SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
การควบคุม และป้อ งกัน โรค
หลัก การป้อ งกัน และ
ควบคุม โรคติด ต่อ

          คนที่จ ะป่ว ย
            (host)

  เชือ สาเหตุ
     ้                       สิง
                               ่
   (agent)                 แวดล้อ ม
                          (environ
                            ment)
Host
 ภูม ต ้า นทานโรค
      ิ
 พฤติก รรมของโฮสต์       เช่น การทานอาหาร
 การย้า ยถิน
            ่

 การป้อ งกัน โรค     ดำา เนิน การไม่ใ ห้โ ฮสต์ไ ด้ร ับ
  เชือ หรือ ได้ร ับ เชื้อ แต่ไ ม่ป ่ว ยเป็น โรค ทำา ให้
     ้
  โฮสต์ม ภ ม ต ้า นทานโรค ปรับ เปลี่ย นพฤติก รรม
         ี ู ิ
  สุข ภาพ
 การควบคุม โรค  ผู้ป ่ว ยต้อ งได้ร ับ การรัก ษา
  ให้ห ายขาดด้ว ยวิธ ีท เ หมาะสม
                           ี่
กลวิธ ีป ้อ งกัน โรคที่เ กี่ย วกับ
คน

1.   การสร้า งเสริม ภูม ิค ม กัน เฉพาะโรค
                           ุ้
    vaccine : สารทีส ร้า งจากเชือ โรค เมือ ให้
                    ่            ้        ่
     เข้า ไปในร่า งกายแล้ว กระตุ้น ให้ร ่า งกายสร้า ง
     ภูม ค ุ้ม กัน
         ิ
    Toxoids : สร้า งจากพิษ ของแบคทีเ รีย แล้ว
     นำา มาทำา ให้พ ิษ หมดไป แต่ย ง สามารถกระตุ้น
                                  ั
     ภูม ค ุ้ม กัน ได้
         ิ
    Antiserum immunoglobulin :
     แอนติบ อดีท ร ่า งกายสร้า งขึ้น เพือ คุ้ม กัน โรค
                 ี่                     ่
2. การสร้า งภูม ิค ม กัน โรคโดยทั่ว ไป
                   ุ้
  การส่ง เสริม สุข ภาพให้ส มบูร ณ์ท ั้ง
  ร่า งกายและจิต ใจ เช่น งานส่ง เสริม
  โภชนาการ งานสุข ศึก ษา งานอนามัย
  แม่แ ละเด็ก
3. การลดพฤติก รรมเสีย ง   ่
  การให้ส ข ศึก ษา จูง ใจให้ป ระชาชน
            ุ
  ปรับ เปลี่ย นพฤติก รรมที่เ สีย ง
                               ่
Agent
 คุณ สมบัต ิเ ฉพาะของเชื้อ
 ความสามารถในการทำา ให้โ ฮสต์ต ิด โรค
 ความรุน แรงของพยาธิส ภาพทีเ กิด ขึ้น
                            ่
 ความคงทนต่อ ยาและสิง แวดล้อ ม
                     ่

 การป้อ งกัน และควบคุม โรค    พิจ ารณา
  เฉพาะโรค และปรับ เปลี่ย นให้เ หมาะสมอยู่
  เสมอ เน้น การทำา ลายเชื้อ โรค
การป้อ งกัน โรคเกี่ย วกับ สิ่ง ที่
ทำา ให้เ กิด โรค

 การวิน จ ฉัย ตั้ง แต่แ รกเริ่ม และรีบ รัก ษา
         ิ
  ทัน ที : เพือ ป้อ งกัน ความรุน แรงของโรค ลด
              ่
  อัน ตรายหรือ ความสูญ เสีย จากโรค
 การตรวจหาพาหะและให้ก ารรัก ษา              : เพือ
                                                  ่
  ป้อ งกัน การแพร่ก ระจายของโรค เช่น การ
  ตรวจเลือ ด ตรวจอุจ จาระ ตรวจเสมหะ
 การควบคุม แหล่ง แพร่โ รค        : เพือ ทำา ลายเชือ
                                       ่           ้
  โรค เช่น การแยกผู้ป ่ว ย การแยกกัก ผู้ส ัม ผัส
  โรคอัน ตราย การกำา จัด เชื้อ ในแหล่ง นำ้า หรือ
Environment
 สิ่ง ทีเ อื้อ อำา นวยต่อ การดำา รงชีพ
         ่                                การเพิม จำา นวน
                                                ่
  การแพร่ก ระจายของเชือ
                      ้

 เช่น    ... นำ้า ประปาเป็น สื่อ นำา โรค
   –   ทำา ลายหรือ กำา จัด เชื้อ ทัน ทีท ี่อ อกมาจากตัว ผู้
       ป่ว ย
   –   เก็บ กัก สิ่ง ขับ ถ่า ยจากร่า งกายทีป นเปื้อ นเชื้อ
                                              ่
       ไว้ใ นสถานที่ซ ง เชื้อ ไม่ส ามารถแพร่ก ระจาย
                            ึ่
       ได้
การป้อ งกัน โรคที่เ กีย วกับ สิ่ง
                      ่
แวดล้อ ม
 การปรับ ปรุง สุข าภิบ าลสิง แวดล้อ ม
                            ่          :
 จัด การและควบคุม ปัจ จัย ต่า งๆที่อ าจ
 ทำา ให้เ กิด โรค
  –   การควบคุม แมลงนำา โรค เช่น การควบคุม
      ยุง , ลูก นำ้า กำา จัด แหล่ง เพาะพัน ธุ์
  –   การกำา จัด นำ้า เสีย ควรมีร ะบบบำา บัด นำ้า เสีย
      ก่อ นระบายสู่ช ม ชนุ
  –   การกำา จัด อุจ จาระ
  –   การกำา จัด ขยะ
 การจัด การสิง แวดล้อ มในสถานทีท ำา งานให้
              ่                 ่
  สะอาด สะดวก ปลอดภัย
 จัด ผัง เมือ งให้เ หมาะสมและบัง คับ ใช้ใ ห้ไ ด้
  ผล
 การวิศ วกรรมจราจร
 ส่ง เสริม ให้ป ระชาชนใช้ผ ลิต ภัณ ฑ์ท ไ ม่ก อ
                                        ี่    ่
  มลพิษ ให้ส ง แวดล้อ ม
                ิ่
 รัก ษาป่า ไม้ แหล่ง นำ้า และ
  ทรัพ ยากรธรรมชาติ
หลัก การป้อ งกัน และควบคุม
โรคติด ต่อ

