SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  99
Télécharger pour lire hors ligne
A Day Made of Glass
e-Society
e-Education
e-Industry
e-Commerce
e-Government
Human Resource Development
Information Infrastructure and Industry
Knowledge Management and Organization
2020
Stronger
Economy
Social
Equality
Environmental
Friendly
Smart Agriculture
Smart Services
Smart
Environment
(ICT for Green &
Green IT)
Smart Health
Smart Learning
Smart Government
ICT Human Resources and
ICT Competent Workforce ICT Infrastructure ICT Industry
ICT2020: National ICT Policy 2011-2020
21st Century Student Outcomes & Support Systems
The Partnership for 21st Century Skills http://www.p21.org
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑
สอนน้อย เรียนมาก
ก้าวข้ามสาระวิชา
ผู้เรียนบอกว่าอยากเรียนอะไร
ร่วมมือ > แข่งขัน
เรียนเป็นทีม > เฉพาะคน
เรียนโดยลงมือทํา : PBL (Project-Based Learning)
ประเมินแนวใหม่ :
ไม่เน้นถูก-ผิด ประเมินทีม ข้อสอบไม่เป็นความลับ
ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, ๒๕๕๖
Jonathan Bergmann & Aaron Sams. (2010). The flipped classroom.
ศึกษาเนื้อหาที่บ้าน
ใช้สื่อออนไลน์เข้าช่วย
ทําการบ้าน กิจกรรมที่ห้องเรียน
เน้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้
What is e-Learning?
“The use of digital technologies and media to
deliver, support and enhance teaching,
learning, assessment and evaluation is the
use of information and communication
technologies in delivering learning and
training”
(AECT, 2007)
What is e-Learning?
Online Learning / Training
Web Based Learning / Training (WBL/WBT)
Computer Based Learning / Training (CBL/CTB)
Web Based Instruction (WBI)
use of information and communication technologies
in delivering learning and training.
What is e-Learning?
การใช้ทรัพยากรต่างๆ ในระบบอินเทอร์เน็ต มาออกแบบ
และจัดระบบ เพื่อสร้างระบบการเรียนการสอน โดยการ
สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ตรงกับความต้องการของผู้สอนและผู้เรียน
เชื่อมโยงระบบเป็ นเครือข่ายที่สามารถเรียนรู้ได้
ทุกที่ ทุกเวลา และทุกคน
รศ.ดร.ถนอมพร (ตันพิพัฒน์) เลาหจรัสแสง
e-Learning : คุณลักษณะ
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตนเอง จากทุกที่ทุกเวลา
โดยอิสระ (Anywhere, Anytime and Anybody)
มีระบบปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน และสามารถเรียนรู้ร่วมกัน
มีเครื่องมือที่วัดผลการเรียนได้
มีการออกแบบการเรียนการสอนอย่างมีระบบ
มีสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการเรียนรู้อย่างมีชีวิตชีวา
(Active Learning) และการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง (Child Center Learning)
e-Learning : การนําไปใช้
สื่อหลัก (Comprehensive Replacement)
ใช้แทนที่การบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเนื้ อหาทั้งหมด
ออนไลน์
สื่อเติม (Complementary)
ผู้สอนออกแบบเนื้ อหาให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาเนื้ อหาเพิ่มเติมจาก
e-Learning
สื่อเสริม (Supplementary)
นอกจากเนื้ อหาที่ปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผู้เรียนยังสามารถ
ศึกษาเนื้ อหาเดียวกันนี้ ในลักษณะอื่นๆ เช่น จากเอกสารประกอบ
การสอน เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนมีทางเลือกในการเข้าถึงเนื้ อหา
Learning Pyramid
18
PassiveActive
e- Learning : องค์ประกอบ
e-
Learning
Content
Communi
cation
LMS
Evaluation
Synchronous
Asynchronous
