ
 
แบบ ขย11 พิมพ์เอง
แบบ ขย11 พิมพ์เองแบบ ขย11 พิมพ์เอง
แบบ ขย11 พิมพ์เอง
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
ภาษา Jsp
ภาษา Jspภาษา Jsp
ภาษา Jsp
 
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
 
ป้ายสัญลักษณ์จาราจร
ป้ายสัญลักษณ์จาราจรป้ายสัญลักษณ์จาราจร
ป้ายสัญลักษณ์จาราจร
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชัน
 

En vedette

Part04 软件测试方法论
Part04 软件测试方法论Part04 软件测试方法论
Part04 软件测试方法论
aellaw
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
Jintana Kujapan
 

En vedette (20)

Pdp
Pdp Pdp
Pdp
 
305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
“The Asian Conference on Technology in the Classroom (Osaka 2012)”
“The Asian Conference on Technology in the Classroom (Osaka 2012)”“The Asian Conference on Technology in the Classroom (Osaka 2012)”
“The Asian Conference on Technology in the Classroom (Osaka 2012)”
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Boxคิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
Creativity Test (TTCT Torrance, TCT-DP Jellen& Urban etc)
Creativity Test (TTCT Torrance, TCT-DP Jellen& Urban etc)Creativity Test (TTCT Torrance, TCT-DP Jellen& Urban etc)
Creativity Test (TTCT Torrance, TCT-DP Jellen& Urban etc)
 
Performance skills
Performance skillsPerformance skills
Performance skills
 
Part04 软件测试方法论
Part04 软件测试方法论Part04 软件测试方法论
Part04 软件测试方法论
 
Eaed3212 creative thinking (1)
Eaed3212 creative thinking (1)Eaed3212 creative thinking (1)
Eaed3212 creative thinking (1)
 
การใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทย
การใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทยการใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทย
การใช้ ICT เพื่อยกระดับการศึกษาไทย
 
Big C and Little c
Big C and Little cBig C and Little c
Big C and Little c
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
Creativity tony coloma
Creativity tony colomaCreativity tony coloma
Creativity tony coloma
 
Big C and Little c
Big C and Little cBig C and Little c
Big C and Little c
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 

Similaire à พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)

บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
Supattra Rakchat
 
Social Learning Theory version Thailand
Social Learning Theory version ThailandSocial Learning Theory version Thailand
Social Learning Theory version Thailand
codexstudio
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
aorchalisa
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
Note Na-ngam
 

Similaire à พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking) (20)

บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Atack
AtackAtack
Atack
 
Atack
AtackAtack
Atack
 
Atack
AtackAtack
Atack
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
Social Learning Theory version Thailand
Social Learning Theory version ThailandSocial Learning Theory version Thailand
Social Learning Theory version Thailand
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
201704 open ended-research
201704 open ended-research201704 open ended-research
201704 open ended-research
 

Plus de Panita Wannapiroon Kmutnb

มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Plus de Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 

พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)