1.   การป้อ งกัน โรคล่ว งหน้า : การป้อ งกัน
     ก่อ นระยะที่โ รคเกิด
     -   การป้อ งกัน แบบทัว ไป เช่น ให้ส ุข ศึก ษา
                            ่
     -   การป้อ งกัน แบบเฉพาะอย่า ง เช่น วัค ซีน
     -   การเฝ้า ระวัง โรคทางระบาดวิท ยา :
         ติด ตาม สัง เกตลัก ษณะการเกิด และ
         กระจายของโรค จะทำา ให้ส ามารถค้น พบ
         ลัก ษณะผิด ปกติไ ด้ท น ตั้ง แต่ร ะยะเริ่ม แรก
                              ั
หลัก การป้อ งกัน และควบคุม
โรคติด ต่อ

2. การป้อ งกัน ในระยะมีโ รคเกิด : เพือ ระงับ
                                           ่
  กระบวนการดำา เนิน ของโรค ป้อ งกัน การแพร่
  เชื้อ และระบาดไปสูบ ุค คลอื่น และลดการเจ็บ
                         ่
  ป่ว ยให้น อ ยลง
              ้
  - ค้น หาผู้ป ่ว ยให้ไ ด้ใ นระยะเริ่ม แรก
  - วิน จ ฉัย และให้ก ารรัก ษาทัน ที
          ิ
  - ป้อ งกัน การแพร่เ ชื้อ
  - เพิม ความต้า นทานหรือ ป้อ งกัน โรคให้แ ก่
        ่
  บุค คลหรือ ชุม ชน
หลัก การป้อ งกัน และควบคุม
โรคติด ต่อ

3. การป้อ งกัน หลัง การเกิด โรค : เป็น การ
  ป้อ งกัน การเกิด ความพิก ารและไร้
  สมรรถภาพ
  - กำา จัด ความพิก าร เช่น ใช้ย า ผ่า ตัด
  ใช้อ วัย วะเทีย ม
  - ฟื้น ฟูส ภาพ เช่น กายภาพบำา บัด
  กิจ กรรมบำา บัด ฟื้น ฟูส ภาพจิต ใจ
โรคฟัน ผุ (Dental
                              caries)
    ฟัน ผุ
คือ ..................   ?..........
•   โรคฟัน ผุ             เป็น โรคติด เชื้อ ชนิด
หนึ่ง ซึ่ง เกิด จากการละลายแร่ธ าตุท ี่เ ป็น
องค์ป ระกอบสำา คัญ ของฟัน ออกไป เกิด
ได้ท ี่ผ ว เคลือ บฟัน เนื้อ ฟัน และเคลือ บ
         ิ
รากฟัน

• โรคฟัน ผุ เป็น ภาวะการเสีย
สมดุล ระหว่า ง demineralization
และ remineralization
ปัจ จัย การเกิด โรค
        ฟัน ผุ
     1.Host หรือ ปัจ จัย
     เจ้า บ้า น เช่น ฟัน
     หรือ นำ้า ลาย
     2.Micro-organism
      หรือ เชือ โรค
              ้
     3.Food หรือ อาหาร
     ที่ส ง เสริม ให้เ กิด ฟัน
          ่
     ผุ
1. Host หรือ ปัจ จัย ตัว เจ้า บ้า น


 • ฟัน
 (Tooth)
 • นำ้า ลาย
 (Saliva)
2. Microbial หรือ ปัจ จัย เชื้อ โรค

  –   สัต ว์ท ดลองที่ไ ม่ม ีเ ชือ แบคทีเ รีย ในช่อ งปาก
                                   ้
            ไม่ม ีฟ ัน ผุเ กิด ขึ้น
  –   เมื่อ ให้ย าปฏิช ีว นะแก่ส ัต ว์ท ดลอง
      ช่ว ยลดการเกิด ฟัน ผุไ ด้
  –   ฟัน ที่ย ัง ไม่ข ึ้น มาในช่อ งปาก             จะไม่
      พบฟัน ผุ
  –   เชื้อ แบคทีเ รีย                สามารถทำา ให้เ กิด
      การสูญ เสีย ของแร่ธ าตุใ น
      ฟัน (demineralization)
  –
2. Microbial หรือ ปัจ จัย เชื้อ โรค

   Streptococcus
   •


   mutans (S. Mutans)
   •Lactobacillus
   •Actinomyces
        Mixed Infection
2. Microbial หรือ ปัจ จัย เชื้อ โรค

 เชือ โรคจะเจริญ เติบ โตได้ด ีข ึ้น กับ สภาพ
     ้
  แวดล้อ มที่เ หมาะสม เชือ โรคบางชนิด เจริญ
                            ้
  ได้ด ีใ นที่ม อ อกซิเ จน ในขณะที่บ างชนิด ไม่
                ี
  ชอบออกซิเ จน
 การมีเ ชือ โรคหลายชนิด จะทำา ให้ม ีท ั้ง การ
           ้
  ผลิต กรดและผลิต เอนไซม์บ างชนิด ออกมา
  ทำา ลายฟัน ได้
3. Food หรือ
 อาหาร

ลัก ษณะของอาหาร
    - อาหารทีเ หนีย ว
                 ่
   นุ่ม ติด ฟัน จะทำา ให้
   โรคฟัน ผุม ากกว่า
   อาหารทีม เ ส้น ใย
             ่ ี
    - อาหารพวกแป้ง
   และนำ้า ตาลททำา ให้
   เกิด โรคฟัน ผุ ได้
   มากกว่า อาหารประ
3. Food หรือ
 อาหาร