text chat, audio & video conferencing
electronic whiteboards, file sharing
e-mails
discussion forums
Pre-Test
Exam
Post-Test
e-Learning :ข้อดี
ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียน
ของผู้เรียนได้อย่างละเอียดและตลอดเวลา
ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตนเองได้
โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลใดก่อนหรือหลังก็ได้
ตามพื้นฐานความรู้ ความถนัด และความสนใจของตน
ทําให้ได้รับความรู้และมีการจดจําที่ดีขึ้น
e-Learning :ข้อดี
เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับครูผู้สอน และกับเพื่อน
ด้วยเครื่องมือต่างๆ
ผู้เรียนแต่ละคน จะได้รับเนื้ อหาของบทเรียนเหมือนเดิมทุกครั้ง
ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ รวมทั้งเนื้ อหามีความ
ทันสมัย และตอบสนองต่อเหตุการณ์ต่างๆ ในปัจจุบัน
ได้อย่างทันที
เกิดการเรียนการสอนแก่ผู้เรียนในวงกว้างขึ้น
เป็นการสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต
Instructional System Design
Evaluation
Analysis
Design
Development
Implementation
การวิเคราะห์เนื้ อหา (Analysis)
1. สร้างแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart)
2. สร้างแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart)
ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์Input Unit
CPU
Memory
Output Unit
Mouse
Microphone
Joystick
Scanner
KeyboardDigital Camera
ALU CU
Main Memory Secondary
Memory
RAM
ROM Floppy Disk
Hard Disk CD ROM
DVD ROM
Tape
Monitor
Printer
Plotter
Speaker
Projector
3. สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้ อหา (Content Network Chart)
2
Input Unit
3 DigitalCamera4
5
6
7
8
9
10
Keyboard
Mouse
Scanner
Joystick
Microphone
13
15
14
ALU
CU
29
30
Output Unit
3731
32
33
35
36
34
Monitor
Printer
Speaker
Plotter
Projector
Floppy Disk
Hard Disk
17
19
23
18
22
20
21
24
25
26
27
28
Main
Memory
Secondary
Memory
Ram
Rom
CD Rom
DVD Rom
Tape
12
16
CPU
Memory
11
การวิเคราะห์เนื้ อหา (Analysis)
การออกแบบบทเรียน (Design)
4. กําหนดกลวิธีการนําเสนอและวัตถุประสงค์
เชิงพฤติกรรม
(Strategic Presentation Plan And Behavior Objective)
5. สร้างแผนภูมิการนําเสนอในแต่ละหน่วย
(Module Presentation Chart)
หน่วยเรียนที่ 1 หน่วยรับข้อมูล(Input Unit)
รายละเอียดเนื้อหา วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
1.1 Keyboard
1.2 Mouse
1.3 Scanner
1.4 Joystick
1.5 Digital Camera
1.6 Microphone
1.1 อธิบายความหมายของอุปกรณ์
ทางด้านอินพุทได้
1.2 บอกได้ว่าอุปกรณ์ชนิดใดเป็นอุปกรณ์
ทางด้านอินพุท
1.3 เข้าใจหน้าที่การทํางานของอุปกรณ์
อินพุทแต่ละตัว
1.4 อธิบายข้อแตกต่างของการนําอุปกรณ์
อินพุทไปใช้งานได้
1.5 อธิบายข้อแตกต่างระหว่างอุปกรณ์อินพุทแต่ละตัวได้
1.6 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง
หน่วยเรียนที่ 2 หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit)
รายละเอียดเนื้อหา วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
2.1 ALU
2.2 CU
2.1 อธิบายหลักการทํางานของ CPU ได้
2.2 อธิบายหน้าที่หลักการทํางานของ ALUได้
2.3 อธิบายหน้าที่หลักการทํางานของ CUได้
หน่วยเรียนที่ 3 หน่วยความจํา(Memory)
รายละเอียดเนื้อหา วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
3. หน่วยความจํา(Memory)
3.1 Main Memory
3.1.1 Ram
3.1.2 Rom
3.2 Secondary Memory
3.2.1 Floppy Disk
3.2.2 Hard Disk
3.2.3 CD ROM
3.2.4 DVD ROM
3.2.5 Tape
3.1 อธิบายหน้าที่หลักการทํางานของ
หน่วยความจํา ได้
3.2 สามารถอธิบายได้ว่าอะไรเป็นหน่วย
