SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
Télécharger pour lire hors ligne
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
 ยาในผู้ป่วยในที่มีการทางานของไตลดลง

                         ภก.รชานนท์ หิรัญวงษ์
                             27 สิงหาคม 2555
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
 • มีการสั่งใช้ยาในขนาดสาหรับผู้ป่วยที่มีการทางานของ
   ไตปกติในผู้ป่วยในที่มีการทางานของไตลดลง ซึ่งเป็น
   ขนาดที่สูงเกินไป
 • เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการ
   ใช้ยา ทาให้การทางานของไตแย่ลง ทาให้สิ้นเปลืองยา
   และบุคลากรที่ใช้ในการเตรียมยาบริหารยา
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ (ต่อ)
 จากการสารวจการใช้ยาในผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วยอายุ
   รกรรมหญิงในเดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2554
 • พบว่าผู้ป่วยที่มีการทางานของไตลดลงได้รับขนาดยาที่
   เหมาะสมกับการทางานของไตเพียงร้อยละ 57
 • สาเหตุของปัญหานี้อาจเกิดจากการที่แพทย์ประจาหอผู้ป่วย
   ไม่ได้รับข้อมูลค่าการทางานของไตของผู้ป่วย และขนาดยาที่
   เหมาะสม ขณะตรวจรักษาผู้ป่วย
เป้าหมาย
 1. เพื่อให้ผู้ป่วยในที่มีการทางานของไตลดลงได้รับขนาด
    ยาที่เหมาะสมกับการทางานของไตไม่น้อยกว่าร้อยละ
    80
 2. เพื่อศึกษาค่าใช้จ่ายทางตรงที่สามารถประหยัดได้จาก
    การปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับการทางานของไต
กิจกรรมการพัฒนา
 • รวบรวมข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทางานของ
   ไตของยาทุกตัวในโรงพยาบาลและจัดทาเป็นคู่มือ
   สาหรับให้ข้อมูลกับแพทย์
กิจกรรมการพัฒนา
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
 • สืบค้นสูตรสาหรับคานวณค่าการทางานของไตที่มี
   ความเหมาะสม และมีหลักฐานยืนยันว่าสามารถ
   นามาใช้กับข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทางาน
   ของไตที่ลดลงที่รวบรวมมา พร้อมกับสร้างเครื่องมือ
   ช่วยคานวณ
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
 • สร้างแบบบันทึกสาหรับใช้ในการติดตามการสั่งใช้ยา
   ติดตามค่าการทางานของไตของผู้ป่วย และบันทึกผล
   หลังจากการให้ข้อมูลกับแพทย์
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
 • กาหนดแนวทางการติดตาม การให้ข้อมูล และอบรม
   เภสัชกรประจางานบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยใน
 • ติดตามการสั่งใช้ยาในผู้ป่วยในทุกรายที่เข้าเงื่อนไข
 • เมื่อพบการสั่งใข้ยาที่ต้องมีการปรับขนาดยา จึง
   ดาเนินการให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์เพื่อปรับขนาด
   ยาให้เหมาะสมและดาเนินการติดตามต่อเนื่องจน
   ผู้ป่วยถูกจาหน่ายออกจากโรงพยาบาล
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง
                                 ผู ้ป่ วยทีได ้รั บการติดตาม
                                            ่                     ผู ้ป่ วยทีจาเป็ นต ้องได ้รั บการปรั บขนาดยาใหเหมาะสม
                                                                             ่                                    ้

 350
                                                                                                            316
                                    291          297                                             295
 300                     279                                                                                               283     280
                                                                255                  258                                                    262
                 246                                                      249
 250


 200


 150


 100   85                                84
                   59                                62           66                                            63
                           58                                                 55         56          52
                                                                                                                             41       44      45
  50
            23

  0
       กค 54*    สค 54   กย 54      ตค 54        พย 54          ธค 54     มค 55       กพ 55      มีค 55     เมย 55         พค 55   มิย 55   กค 55




             ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับ
            การทางานของไตที่ลดลงเฉลี่ยเดือนละ 57 ราย (ร้อยละ 21)
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)
 100

 90                  86                                                                                        85
                                                                                           85
                               81        82                                                          83
                                                                                 80
 80                                                77
                                                             74        75                                                          76
                                                                                                                         73
 70
                                    60
 60    57


 50                                                                                                                                     ก่อนใหข ้อมูล
                                                                                                                                              ้
                                                                                      44
                42                                                                                                                      หลังใหข ้อมูล
                                                                                                                                              ้
                                              39        38                                      38
 40                       36
                                                                  33        34
                                                                                                                              31
                                                                                                          29
 30                                                                                                                 27


 20

 10


  0
       กค 54*   สค 54     กย 54     ตค 54     พย 54     ธค 54     มค 55     กพ 55     มีค 55    เมย 55    พค 55     มิย 55    กค 55




   สัดส่วนของการได้รับขนาดยาที่เหมาะสมก่อนและหลังให้ข้อมูลขนาด
   ยา และปรึกษาแพทย์ เท่ากับร้อยละ 38 และ ร้อยละ 80 ตามลาดับ
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)
 100    96                                              93      91                92               95
                                                85                       88
  90            84      83                                                                83
                                80
  80                                    75
  70
  60
  50
  40
  30
  20
  10
  0
       สค 54   กย 54   ตค 54   พย 54   ธค 54   มค 55   กพ 55   มีค 55   เมย 55   พค 55   มิย 55   กค 55




อัตราการยอมรับคาปรึกษา (Acceptance rate) ร้อยละ 87
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)
  • ประหยัดค่ายาได้ 16,235.5 บาทต่อ 1 เดือน เมื่อ
    อนุมานเป็นค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ต่อ 1 ปี จะได้
    ประมาณ 194,826 บาท
  • เมื่อคิดชั่วโมงทางานของเภสัชกรที่ทางานนี้ 22
    วัน * 4 ชั่วโมง = 88 ชั่วโมง/เดือน จะได้ค่าใช้จ่าย
    ทางตรงที่ประหยัดได้เมื่อเทียบกับชั่วโมงทางาน
    ของเภสัชกรเท่ากับ 184.5 บาท/ชั่วโมง
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)
ตารางแสดงรายการยาทีทาการปรึกษาแพทย์เรียงตามค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ เดือนสิงหาคม 2554
                   ่

           ลาดับ              ยา               ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ (บาท)


            1            Meropenem                       11,970
            2             Ceftazidime                    1,980
            3           Ranitidine inj.                    824
            4             Enoxaparin                       600
            5           Clarithromycin                    331.5
บทเรียนที่ได้รับ
  • การให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์ผ่านการพูดคุยโดยตรงจะมี
    อัตราการยอมรับคาปรึกษามากกว่าการให้ข้อมูลและปรึกษา
    ผ่านการเขียนบันทึกทางเภสัชกรรม (pharmacist note)
  • การปรับขนาดยาไม่ควรดูค่าการทางานของไตในปัจจุบัน
    เพียงอย่างเดียว เพราะถ้าเน้นการปรับขนาดยาเพียงอย่าง
    เดียวอาจทาให้ผู้ป่วยได้รับยาไม่เพียงพอ จนส่งผลต่อการ
    รักษาได้
บทเรียนที่ได้รับ (ต่อ)
  • การดาเนินการที่ไม่เป็นไปในทางเดียวกันของเภสัชกรที่ทา
    การให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์ อาจส่งผลต่อความเชื่อถือ
    และการยอมรับคาปรึกษาของแพทย์ได้ จึงควรมีการ
    ทบทวนเมื่อพบปัญหาที่เกิดจากสาเหตุนี้ทุกครั้ง
  • แบบบันทึกและข้อมูลขนาดยาควรมีการทบทวนเป็นระยะ
    เพื่อให้เหมาะสมกับการทางานและปัญหาที่พบหลังจาก
    ดาเนินการไปแล้ว
บทเรียนที่ได้รับ (ต่อ)
  • การปรับขนาดยาให้เหมาะสมนอกจากช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
    ทางตรงคือ มูลค่ายาได้แล้ว ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการ
    เตรียมและบริหารยา และค่าใช้จ่ายทางอ้อมคือค่าใช้จ่ายใน
    การรักษาอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการได้รับยาในขนาด
    ที่สูงเกิน ดังนั้นจึงควรมีการเก็บข้อมูลดังกล่าวเพิ่มเติมเพื่อ
    สะท้อนค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ทั้งหมด
ขอบคุณครับ