ความถี่ใ นการรับ ประทาน
    - การกิน อาหาร
   ระหว่า งมือ บ่อ ยๆมี
             ้
   โอกาสเกิด โรคฟัน ผุ
   ได้ง ่า ย
    - การให้เ ด็ก หลับ คา
   ขวดนมก็จ ะมีโ อกาส
4.Time หรือ ระยะเวลา

 –    หมายถึง เวลาที่แ บคทีเ รีย และอาหาร
     สัม ผัส กับ ฟัน
 –    ยิ่ง มีเ วลาในการสัม ผัส กับ ฟัน นานเท่า
     ไหร่ก ็จ ะเพิ่ม โอกาสของการเกิด โรคฟัน
     ผุม ากเท่า นัน้
 –    การทานอาหารบ่อ ยครั้ง ในแต่ล ะวัน ก็
     จะเพิ่ม ระยะเวลาให้แ บคทีเ รีย และ
     อาหารสัม ผัส ฟัน นานขึน โอกาสฟัน ผุก ็
                              ้
ขบวนการเกิดโรคฟันผุ


กระบวนการเกิด  Acquire pellicle
กระบวนการเกิด แผ่น คราบจุล ิน ทรีย ์
 (Plaque)
กระบวนการละลายแร่ธ าตุใ นฟัน
 (Demineralization)
กระบวนการคืน กลับ ของแร่ธ าตุใ นฟัน
 (Remineralization)
กระบวนการละลายแร่ธ าตุใ นฟัน
                    ( Demineralization )

  เชื้อ         แป้ง +          พลัง งาน+      ละลายแร่
จุล ิน ทรี      นำ้า ตาล          กรด          ธาตุใ นฟัน
     ย์
                                  E+Acid




        เชื้อ จุล ิน ทรีย ใ นแผ่น คราบจุล ิน ทรีย ์ จะเอา
                          ์
   นำ้า ตาลกลูโ คสทีก น เข้า ไป
                         ่ ิ
   มาสร้า งเป็น พลัง งานของตนและผลิต กรด lactic
   ออกมาละลายแร่ธ าตุใ นฟัน
Stephan , s
                                 curve




หลัง กิน นำ้า ตาลพบว่า จะมีก ารสร้า งกรดออกมาละลายแร่
ธาตุใ นฟัน
ภายใน 10 นาทีแ รก pH ตำ่า ลงอย่า งรวดเร็ว จากนั้น จะ
ค่อ ยๆเพิ่ม ขึ้น กลับ เป็น ปกติภ ายใน 20 นาที
“โรคฟัน ผุเ ป็น กระบวนการที่
               ผัน กลับ ได้”
           กรด                Ca            ++




PO-
                     Ca++

    กรด
                   กรด             Ca++

Ca++
            กรด      PO-             F-          PO-


       Demineralization              Remineralization

-หลัง จากการเกิด การละลายของแร่ธ าตุข องฟัน แล้ว
พบว่า จะเกิด การคืน กลับ ของแร่ธ าตุ เช่น แคลเซีย ม
ผูท ี่เ สีย งต่อ โรคฟัน ผุส ง ได้แ ก่
  ้       ่                 ู

 มีแ ผ่น คราบจุล ิน ทรีย ป กคลุม ฟัน ซี่ใ ดซี่ห นึง
                          ์                        ่
  มากกว่า 2 ใน 3 ของด้า นฟัน
 มีฟ น ผุเ ป็น รูเ ห็น ชัด เจน
      ั
 มีห ลุม และร่อ งฟัน ลึก
 มีฟ น ผุต ำา แหน่ง ใหม่ใ นเวลา 1 ปี
        ั
 กิน นำ้า ตาลนอกมือ อาหารบ่อ ย
                        ้
การประเมิน ความเสีย งต่อ การเกิด โรค
                  ่
 ฟัน ผุ

 ได้ร ับ รัง สีร ัก ษาหรือ เคมีบ ำา บัด
 ได้ร ับ ยาทีม ผ ลทำา ให้ก ารหลั่ง ของนำ้า ลายน้อ ย
              ่ ี
  ลง
 มีฟ น หน้า ล่า งผุ
      ั
 มีฟ น หน้า บนผุด ้า นประชิด และด้า นริม ฝีป าก
        ั
 มีฟ น กรามและฟัน กรามน้อ ยผุด า นประชิด
          ั                         ้
  หรือ บริเ วณคอฟัน ด้า นข้า งแก้ม และด้า นติด ลิ้น
 จำา นวนฟัน ผุท ม ใ นปากสูง
                  ี่ ี
 การเกิด ฟัน ผุต ำา แหน่ง ใหม่ใ นเวลา 1 ปี
กลยุท ธ์ใ นการป้อ งกัน โรคฟัน ผุ

  การลดปัจจัยหรือสิ่งแวดล้อมทีเอื้อให้เกิดการสลาย
                               ่
   แร่ธาตุ
  กำาจัดแบคทีเรียทีก่อให้เกิดโรคฟันผุ
                    ่
  การควบคุมคราบจุลินทรีย์
  การใช้สารต้านแบคทีเรียทีเหมาะสม เช่น CHX
                              ่
  การปรับพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร
  การใช้นำ้าตาลชนิดทีแบคทีเรียไม่สามารถย่อย
                        ่
   สลายได้ เช่น xylitol
กลยุท ธ์ใ นการป้อ งกัน โรคฟัน ผุ
  เพิ่มความต้านทานของฟันต่อการละลายของกรด
  การใช้สารเคลือบหลุมร่องฟัน
  การใช้ฟลูออไรด์
   –   เพิ่มความต้านทานต่อการสลายแร่ธาตุ (ฟลูออร์อะปา
       ไทต์)
   –   ยับยั้งการสลายแร่ธาตุจากผลึกไฮดรอกซีอะปาไทต์
   –   เร่งกระบวนการคืนกลับแร่ธาตุและซ่อมแซมผลึกเดิมที่
       ถูกทำาลาย กระตุ้นให้เกิดการเพิมแคลเซียมเข้าสู่รอย
                                     ่
       โรคฟันผุได้
ระดับการป้องกันโรค