ความจําหลักอะไรเป็นหน่วยความจําสํารอง
3.3 อธิบายหลักการทํางานของอุปกรณ์เก็บ
ข้อมูลแต่ละชนิดได้
3.4 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลแต่ละชนิด
ได้อย่างถูกต้อง
3.5 สามารถบอกได้ว่าหน่วยความจําชนิดใดเป็นหน่วย
ความจําชั่วคราวและหน่วยความจําชนิดใดเป็น
หน่วยความจําถาวร
หน่วยเรียนที่ 4 หน่วยแสดงผล(Output Unit)
รายละเอียดเนื้อหา วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
4. หน่วยแสดงผล(Output Unit)
4.1 Monitor
4.2 Printer
4.3 Plotter
4.4 Projector
4.5 Speaker
4.1 อธิบายความหมายแลของอุปกรณ์ทางด้าน
เอ้าท์พุทได้
4.2 บอกได้ว่าอุปกรณ์ชนิดใดเป็นอุปกรณ์แสดงผล
4.3 เข้าใจหน้าที่การทํางานของอุปกรณ์เอ้าท์พุทแต่ละตัว
4.4 อธิบายข้อแตกต่างของการนําอุปกรณ์เอ้าท์พุท
ไปใช้งานได้
4.5 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์เอ้าท์พุทได้อย่างถูกต้อง
ลําดับการนําเสนอเนื้อหาบทเรียน
Course Flow Chart
Module 2
หน่วยประมวลผลกลาง(CPU)
เริ่มเข้าสู่บทเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
จบบทเรียน
Module 1
หน่วยรับข้อมูล(Input Unit)
Module 4
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
Module 3
หน่วยความจํา (Memory)
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยรับข้อมูล
(Input Unit)
แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test)
Keyboard MicrophoneScanner
แบบทดสอบหลังเรียน
(Posttest)
กลับเมนูหลัก
Mouse JoystickDigital Camera
การนําเสนอเนื้อหา
Module 1
หน่วยประมวลผลกลาง
(CPU)
แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test)
ALU CU
แบบทดสอบหลังเรียน
(Posttest)
กลับเมนูหลัก การนําเสนอเนื้อหา
Module 2
หน่วยความจํา
(Memory)
แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test)
Main Memory
Floppy Disk
แบบทดสอบหลังเรียน
(Posttest)
กลับเมนูหลัก การนําเสนอเนื้อหา
Module 3
Secondary Memory
RAM ROM Hard Disk CD ROM DVD ROM Tape
หน่วยแสดงผล
(Output Unit)
แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test)
Monitor ProjectorPlotter
แบบทดสอบหลังเรียน
(Posttest)
กลับเมนูหลัก
Printer Speaker
การนําเสนอเนื้อหา
Module 4
การพัฒนาบทเรียน(Development)
6. เขียนรายละเอียดเนื้ อหา (Script Development)
7. จัดทําลําดับเนื้ อหา (Story Board Development)
8. ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้ อหา
(Content Correctness)
9. สร้างแบบทดสอบส่วนต่างๆ
Script writer…วิภารัตน์ พุกเงิน…..……Graphic……….วิภารัตน์ พุกเงิน………………..……...
VDO Shooter……-……………………….Narrator…..….วิภารัตน์ พุกเงิน………………..……....
Supervisor……เชษฐา คงพลปาน……..…Inspector…..…ณรงค์ชัย สุขสวคนธ์ ….……………...…
Approved…….รศ. ไพโรจน์ ตีรณธนากุล... Date…………………….…………..……………………...
Note……………………………………………………………………………….
Narration Script…สวัสดีครับยินดีต้อนรับสู่หน่วยเรียนที่2 ทฤษฎีทาง
ไฟฟ้ าขั้นพื้นฐานผู้เรียนสามารถเลือกเรียนเรื่องใดก่อนก็ได้แต่ถ้าจะให้สัมฤทธิ์ผล
ผู้เรียนควรเลือกเรียนตามลํ าดับขั้นดังนี้ทําแบบทดสอบก่อนเรียนเมื่อทําแบบ
ทดสอบก่อนเรียนเสร็จแล้วให้กลับมาเรียนเนื้อหาเรื่องกฎของโอห์มกําลังไฟฟ้ าและ
พลังงานไฟฟ้ าตามลํ าดับหลังจากเรียนเนื้อหาจบแล้วให้กลับไปทําแบบทดสอบ
หลังเรียนต่อไป
Screen Show-out………………-………………...…………………………...
……………………………………….……………………..
……………………………………………………………...
Picture/VDO……กฎของโอห์ม……. File name..…Ohm.jpg….………..…
…….กําลังไฟฟ้ า…….... File name…. Power.jpg..…………..
…….พลังงานไฟฟ้ า..…. File name…. Energy.jpg………….
………..……………….File name……………………………
File name..………………Module2……………………..……………………...