Contenu connexe

En vedette

หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
Rachanont Hiranwong
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
Rachanont Hiranwong
 

En vedette (20)

การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication Reconciliation
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 

Plus de Rachanont Hiranwong

ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
Rachanont Hiranwong
 

Plus de Rachanont Hiranwong (12)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
Food allergy slide2
Food allergy slide2Food allergy slide2
Food allergy slide2
 
Food allergy slide
Food allergy slideFood allergy slide
Food allergy slide
 

นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด

  • 2. ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ • มีการสั่งใช้ยาในขนาดสาหรับผู้ป่วยที่มีการทางานของ ไตปกติในผู้ป่วยในที่มีการทางานของไตลดลง ซึ่งเป็น ขนาดที่สูงเกินไป • เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการ ใช้ยา ทาให้การทางานของไตแย่ลง ทาให้สิ้นเปลืองยา และบุคลากรที่ใช้ในการเตรียมยาบริหารยา
  • 3. ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ (ต่อ) จากการสารวจการใช้ยาในผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วยอายุ รกรรมหญิงในเดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2554 • พบว่าผู้ป่วยที่มีการทางานของไตลดลงได้รับขนาดยาที่ เหมาะสมกับการทางานของไตเพียงร้อยละ 57 • สาเหตุของปัญหานี้อาจเกิดจากการที่แพทย์ประจาหอผู้ป่วย ไม่ได้รับข้อมูลค่าการทางานของไตของผู้ป่วย และขนาดยาที่ เหมาะสม ขณะตรวจรักษาผู้ป่วย
  • 4. เป้าหมาย 1. เพื่อให้ผู้ป่วยในที่มีการทางานของไตลดลงได้รับขนาด ยาที่เหมาะสมกับการทางานของไตไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เพื่อศึกษาค่าใช้จ่ายทางตรงที่สามารถประหยัดได้จาก การปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับการทางานของไต
  • 5. กิจกรรมการพัฒนา • รวบรวมข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทางานของ ไตของยาทุกตัวในโรงพยาบาลและจัดทาเป็นคู่มือ สาหรับให้ข้อมูลกับแพทย์
  • 7. กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) • สืบค้นสูตรสาหรับคานวณค่าการทางานของไตที่มี ความเหมาะสม และมีหลักฐานยืนยันว่าสามารถ นามาใช้กับข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทางาน ของไตที่ลดลงที่รวบรวมมา พร้อมกับสร้างเครื่องมือ ช่วยคานวณ
  • 9. กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) • สร้างแบบบันทึกสาหรับใช้ในการติดตามการสั่งใช้ยา ติดตามค่าการทางานของไตของผู้ป่วย และบันทึกผล หลังจากการให้ข้อมูลกับแพทย์
  • 10. กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) • กาหนดแนวทางการติดตาม การให้ข้อมูล และอบรม เภสัชกรประจางานบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยใน • ติดตามการสั่งใช้ยาในผู้ป่วยในทุกรายที่เข้าเงื่อนไข • เมื่อพบการสั่งใข้ยาที่ต้องมีการปรับขนาดยา จึง ดาเนินการให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์เพื่อปรับขนาด ยาให้เหมาะสมและดาเนินการติดตามต่อเนื่องจน ผู้ป่วยถูกจาหน่ายออกจากโรงพยาบาล