ระดับการป้องกัน              ปฐมภูมิ            ทุติยภูมิ               ตติยภูมิ


ลำาดับการป้องกัน         1             2            3             4                5

จุดมุ่งเน้นของการ   ส่งเสริมสุข   การใช้       การวินิจฉัย   หยุดยั้ง       ฟืนฟู
                                                                              ้
ป้องกัน             ภาพ           มาตรการที่   โรคให้พบ      ความ           สมรรถ
                                  เจาะจงเป้า   โดยเร็ว       พิการ          ภาพ
                                  หมายและ
                                  การบำาบัด
                                  เบื้องต้น
ระดับ ของการป้อ งกัน ฟัน ผุ

1.   การป้องกันปฐมภูมิ : มุงเน้นการควบคุมการเกิด
                           ่
     โรคในประชากรรายใหม่ โดยการส่งเสริมสุข
     ภาพและการป้องกันทีเจาะจงเป้าหมาย
                         ่
    การใช้ฟลูออไรด์ผสมในนำ้าดื่ม
    การเคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์
    หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารหวานนอกมื้ออาหาร
    การใช้สารอื่นทดแทนการบริโภคนำ้าตาล
    การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟัน
ระดับ ของการป้อ งกัน ฟัน ผุ

2.   การป้องกันทุติยภูมิ : มุงเน้นที่จะลดจำานวน หรือ
                              ่
     ปริมาณของคน หรือซีฟันทีเป็นโรคอยูแล้ว ให้
                            ่     ่         ่
     น้อยลง
    early diagnosis
    การตรวจหาฟันผุโดยใช้การถ่ายภาพรังสี
ระดับ ของการป้อ งกัน ฟัน ผุ

3.   การป้องกันตติยภูมิ : มุ่งเน้นด้านการหยุดยังการ
                                               ้
     ดำาเนินของโรคและฟื้นฟูประสิทธิภาพของอวัยวะ
     ในช่องปาก
    การรักษาคลองรากฟัน  ป้องกันการถอนฟัน
    การใส่ฟัน  ฟื้นฟูสมรรถภาพการเคี้ยวอาหาร
การควบคุม และป้อ งกัน โรคฟัน ผุ

1.ควบคุม ดูแ ลสุข ภาพช่อ งปาก เช่น การแปรงฟัน
  การใช้ไ หมขัด ฟัน การพบทัน ตแพทย์เ ป็น ประจำา
2.เสริม สร้า งความแข็ง แรงให้แ ก่ฟ ัน การให้ฟ ลูอ อ
  ไรด์เ สริม
3.ควบคุม การรับ ประทานอาหาร
4.ป้อ งกัน ฟัน โดยการทำา ให้ร ่อ งฟัน
                         ตื้น ขึ้น (Sealant)
sealant
การควบคุมฟันผุในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง

 ทาฟลูอ อไรด์เ ฉพาะที่        ทุก 3-4 เดือ น และหลีก เลี่ย ง
  ฟลูอ อไรด์ท ม ฤ ทธิ์เ ป็น กรด
                 ี่ ี
 แนะนำา การปรับ พฤติก รรมการบริโ ภคอาหารเพื่อ
  ลดระดับ ความเสี่ย งต่อ การเกิด ฟัน ผุ
 พบทัน ตแพทย์ เพื่อ ตรวจสุข ภาพในช่อ งปากทุก 3-
  4 เดือ น
 จิบ นำ้า บ่อ ยครั้ง เพือ ทำา ให้ป ากชุ่ม ชืน
                          ่                  ้
 เคี้ย วหมากฝรั่ง ทีม น ำ้า ตาลประเภท Xylitol,
                        ่ ี
  Sorbital ซึ่ง เป็น นำ้า ตาล
การควบคุมฟันผุในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง

 ก่อ นการรัก ษา   1 สัป ดาห์ บ้ว นปากด้ว ย
  Chlorhexidine 0.2 % วัน ละ 2 ครั้ง ช่ว ง
  ทีท ำา การรัก ษา 1 เดือ น
    ่
 หลัง จากสิน สุด การฉายรัง สี บ้ว นปากด้ว ย
              ้
  Chlorhexidine 0.1 % วัน ละ 2ครั้ง
 หลัง จากสิน สุด การฉายรัง สี 1 เดือ นขึน ไป
                ้                         ้
  บ้ว นปากด้ว ย Sodium fluoride0.05%หรือ
  225 ppm วัน ละ 1 ครั้ง

Contenu connexe

Tendances

งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
techno UCH
 
محاضرة التوعية للعناية بالأسنان نوفمبر 2013
محاضرة التوعية للعناية بالأسنان نوفمبر 2013محاضرة التوعية للعناية بالأسنان نوفمبر 2013
محاضرة التوعية للعناية بالأسنان نوفمبر 2013
Gamal ElDin Soliman
 
ฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับ
dentyomaraj
 
4 การลับเครื่องมือ สบ 53
4 การลับเครื่องมือ สบ 534 การลับเครื่องมือ สบ 53
4 การลับเครื่องมือ สบ 53
Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
space-maintainers-pedo
space-maintainers-pedospace-maintainers-pedo
space-maintainers-pedo
Parth Thakkar
 

Tendances (20)

ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนมทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
 
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็กอบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอน
 
Sealant
SealantSealant
Sealant
 
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
 
Sealant 2553
Sealant 2553Sealant 2553
Sealant 2553
 
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
 
محاضرة التوعية للعناية بالأسنان نوفمبر 2013
محاضرة التوعية للعناية بالأسنان نوفمبر 2013محاضرة التوعية للعناية بالأسنان نوفمبر 2013
محاضرة التوعية للعناية بالأسنان نوفمبر 2013
 
การทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิชการทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิช
 
ปริทันต์
ปริทันต์ปริทันต์
ปริทันต์
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
 
ฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับ
 
Fixed prosthodontics lesson 1
Fixed prosthodontics lesson 1Fixed prosthodontics lesson 1
Fixed prosthodontics lesson 1
 
4 การลับเครื่องมือ สบ 53
4 การลับเครื่องมือ สบ 534 การลับเครื่องมือ สบ 53
4 การลับเครื่องมือ สบ 53
 
space-maintainers-pedo
space-maintainers-pedospace-maintainers-pedo
space-maintainers-pedo
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 

En vedette

เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟัน
an1030
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
อาม อีฟ
 
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 535 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serwayการสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
Apples Dansirima
 
ทันตกรรมสำหรับคนพิการ โดย อ.ทพญ.มาลี อรุณากูร ม.มหิดล
ทันตกรรมสำหรับคนพิการ โดย อ.ทพญ.มาลี อรุณากูร ม.มหิดลทันตกรรมสำหรับคนพิการ โดย อ.ทพญ.มาลี อรุณากูร ม.มหิดล
ทันตกรรมสำหรับคนพิการ โดย อ.ทพญ.มาลี อรุณากูร ม.มหิดล
Nithimar Or
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
primpatcha
 

En vedette (14)

เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟัน
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
 
เลขบอกซี่ฟัน
เลขบอกซี่ฟันเลขบอกซี่ฟัน
เลขบอกซี่ฟัน
 
9789740332701
97897403327019789740332701
9789740332701
 
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 535 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
 
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serwayการสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
 
การให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุ
การให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุการให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุ
การให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุ
 
ทันตกรรมสำหรับคนพิการ โดย อ.ทพญ.มาลี อรุณากูร ม.มหิดล
ทันตกรรมสำหรับคนพิการ โดย อ.ทพญ.มาลี อรุณากูร ม.มหิดลทันตกรรมสำหรับคนพิการ โดย อ.ทพญ.มาลี อรุณากูร ม.มหิดล
ทันตกรรมสำหรับคนพิการ โดย อ.ทพญ.มาลี อรุณากูร ม.มหิดล
 
Fluoride 2553
Fluoride 2553Fluoride 2553
Fluoride 2553
 
9789740329541
97897403295419789740329541
9789740329541
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 

Similaire à การควบคุมและป้องกันฟันผุ

คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
Adisorn Tanprasert
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
Adisorn Tanprasert
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
Wan Ngamwongwan
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
Loveis1able Khumpuangdee
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
sivapong klongpanich
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
Wan Ngamwongwan
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
pissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
nuting
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
tichana
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
Witsalut Saetae
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
นายสามารถ เฮียงสุข
 

Similaire à การควบคุมและป้องกันฟันผุ (20)

คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
1129
11291129
1129
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 

การควบคุมและป้องกันฟันผุ

  • 2. หลัก การป้อ งกัน และ ควบคุม โรคติด ต่อ คนที่จ ะป่ว ย (host) เชือ สาเหตุ ้ สิง ่ (agent) แวดล้อ ม (environ ment)
  • 3. Host  ภูม ต ้า นทานโรค ิ  พฤติก รรมของโฮสต์ เช่น การทานอาหาร  การย้า ยถิน ่  การป้อ งกัน โรค  ดำา เนิน การไม่ใ ห้โ ฮสต์ไ ด้ร ับ เชือ หรือ ได้ร ับ เชื้อ แต่ไ ม่ป ่ว ยเป็น โรค ทำา ให้ ้ โฮสต์ม ภ ม ต ้า นทานโรค ปรับ เปลี่ย นพฤติก รรม ี ู ิ สุข ภาพ  การควบคุม โรค  ผู้ป ่ว ยต้อ งได้ร ับ การรัก ษา ให้ห ายขาดด้ว ยวิธ ีท เ หมาะสม ี่
  • 4. กลวิธ ีป ้อ งกัน โรคที่เ กี่ย วกับ คน 1. การสร้า งเสริม ภูม ิค ม กัน เฉพาะโรค ุ้  vaccine : สารทีส ร้า งจากเชือ โรค เมือ ให้ ่ ้ ่ เข้า ไปในร่า งกายแล้ว กระตุ้น ให้ร ่า งกายสร้า ง ภูม ค ุ้ม กัน ิ  Toxoids : สร้า งจากพิษ ของแบคทีเ รีย แล้ว นำา มาทำา ให้พ ิษ หมดไป แต่ย ง สามารถกระตุ้น ั ภูม ค ุ้ม กัน ได้ ิ  Antiserum immunoglobulin : แอนติบ อดีท ร ่า งกายสร้า งขึ้น เพือ คุ้ม กัน โรค ี่ ่
  • 5. 2. การสร้า งภูม ิค ม กัน โรคโดยทั่ว ไป ุ้ การส่ง เสริม สุข ภาพให้ส มบูร ณ์ท ั้ง ร่า งกายและจิต ใจ เช่น งานส่ง เสริม โภชนาการ งานสุข ศึก ษา งานอนามัย แม่แ ละเด็ก 3. การลดพฤติก รรมเสีย ง ่ การให้ส ข ศึก ษา จูง ใจให้ป ระชาชน ุ ปรับ เปลี่ย นพฤติก รรมที่เ สีย ง ่
  • 6. Agent  คุณ สมบัต ิเ ฉพาะของเชื้อ  ความสามารถในการทำา ให้โ ฮสต์ต ิด โรค  ความรุน แรงของพยาธิส ภาพทีเ กิด ขึ้น ่  ความคงทนต่อ ยาและสิง แวดล้อ ม ่  การป้อ งกัน และควบคุม โรค  พิจ ารณา เฉพาะโรค และปรับ เปลี่ย นให้เ หมาะสมอยู่ เสมอ เน้น การทำา ลายเชื้อ โรค
  • 7. การป้อ งกัน โรคเกี่ย วกับ สิ่ง ที่ ทำา ให้เ กิด โรค  การวิน จ ฉัย ตั้ง แต่แ รกเริ่ม และรีบ รัก ษา ิ ทัน ที : เพือ ป้อ งกัน ความรุน แรงของโรค ลด ่ อัน ตรายหรือ ความสูญ เสีย จากโรค  การตรวจหาพาหะและให้ก ารรัก ษา : เพือ ่ ป้อ งกัน การแพร่ก ระจายของโรค เช่น การ ตรวจเลือ ด ตรวจอุจ จาระ ตรวจเสมหะ  การควบคุม แหล่ง แพร่โ รค : เพือ ทำา ลายเชือ ่ ้ โรค เช่น การแยกผู้ป ่ว ย การแยกกัก ผู้ส ัม ผัส โรคอัน ตราย การกำา จัด เชื้อ ในแหล่ง นำ้า หรือ
  • 8. Environment  สิ่ง ทีเ อื้อ อำา นวยต่อ การดำา รงชีพ ่ การเพิม จำา นวน ่ การแพร่ก ระจายของเชือ ้  เช่น ... นำ้า ประปาเป็น สื่อ นำา โรค – ทำา ลายหรือ กำา จัด เชื้อ ทัน ทีท ี่อ อกมาจากตัว ผู้ ป่ว ย – เก็บ กัก สิ่ง ขับ ถ่า ยจากร่า งกายทีป นเปื้อ นเชื้อ ่ ไว้ใ นสถานที่ซ ง เชื้อ ไม่ส ามารถแพร่ก ระจาย ึ่ ได้
  • 9. การป้อ งกัน โรคที่เ กีย วกับ สิ่ง ่ แวดล้อ ม  การปรับ ปรุง สุข าภิบ าลสิง แวดล้อ ม ่ : จัด การและควบคุม ปัจ จัย ต่า งๆที่อ าจ ทำา ให้เ กิด โรค – การควบคุม แมลงนำา โรค เช่น การควบคุม ยุง , ลูก นำ้า กำา จัด แหล่ง เพาะพัน ธุ์ – การกำา จัด นำ้า เสีย ควรมีร ะบบบำา บัด นำ้า เสีย ก่อ นระบายสู่ช ม ชนุ – การกำา จัด อุจ จาระ – การกำา จัด ขยะ
  • 10.  การจัด การสิง แวดล้อ มในสถานทีท ำา งานให้ ่ ่ สะอาด สะดวก ปลอดภัย  จัด ผัง เมือ งให้เ หมาะสมและบัง คับ ใช้ใ ห้ไ ด้ ผล  การวิศ วกรรมจราจร  ส่ง เสริม ให้ป ระชาชนใช้ผ ลิต ภัณ ฑ์ท ไ ม่ก อ ี่ ่ มลพิษ ให้ส ง แวดล้อ ม ิ่  รัก ษาป่า ไม้ แหล่ง นำ้า และ ทรัพ ยากรธรรมชาติ
  • 11. หลัก การป้อ งกัน และควบคุม โรคติด ต่อ 1. การป้อ งกัน โรคล่ว งหน้า : การป้อ งกัน ก่อ นระยะที่โ รคเกิด - การป้อ งกัน แบบทัว ไป เช่น ให้ส ุข ศึก ษา ่ - การป้อ งกัน แบบเฉพาะอย่า ง เช่น วัค ซีน - การเฝ้า ระวัง โรคทางระบาดวิท ยา : ติด ตาม สัง เกตลัก ษณะการเกิด และ กระจายของโรค จะทำา ให้ส ามารถค้น พบ ลัก ษณะผิด ปกติไ ด้ท น ตั้ง แต่ร ะยะเริ่ม แรก ั
  • 12. หลัก การป้อ งกัน และควบคุม โรคติด ต่อ 2. การป้อ งกัน ในระยะมีโ รคเกิด : เพือ ระงับ ่ กระบวนการดำา เนิน ของโรค ป้อ งกัน การแพร่ เชื้อ และระบาดไปสูบ ุค คลอื่น และลดการเจ็บ ่ ป่ว ยให้น อ ยลง ้ - ค้น หาผู้ป ่ว ยให้ไ ด้ใ นระยะเริ่ม แรก - วิน จ ฉัย และให้ก ารรัก ษาทัน ที ิ - ป้อ งกัน การแพร่เ ชื้อ - เพิม ความต้า นทานหรือ ป้อ งกัน โรคให้แ ก่ ่ บุค คลหรือ ชุม ชน