File in From
...MainMenu...
……………..……
……………..
………………..
Effect
Click รายการหลักกลับแผนภูมิ
Click.รูปเข้าสู่บทเรียน………….
Click.ปุ่ มคําสั่งเข้าสู่คํ าสั่งต่าง ๆ….
……..…………………………....
File Out to
...MainMenu...
…………………
…………………
…….…………..
Subject...หน่วยเรียนที่2 ทฤษฎีทางไฟฟ้ าขั้นพื้นฐาน…...
Title ...SubMenu: หัวเรื่องหน่วย2……………………..
Page no ..02-1..sheet no ..01..Main Icon…Basic…...
Comp.& IT (SIE)
Computer Instruction Script
Form No. …002…
ตรา
กฎของโอห์ม
กําลังไฟฟ้ า
พลังงานไฟฟ้ า
ทฤษฎีทางไฟฟฟ้าขั้นพื้นฐาน
ทฤษฎีวงจรไฟฟฟ้ากระแสตรงรายการหลัก
ส่วนช่วยเหลือแบบทดสอบ ออก
10. เลือกโปรแกรมในการจัดทําบทเรียน
11. จัดเตรียมสื่อที่จําเป็นต้องใช้ประกอบในแต่ละ
เฟรมของการนําเสนอ
12. สร้างบทเรียนโดยนําทรัพยากรที่เตรียมไว้แล้วมา
สร้าง ตามที่ได้ออกแบบไว้
การนําไปใช้งาน (Implementation)
การประเมินผล (Evaluation)
13. ตรวจสอบคุณภาพของ e-Learning
14. ทดลองหาประสิทธิภาพกับกลุ่มตัวอย่าง
15. ทําการทดสอบหาประสิทธิภาพ(E1/E2)
16. จัดทําคู่มือการใช้งาน (User Manual)
ตัวอย่างการแบบประเมินความคิดเห็นที่มีต่อเนื้ อหา
ด้านการประเมิน
1. เนื้อหาครอบคลุมสนองตามวัตถุประสงค์
2. ความชัดเจนของเนื้อหาในการนําเสนอ
3. ความเข้าใจในการสื่อความหมาย
4. ลําดับเนื้อหาง่ายต่อความเข้าใจ
5. มีการเชื่อมโยงของเนื้อหาเหมาะสม
6. กล่าวนําและสรุปชัดเจน
ระดับการประเมิน
4 3 2 1
ตัวอย่างแบบประเมินคุณภาพด้านมัลติมีเดีย
ระดับความคิดเห็น
ข้อเสนอแนะ
ในการปรับปรุงดีมาก
5
ดี
4
ปาน
กลาง
3
พอใช้
2
ควร
ปรับปรุง
1
ด้านการประเมิน
1. ด้านตัวอักษร (Text)
2. ด้านภาพนิ่ง (Image)
3. ด้านภาพเคลื่อนไหว (Animation)
4. ด้านเสียง (Audio)
5. ด้านปฏิสัมพันธ์ (Interactive)
ระดับการประเมินความคิดเห็น
4 - 3.51 หมายถึง ดีมาก
3.5 - 2.51 หมายถึง ดี
2.5 - 1.51 หมายถึง พอใช้
1.5 - 1 หมายถึง ควรปรับปรุง
การสร้างแบบทดสอบ
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบระหว่างเรียน (แบบฝึกหัด)
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบครบทุกบท/ ครอบคลุมวัตถุประสงค์
การวิเคราะห์ข้อสอบปรนัย
เทคนิค 25 % / เทคนิค 27%
กลุ่มคะแนนสูง 25 %
กลุ่มคะแนนตํ่า 25 %
คะแนนกลาง ๆ ตัดทิ้งทั้งหมด
ค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8
ค่าอํานาจจําแนก (D) ตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป
ค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป
การประเมินผล (Evaluation)
สมมุติฐาน E1/E2 : 80/80
E1 คือ ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษา
ที่ทําแบบฝึกหัดระหว่างเรียนแต่ละหน่วย
E2 คือ ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษา
ที่ทําแบบทดสอบหลังการเรียนเมื่อเรียน
ครบทุกหน่วย
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ
100
A
N
X
E
n
1i
1 ×=
∑
=
◌ียนจํานวนผู้เร
ยนระหว่างเรีองแบบทดสอบคะแนนเต็มข
◌่างเรียนบทดสอบระหวจากการทําแบ
นที�ได้ยละของคะแนคิดเป็นร้อ
การพของกระบวนประสิทธิภา
างเรียนทดสอบระหว่
ากแบบงนักเรียนจคะแนนรวมขอ
=
=
=
=∑
=
N
A
E
X
1
n
1i
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ
100
B
N
F
E
n
1i
2 ×=
∑
=
◌ียนจํานวนผู้เร
วมหลังเรียนรองแบบทดสอบคะแนนเต็มข
เรียนรวมบทดสอบหลังจากการทําแบ
นที�ได้ยละของคะแนคิดเป็นร้อ
◌์พของผลลัพธประสิทธิภา
างเรียนทดสอบระหว่
ากแบบงนักเรียนจคะแนนรวมขอ
=
=
=
=∑
=
N
B
E
F
2
n
1i
การวิเคราะห์หาประสิทธิผล
E post – Epre > 60
E post = ร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทําแบบทดสอบหลังเรียนทั้งวิชา
E pre = ร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทําแบบทดสอบก่อนเรียนทั้งวิชา
การวิเคราะห์หาประสิทธิผล