  • 12. การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ผู ้ป่ วยทีได ้รั บการติดตาม ่ ผู ้ป่ วยทีจาเป็ นต ้องได ้รั บการปรั บขนาดยาใหเหมาะสม ่ ้ 350 316 291 297 295 300 279 283 280 255 258 262 246 249 250 200 150 100 85 84 59 62 66 63 58 55 56 52 41 44 45 50 23 0 กค 54* สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55 ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับ การทางานของไตที่ลดลงเฉลี่ยเดือนละ 57 ราย (ร้อยละ 21)
  • 13. การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 100 90 86 85 85 81 82 83 80 80 77 74 75 76 73 70 60 60 57 50 ก่อนใหข ้อมูล ้ 44 42 หลังใหข ้อมูล ้ 39 38 38 40 36 33 34 31 29 30 27 20 10 0 กค 54* สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55 สัดส่วนของการได้รับขนาดยาที่เหมาะสมก่อนและหลังให้ข้อมูลขนาด ยา และปรึกษาแพทย์ เท่ากับร้อยละ 38 และ ร้อยละ 80 ตามลาดับ
  • 14. การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 100 96 93 91 92 95 85 88 90 84 83 83 80 80 75 70 60 50 40 30 20 10 0 สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55 อัตราการยอมรับคาปรึกษา (Acceptance rate) ร้อยละ 87
  • 15. การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) • ประหยัดค่ายาได้ 16,235.5 บาทต่อ 1 เดือน เมื่อ อนุมานเป็นค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ต่อ 1 ปี จะได้ ประมาณ 194,826 บาท • เมื่อคิดชั่วโมงทางานของเภสัชกรที่ทางานนี้ 22 วัน * 4 ชั่วโมง = 88 ชั่วโมง/เดือน จะได้ค่าใช้จ่าย ทางตรงที่ประหยัดได้เมื่อเทียบกับชั่วโมงทางาน ของเภสัชกรเท่ากับ 184.5 บาท/ชั่วโมง
  • 17. บทเรียนที่ได้รับ • การให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์ผ่านการพูดคุยโดยตรงจะมี อัตราการยอมรับคาปรึกษามากกว่าการให้ข้อมูลและปรึกษา ผ่านการเขียนบันทึกทางเภสัชกรรม (pharmacist note) • การปรับขนาดยาไม่ควรดูค่าการทางานของไตในปัจจุบัน เพียงอย่างเดียว เพราะถ้าเน้นการปรับขนาดยาเพียงอย่าง เดียวอาจทาให้ผู้ป่วยได้รับยาไม่เพียงพอ จนส่งผลต่อการ รักษาได้
  • 18. บทเรียนที่ได้รับ (ต่อ) • การดาเนินการที่ไม่เป็นไปในทางเดียวกันของเภสัชกรที่ทา การให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์ อาจส่งผลต่อความเชื่อถือ และการยอมรับคาปรึกษาของแพทย์ได้ จึงควรมีการ ทบทวนเมื่อพบปัญหาที่เกิดจากสาเหตุนี้ทุกครั้ง • แบบบันทึกและข้อมูลขนาดยาควรมีการทบทวนเป็นระยะ เพื่อให้เหมาะสมกับการทางานและปัญหาที่พบหลังจาก ดาเนินการไปแล้ว
  • 19. บทเรียนที่ได้รับ (ต่อ) • การปรับขนาดยาให้เหมาะสมนอกจากช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ทางตรงคือ มูลค่ายาได้แล้ว ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการ เตรียมและบริหารยา และค่าใช้จ่ายทางอ้อมคือค่าใช้จ่ายใน การรักษาอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการได้รับยาในขนาด ที่สูงเกิน ดังนั้นจึงควรมีการเก็บข้อมูลดังกล่าวเพิ่มเติมเพื่อ สะท้อนค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ทั้งหมด