  • 13. หลัก การป้อ งกัน และควบคุม โรคติด ต่อ 3. การป้อ งกัน หลัง การเกิด โรค : เป็น การ ป้อ งกัน การเกิด ความพิก ารและไร้ สมรรถภาพ - กำา จัด ความพิก าร เช่น ใช้ย า ผ่า ตัด ใช้อ วัย วะเทีย ม - ฟื้น ฟูส ภาพ เช่น กายภาพบำา บัด กิจ กรรมบำา บัด ฟื้น ฟูส ภาพจิต ใจ
  • 14. โรคฟัน ผุ (Dental caries) ฟัน ผุ คือ .................. ?..........
  • 15. โรคฟัน ผุ เป็น โรคติด เชื้อ ชนิด หนึ่ง ซึ่ง เกิด จากการละลายแร่ธ าตุท ี่เ ป็น องค์ป ระกอบสำา คัญ ของฟัน ออกไป เกิด ได้ท ี่ผ ว เคลือ บฟัน เนื้อ ฟัน และเคลือ บ ิ รากฟัน • โรคฟัน ผุ เป็น ภาวะการเสีย สมดุล ระหว่า ง demineralization และ remineralization
  • 16. ปัจ จัย การเกิด โรค ฟัน ผุ 1.Host หรือ ปัจ จัย เจ้า บ้า น เช่น ฟัน หรือ นำ้า ลาย 2.Micro-organism หรือ เชือ โรค ้ 3.Food หรือ อาหาร ที่ส ง เสริม ให้เ กิด ฟัน ่ ผุ
  • 17. 1. Host หรือ ปัจ จัย ตัว เจ้า บ้า น • ฟัน (Tooth) • นำ้า ลาย (Saliva)
  • 18. 2. Microbial หรือ ปัจ จัย เชื้อ โรค – สัต ว์ท ดลองที่ไ ม่ม ีเ ชือ แบคทีเ รีย ในช่อ งปาก ้ ไม่ม ีฟ ัน ผุเ กิด ขึ้น – เมื่อ ให้ย าปฏิช ีว นะแก่ส ัต ว์ท ดลอง ช่ว ยลดการเกิด ฟัน ผุไ ด้ – ฟัน ที่ย ัง ไม่ข ึ้น มาในช่อ งปาก จะไม่ พบฟัน ผุ – เชื้อ แบคทีเ รีย สามารถทำา ให้เ กิด การสูญ เสีย ของแร่ธ าตุใ น ฟัน (demineralization) –
  • 19. 2. Microbial หรือ ปัจ จัย เชื้อ โรค Streptococcus • mutans (S. Mutans) •Lactobacillus •Actinomyces Mixed Infection
  • 20. 2. Microbial หรือ ปัจ จัย เชื้อ โรค  เชือ โรคจะเจริญ เติบ โตได้ด ีข ึ้น กับ สภาพ ้ แวดล้อ มที่เ หมาะสม เชือ โรคบางชนิด เจริญ ้ ได้ด ีใ นที่ม อ อกซิเ จน ในขณะที่บ างชนิด ไม่ ี ชอบออกซิเ จน  การมีเ ชือ โรคหลายชนิด จะทำา ให้ม ีท ั้ง การ ้ ผลิต กรดและผลิต เอนไซม์บ างชนิด ออกมา ทำา ลายฟัน ได้
  • 21. 3. Food หรือ อาหาร ลัก ษณะของอาหาร - อาหารทีเ หนีย ว ่ นุ่ม ติด ฟัน จะทำา ให้ โรคฟัน ผุม ากกว่า อาหารทีม เ ส้น ใย ่ ี - อาหารพวกแป้ง และนำ้า ตาลททำา ให้ เกิด โรคฟัน ผุ ได้ มากกว่า อาหารประ
  • 22. 3. Food หรือ อาหาร ความถี่ใ นการรับ ประทาน - การกิน อาหาร ระหว่า งมือ บ่อ ยๆมี ้ โอกาสเกิด โรคฟัน ผุ ได้ง ่า ย - การให้เ ด็ก หลับ คา ขวดนมก็จ ะมีโ อกาส
  • 23. 4.Time หรือ ระยะเวลา – หมายถึง เวลาที่แ บคทีเ รีย และอาหาร สัม ผัส กับ ฟัน – ยิ่ง มีเ วลาในการสัม ผัส กับ ฟัน นานเท่า ไหร่ก ็จ ะเพิ่ม โอกาสของการเกิด โรคฟัน ผุม ากเท่า นัน้ – การทานอาหารบ่อ ยครั้ง ในแต่ล ะวัน ก็ จะเพิ่ม ระยะเวลาให้แ บคทีเ รีย และ อาหารสัม ผัส ฟัน นานขึน โอกาสฟัน ผุก ็ ้
  • 24. ขบวนการเกิดโรคฟันผุ กระบวนการเกิด Acquire pellicle กระบวนการเกิด แผ่น คราบจุล ิน ทรีย ์ (Plaque) กระบวนการละลายแร่ธ าตุใ นฟัน (Demineralization) กระบวนการคืน กลับ ของแร่ธ าตุใ นฟัน (Remineralization)
  • 25. กระบวนการละลายแร่ธ าตุใ นฟัน ( Demineralization ) เชื้อ แป้ง + พลัง งาน+ ละลายแร่ จุล ิน ทรี นำ้า ตาล กรด ธาตุใ นฟัน ย์ E+Acid เชื้อ จุล ิน ทรีย ใ นแผ่น คราบจุล ิน ทรีย ์ จะเอา ์ นำ้า ตาลกลูโ คสทีก น เข้า ไป ่ ิ มาสร้า งเป็น พลัง งานของตนและผลิต กรด lactic ออกมาละลายแร่ธ าตุใ นฟัน
  • 26. Stephan , s curve หลัง กิน นำ้า ตาลพบว่า จะมีก ารสร้า งกรดออกมาละลายแร่ ธาตุใ นฟัน ภายใน 10 นาทีแ รก pH ตำ่า ลงอย่า งรวดเร็ว จากนั้น จะ ค่อ ยๆเพิ่ม ขึ้น กลับ เป็น ปกติภ ายใน 20 นาที
  • 27. “โรคฟัน ผุเ ป็น กระบวนการที่ ผัน กลับ ได้” กรด Ca ++ PO- Ca++ กรด กรด Ca++ Ca++ กรด PO- F- PO- Demineralization Remineralization -หลัง จากการเกิด การละลายของแร่ธ าตุข องฟัน แล้ว พบว่า จะเกิด การคืน กลับ ของแร่ธ าตุ เช่น แคลเซีย ม
  • 28. ผูท ี่เ สีย งต่อ โรคฟัน ผุส ง ได้แ ก่ ้ ่ ู  มีแ ผ่น คราบจุล ิน ทรีย ป กคลุม ฟัน ซี่ใ ดซี่ห นึง ์ ่ มากกว่า 2 ใน 3 ของด้า นฟัน  มีฟ น ผุเ ป็น รูเ ห็น ชัด เจน ั  มีห ลุม และร่อ งฟัน ลึก  มีฟ น ผุต ำา แหน่ง ใหม่ใ นเวลา 1 ปี ั  กิน นำ้า ตาลนอกมือ อาหารบ่อ ย ้
  • 29. การประเมิน ความเสีย งต่อ การเกิด โรค ่ ฟัน ผุ  ได้ร ับ รัง สีร ัก ษาหรือ เคมีบ ำา บัด  ได้ร ับ ยาทีม ผ ลทำา ให้ก ารหลั่ง ของนำ้า ลายน้อ ย ่ ี ลง  มีฟ น หน้า ล่า งผุ ั  มีฟ น หน้า บนผุด ้า นประชิด และด้า นริม ฝีป าก ั  มีฟ น กรามและฟัน กรามน้อ ยผุด า นประชิด ั ้ หรือ บริเ วณคอฟัน ด้า นข้า งแก้ม และด้า นติด ลิ้น  จำา นวนฟัน ผุท ม ใ นปากสูง ี่ ี  การเกิด ฟัน ผุต ำา แหน่ง ใหม่ใ นเวลา 1 ปี
  • 30.
  • 31. กลยุท ธ์ใ นการป้อ งกัน โรคฟัน ผุ  การลดปัจจัยหรือสิ่งแวดล้อมทีเอื้อให้เกิดการสลาย ่ แร่ธาตุ  กำาจัดแบคทีเรียทีก่อให้เกิดโรคฟันผุ ่  การควบคุมคราบจุลินทรีย์  การใช้สารต้านแบคทีเรียทีเหมาะสม เช่น CHX ่  การปรับพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร  การใช้นำ้าตาลชนิดทีแบคทีเรียไม่สามารถย่อย ่ สลายได้ เช่น xylitol
  • 32. กลยุท ธ์ใ นการป้อ งกัน โรคฟัน ผุ  เพิ่มความต้านทานของฟันต่อการละลายของกรด  การใช้สารเคลือบหลุมร่องฟัน  การใช้ฟลูออไรด์ – เพิ่มความต้านทานต่อการสลายแร่ธาตุ (ฟลูออร์อะปา ไทต์) – ยับยั้งการสลายแร่ธาตุจากผลึกไฮดรอกซีอะปาไทต์ – เร่งกระบวนการคืนกลับแร่ธาตุและซ่อมแซมผลึกเดิมที่ ถูกทำาลาย กระตุ้นให้เกิดการเพิมแคลเซียมเข้าสู่รอย ่ โรคฟันผุได้
  • 33. ระดับการป้องกันโรค ระดับการป้องกัน ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ ลำาดับการป้องกัน 1 2 3 4 5 จุดมุ่งเน้นของการ ส่งเสริมสุข การใช้ การวินิจฉัย หยุดยั้ง ฟืนฟู ้ ป้องกัน ภาพ มาตรการที่ โรคให้พบ ความ สมรรถ เจาะจงเป้า โดยเร็ว พิการ ภาพ หมายและ การบำาบัด เบื้องต้น
  • 34. ระดับ ของการป้อ งกัน ฟัน ผุ 1. การป้องกันปฐมภูมิ : มุงเน้นการควบคุมการเกิด ่ โรคในประชากรรายใหม่ โดยการส่งเสริมสุข ภาพและการป้องกันทีเจาะจงเป้าหมาย ่  การใช้ฟลูออไรด์ผสมในนำ้าดื่ม  การเคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์  หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารหวานนอกมื้ออาหาร  การใช้สารอื่นทดแทนการบริโภคนำ้าตาล  การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟัน
  • 35. ระดับ ของการป้อ งกัน ฟัน ผุ 2. การป้องกันทุติยภูมิ : มุงเน้นที่จะลดจำานวน หรือ ่ ปริมาณของคน หรือซีฟันทีเป็นโรคอยูแล้ว ให้ ่ ่ ่ น้อยลง  early diagnosis  การตรวจหาฟันผุโดยใช้การถ่ายภาพรังสี
  • 36. ระดับ ของการป้อ งกัน ฟัน ผุ 3. การป้องกันตติยภูมิ : มุ่งเน้นด้านการหยุดยังการ ้ ดำาเนินของโรคและฟื้นฟูประสิทธิภาพของอวัยวะ ในช่องปาก  การรักษาคลองรากฟัน  ป้องกันการถอนฟัน  การใส่ฟัน  ฟื้นฟูสมรรถภาพการเคี้ยวอาหาร
  • 37. การควบคุม และป้อ งกัน โรคฟัน ผุ 1.ควบคุม ดูแ ลสุข ภาพช่อ งปาก เช่น การแปรงฟัน การใช้ไ หมขัด ฟัน การพบทัน ตแพทย์เ ป็น ประจำา 2.เสริม สร้า งความแข็ง แรงให้แ ก่ฟ ัน การให้ฟ ลูอ อ ไรด์เ สริม 3.ควบคุม การรับ ประทานอาหาร 4.ป้อ งกัน ฟัน โดยการทำา ให้ร ่อ งฟัน ตื้น ขึ้น (Sealant)
  • 39. การควบคุมฟันผุในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง  ทาฟลูอ อไรด์เ ฉพาะที่ ทุก 3-4 เดือ น และหลีก เลี่ย ง ฟลูอ อไรด์ท ม ฤ ทธิ์เ ป็น กรด ี่ ี  แนะนำา การปรับ พฤติก รรมการบริโ ภคอาหารเพื่อ ลดระดับ ความเสี่ย งต่อ การเกิด ฟัน ผุ  พบทัน ตแพทย์ เพื่อ ตรวจสุข ภาพในช่อ งปากทุก 3- 4 เดือ น  จิบ นำ้า บ่อ ยครั้ง เพือ ทำา ให้ป ากชุ่ม ชืน ่ ้  เคี้ย วหมากฝรั่ง ทีม น ำ้า ตาลประเภท Xylitol, ่ ี Sorbital ซึ่ง เป็น นำ้า ตาล
  • 40. การควบคุมฟันผุในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง  ก่อ นการรัก ษา 1 สัป ดาห์ บ้ว นปากด้ว ย Chlorhexidine 0.2 % วัน ละ 2 ครั้ง ช่ว ง ทีท ำา การรัก ษา 1 เดือ น ่  หลัง จากสิน สุด การฉายรัง สี บ้ว นปากด้ว ย ้ Chlorhexidine 0.1 % วัน ละ 2ครั้ง  หลัง จากสิน สุด การฉายรัง สี 1 เดือ นขึน ไป ้ ้ บ้ว นปากด้ว ย Sodium fluoride0.05%หรือ 225 ppm วัน ละ 1 ครั้ง