x 100
NB
Epost =
∑=
N
i
Xi
1
Xi =
N =
B = คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
จํานวนนักเรียนทั้งหมด
คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนคนที่ i
การวิเคราะห์หาประสิทธิผล
x 100
NC
Epre =
∑=
N
k
X
1
Xk =
N =
C = คะแนนเต็มของแบบทดสอบก่อนเรียน
จํานวนนักเรียนทั้งหมด
คะแนนสอบก่อนเรียนของนักเรียนคนที่ k
k
Web Technology
Blended Learning
web-based / CD-based course
text book
articles
pre-recorded classes
assignments and projects
Synchronous
interaction
Asynchronous
interaction
text chat, audio & video conferencing
electronic whiteboards, file sharing
e-mails
discussion forums
lectures
presentations
workshops
conference
tutoring
Tools: iPod
Tools: iPad
m-Learning
Social Media
http://www.fredcavazza.net/2012/02/22/social-media-landscape-2012
http://www.fredcavazza.net/2013/04/17/social-media-landscape-2013/
Youtube
http://www.youtube.com/
Slideshare
http://www.slideshare.net/drpanita
Edmodo
http://www.edmodo.com/
Edmodo
http://www.edmodo.com/
Khanacademy
http://www.khanacademy.org/
Khanacademy
http://www.khanacademy.org/
Application: Podcast
Application: Webcast
Second Life
Second Life
Second Life
Weblog
Social Media: Facebook
http://www.facebook.com
Social Media: Twitter
Twitter.com
http://www.bigbluebutton.org
Application: Skype
http://mahara.org
www.joomla.org
http://wordpress.org
Wikipedia
http://itredux.com/2009/10/11/defining-cloud-computing-for-business-users
(Capital Expenditures)
http://en.wikipedia.org/wiki/Cloud_computing
Simple Move to Cloud Services
ขอบคุณรูปภาพ จากผศ.ดร.เด่นพงษ์สุดภักดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
http://moodle.org
2008 Google-O'Reilly Open Source Award Winners >> Best Education
Oxford University
Moscow Institute of Physics and Technology
M Modular
O Object
O Oriented
D Dynamic
L Learning
E Environment
Integration to Online Services
ขอบคุณรูปภาพ จากผศ.ดร.เด่นพงษ์สุดภักดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วิถีแห่งองค์กรอัจฉริยะ
ความสามารถในการรับข้อมูลข่าวสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กร
อาจไม่สําคัญเท่าความสามารถในการปรับตัว
การเรียนรู้ การสร้างและการใช้ความรู้
ที่นําไปสู่การเพิ่มคุณค่าและมูลค่าขององค์กร
ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช, ๒๕๕๐
วิถีแห่งองค์กรอัจฉริยะ
Knowledge-based organization
Knowledge-creating organization
Value-added
วิถีแห่งองค์กรอัจฉริยะ
Knowledge
Body of knowledge
Knowledge spiral
Application of knowledge
Leverage of knowledge
Organization Intelligence
Knowledge
Implementation
Confirmation
Persuasion
Decision
(Rogers, 1995)
Knowledge Persuasion Decision Implementation Confirmation
Adoption
Rejection
Characteristics
of the decision
making unit
Software Information
How-To Knowledge
Principles Knowledge
Perceived
characteristic of
the innovation
Continued adoption
Continued rejection
Later adoption
Discontinuance
Communication Channels
http://www.stvc.ac.th
http://www.innobpcd.net
http://e-learning.vec.go.th/elearningvec
http://www.e-trainingvec.org
การเขียนรายงานผลการจัดการเรียนการสอน
เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
เทคนิคบริหารจัดการเอกสารตามระเบียบ
งานสารบรรณ
http://www.e-trainingvec.org
http://www.e-trainingvec.org/course/view.php?id=57

Contenu connexe

Tendances

Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
kroojade
 

Tendances (20)

การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือนSmart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
Remote Learning After Covid-19
Remote Learning After Covid-19Remote Learning After Covid-19
Remote Learning After Covid-19
 
Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologies
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 
3.2.5
3.2.5 3.2.5
3.2.5
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
 
New media for teaching
New media for teachingNew media for teaching
New media for teaching
 
การออกแบบการเรียนการสอน ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 2014
การออกแบบการเรียนการสอนในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 2014การออกแบบการเรียนการสอนในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 2014
การออกแบบการเรียนการสอน ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 2014
 

En vedette (6)

e-Learning
e-Learninge-Learning
e-Learning
 
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
 
How to win back your love
How to win back your loveHow to win back your love
How to win back your love
 
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite ChannelWera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
 
Team Based Learning
Team Based LearningTeam Based Learning
Team Based Learning
 

Similaire à Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning

Proposal Writing Th Imagine Cup 2010 By Kumton Suttiraksiri Printed Version
Proposal Writing Th Imagine Cup 2010 By Kumton Suttiraksiri Printed VersionProposal Writing Th Imagine Cup 2010 By Kumton Suttiraksiri Printed Version
Proposal Writing Th Imagine Cup 2010 By Kumton Suttiraksiri Printed Version
Tanawat Pitchayapryt
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Office of Human Development
Office of Human DevelopmentOffice of Human Development
Office of Human Development
paiboonrat
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 8 พัฒนาเกม
ใบงานที่ 8 พัฒนาเกมใบงานที่ 8 พัฒนาเกม
ใบงานที่ 8 พัฒนาเกม
Aungkana Na Na
 

Similaire à Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning (20)

Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017
Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017
Understand Your Information Workshop (Thai) - UX Thailand 2017
 
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
 
Proposal Writing Th Imagine Cup 2010 By Kumton Suttiraksiri Printed Version
Proposal Writing Th Imagine Cup 2010 By Kumton Suttiraksiri Printed VersionProposal Writing Th Imagine Cup 2010 By Kumton Suttiraksiri Printed Version
Proposal Writing Th Imagine Cup 2010 By Kumton Suttiraksiri Printed Version
 
Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
345635
345635345635
345635
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
Office of Human Development
Office of Human DevelopmentOffice of Human Development
Office of Human Development
 
CODE D
CODE DCODE D
CODE D
 
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศChapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
906702 it for mgt - september 6r2
906702 it for mgt  - september 6r2906702 it for mgt  - september 6r2
906702 it for mgt - september 6r2
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
2560 project 2561
2560 project 25612560 project 2561
2560 project 2561
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
1247g3hg1238 2011
1247g3hg1238 20111247g3hg1238 2011
1247g3hg1238 2011
 
ใบงานที่ 8 พัฒนาเกม
ใบงานที่ 8 พัฒนาเกมใบงานที่ 8 พัฒนาเกม
ใบงานที่ 8 พัฒนาเกม
 

Plus de Panita Wannapiroon Kmutnb

มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Plus de Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
 
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
 
Working process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st centuryWorking process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st century
 
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
 
The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...
 
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutionsStudy of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
 
The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...
 
Development ofWeb-based Training in Collaboration with Convenors of Pilot Col...
Development ofWeb-based Training in Collaboration with Convenors of Pilot Col...Development ofWeb-based Training in Collaboration with Convenors of Pilot Col...
Development ofWeb-based Training in Collaboration with Convenors of Pilot Col...
 

Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning