SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
Télécharger pour lire hors ligne
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยา
   ในผู้ป่วยในที่มีการทํางานของไตลดลง

                         ภก.รชานนท์ หิรัญวงษ์
                             28 ธันวาคม 2555
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
 • มีการสั่งใช้ยาในขนาดสําหรับผู้ป่วยที่มีการทํางานของ
   ไตปกติในผู้ป่วยในที่มีการทํางานของไตลดลง ซึ่งเป็น
   ขนาดที่สูงเกินไป
 • เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการ
   ใช้ยา ทําให้การทํางานของไตแย่ลง ทําให้สิ้นเปลืองยา
   และบุคลากรที่ใช้ในการเตรียมยาบริหารยา
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ (ต่อ)
 จากการสํารวจการใช้ยาในผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วย
   อายุรกรรมหญิงในเดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2554
 • พบว่าผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตลดลงได้รับขนาดยาที่
   เหมาะสมกับการทํางานของไตเพียงร้อยละ 57
 • สาเหตุของปัญหานี้อาจเกิดจากการที่แพทย์ประจําหอผู้ป่วย
   ไม่ได้รับข้อมูลค่าการทํางานของไตของผู้ป่วย และขนาดยาที่
   เหมาะสม ขณะตรวจรักษาผู้ป่วย
เป้าหมาย
 1. เพื่อให้ผู้ป่วยในที่มีการทํางานของไตลดลงได้รับขนาดยา
    ที่เหมาะสมกับการทํางานของไตไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
 2. เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของค่าการทํางาน
    ของไตในกลุ่มผู้ที่ได้รบและผู้ที่ไม่ได้รับการปรับขนาดยา
                           ั
    ให้เหมาะสมกับการทํางานของไตที่ลดลง
กิจกรรมการพัฒนา
 • รวบรวมข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางานของ
   ไตของยาทุกตัวในโรงพยาบาลและจัดทําเป็นคู่มือ
   สําหรับให้ข้อมูลกับแพทย์
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
 • สืบค้นสูตรสําหรับคํานวณค่าการทํางานของไตที่มี
   ความเหมาะสม และมีหลักฐานยืนยันว่าสามารถ
   นํามาใช้กับข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางาน
   ของไตที่ลดลงที่รวบรวมมา พร้อมกับสร้างเครื่องมือ
   ช่วยคํานวณ
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
 • สร้างแบบบันทึกสําหรับใช้ในการติดตามการสั่งใช้ยา
   ติดตามค่าการทํางานของไตของผู้ป่วย และบันทึกผล
   หลังจากการให้ข้อมูลกับแพทย์
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
 • กําหนดแนวทางการติดตาม การให้ข้อมูล และอบรม
   เภสัชกรประจํางานบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยใน
 • ติดตามการสั่งใช้ยาในผู้ปวยในทุกรายที่เข้าเงื่อนไข
                             ่
 • เมื่อพบการสั่งใช้ยาที่ต้องมีการปรับขนาดยา จึง
   ดําเนินการให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์เพื่อปรับขนาด
   ยาให้เหมาะสมและดําเนินการติดตามต่อเนื่องจน
   ผู้ป่วยถูกจําหน่ายออกจากโรงพยาบาล
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ)
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง
                                 ผูปวยที่ไดร ับการติดตาม     ผูปวยที่จําเปนตองไดร ับการปรับขนาดยาใหเหมาะสม

 350
                                                                                                        316
                                    291         297                                          295
 300                     279                                                                                          283     280
                                                              255                 258                                                  262
                 246                                                   249
 250


 200


 150


 100   85                               84
                   59                               62          66                                          63
                           58                                              55         56         52
                                                                                                                        41       44      45
  50
            23

  0
       กค 54*    สค 54   กย 54      ตค 54       พย 54         ธค 54     มค 55      กพ 55     มีค 55     เมย 55        พค 55   มิย 55   กค 55




             ผู้ป่วยที่จําเป็นต้องได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับ
            การทํางานของไตที่ลดลงเฉลี่ยเดือนละ 57 ราย (ร้อยละ 21)
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)
 100

 90                  86                                                                                        85
                                                                                           85
                               81        82                                                          83
                                                                                 80
 80                                                77
                                                             74        75                                                          76
                                                                                                                         73
 70
                                    60
 60    57


 50                                                                                                                                     กอนใหขอมูล
                                                                                      44
                42                                                                                                                      หลังใหขอมูล
                                              39        38                                      38
 40                       36
                                                                  33        34
                                                                                                                              31
                                                                                                          29
 30                                                                                                                 27


 20


 10

  0
       กค 54*   สค 54     กย 54     ตค 54     พย 54     ธค 54     มค 55     กพ 55     มีค 55    เมย 55    พค 55     มิย 55    กค 55




   สัดส่วนของการได้รับขนาดยาที่เหมาะสมก่อนและหลังให้ข้อมูลขนาด
   ยา และปรึกษาแพทย์ เท่ากับร้อยละ 38 และ ร้อยละ 80 ตามลําดับ
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)
                    200
                                  167
                    150
    จํานวนผู้ปวย (ราย)


                                                                                   ผู้ป่วยที่ติดตาม

                    100
                                                                                   Scr > 0.5
              ่




                                                                                   CrCl < 25%
                         50                                   34
                                           3        2                 4        4
                          0


                              ได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสม   ใช้ยาต่อในขนาดเดิม


ผูป่วยในกลุ่มที่ได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสมมีระดับซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นจากค่า
  ้
พื้นฐานมากกว่าเท่ากับ 0.5 และค่าการทํางานของไต (CrCl) ลดลงจากค่าพื้นฐาน
มากกว่าร้อยละ 25 น้อยกว่าผูป่วยในกลุ่มที่ใช้ยาต่อในขนาดเดิม
                              ้
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)
                          250
                                                         201
                          200
     จํานวนผู้ปวย (ราย)


                                                                               ผู้ป่วยที่ติดตาม
                          150
                                                                               Scr > 0.5
               ่




                          100
                                                                               CrCl < 25%
                           50   23        4          4          7          6
                            0


                                     ก่อนสร้างระบบ         หลังสร้างระบบ


ผูป่วยในช่วงก่อนสร้างระบบมีระดับซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นจากค่าพื้นฐานมากกว่าเท่ากับ
  ้
0.5 และค่าการทํางานของไต (CrCl) ลดลงจากค่าพื้นฐานมากกว่าร้อยละ 25 มากกว่า
ผูป่วยในช่วงหลังสร้างระบบ
    ้
บทเรียนที่ได้รับ
  • การให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์โดยการพูดคุยโดยตรงจะมี
    อัตราการยอมรับคําปรึกษามากกว่าการให้ข้อมูลและปรึกษา
    โดยการเขียนบันทึกทางเภสัชกรรม (pharmacist note)
  • การปรับขนาดยาไม่ควรดูคาการทํางานของไตในปัจจุบัน
                               ่
    เพียงอย่างเดียว เพราะถ้าเน้นการปรับขนาดยาเพียงอย่าง
    เดียวอาจทําให้ผู้ป่วยได้รับยาไม่เพียงพอ จนส่งผลต่อการ
    รักษาได้
บทเรียนที่ได้รับ (ต่อ)
  • แนวทาง แบบบันทึกและข้อมูลขนาดยาควรมีการทบทวน
    เป็นระยะเพื่อให้เหมาะสมกับการทํางานและปัญหาที่พบ
    หลังจากดําเนินการไปแล้ว
  • นอกจากผู้ป่วยผู้ใหญ่ ผู้ป่วยเด็กเป็นอีกกลุ่มหนึงที่มีโอกาส
                                                   ่
    ได้รับยาในขนาดที่สูงเกินไปเนื่องจากมีการทํางานของไต
    ลดลง ดังนันทางฝ่ายเภสัชกรรมจึงมีแผนงานที่จะขยายการ
               ้
    ดูแลครอบคลุมไปถึงผู้ป่วยเด็ก และผู้ป่วยเด็กแรกเกิดด้วย
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

Contenu connexe

En vedette

หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
Rachanont Hiranwong
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
saowaluk2556
 

En vedette (19)

Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication Reconciliation
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Plus de Rachanont Hiranwong

ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
Rachanont Hiranwong
 

Plus de Rachanont Hiranwong (12)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
Food allergy slide2
Food allergy slide2Food allergy slide2
Food allergy slide2
 
Food allergy slide
Food allergy slideFood allergy slide
Food allergy slide
 

การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง

  • 1. การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยา ในผู้ป่วยในที่มีการทํางานของไตลดลง ภก.รชานนท์ หิรัญวงษ์ 28 ธันวาคม 2555
  • 2. ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ • มีการสั่งใช้ยาในขนาดสําหรับผู้ป่วยที่มีการทํางานของ ไตปกติในผู้ป่วยในที่มีการทํางานของไตลดลง ซึ่งเป็น ขนาดที่สูงเกินไป • เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการ ใช้ยา ทําให้การทํางานของไตแย่ลง ทําให้สิ้นเปลืองยา และบุคลากรที่ใช้ในการเตรียมยาบริหารยา
  • 3. ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ (ต่อ) จากการสํารวจการใช้ยาในผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วย อายุรกรรมหญิงในเดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2554 • พบว่าผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตลดลงได้รับขนาดยาที่ เหมาะสมกับการทํางานของไตเพียงร้อยละ 57 • สาเหตุของปัญหานี้อาจเกิดจากการที่แพทย์ประจําหอผู้ป่วย ไม่ได้รับข้อมูลค่าการทํางานของไตของผู้ป่วย และขนาดยาที่ เหมาะสม ขณะตรวจรักษาผู้ป่วย
  • 4. เป้าหมาย 1. เพื่อให้ผู้ป่วยในที่มีการทํางานของไตลดลงได้รับขนาดยา ที่เหมาะสมกับการทํางานของไตไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของค่าการทํางาน ของไตในกลุ่มผู้ที่ได้รบและผู้ที่ไม่ได้รับการปรับขนาดยา ั ให้เหมาะสมกับการทํางานของไตที่ลดลง
  • 5. กิจกรรมการพัฒนา • รวบรวมข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางานของ ไตของยาทุกตัวในโรงพยาบาลและจัดทําเป็นคู่มือ สําหรับให้ข้อมูลกับแพทย์
  • 7. กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) • สืบค้นสูตรสําหรับคํานวณค่าการทํางานของไตที่มี ความเหมาะสม และมีหลักฐานยืนยันว่าสามารถ นํามาใช้กับข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางาน ของไตที่ลดลงที่รวบรวมมา พร้อมกับสร้างเครื่องมือ ช่วยคํานวณ
  • 9. กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) • สร้างแบบบันทึกสําหรับใช้ในการติดตามการสั่งใช้ยา ติดตามค่าการทํางานของไตของผู้ป่วย และบันทึกผล หลังจากการให้ข้อมูลกับแพทย์
  • 10. กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) • กําหนดแนวทางการติดตาม การให้ข้อมูล และอบรม เภสัชกรประจํางานบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยใน • ติดตามการสั่งใช้ยาในผู้ปวยในทุกรายที่เข้าเงื่อนไข ่ • เมื่อพบการสั่งใช้ยาที่ต้องมีการปรับขนาดยา จึง ดําเนินการให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์เพื่อปรับขนาด ยาให้เหมาะสมและดําเนินการติดตามต่อเนื่องจน ผู้ป่วยถูกจําหน่ายออกจากโรงพยาบาล
  • 12. การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ผูปวยที่ไดร ับการติดตาม ผูปวยที่จําเปนตองไดร ับการปรับขนาดยาใหเหมาะสม 350 316 291 297 295 300 279 283 280 255 258 262 246 249 250 200 150 100 85 84 59 62 66 63 58 55 56 52 41 44 45 50 23 0 กค 54* สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55 ผู้ป่วยที่จําเป็นต้องได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับ การทํางานของไตที่ลดลงเฉลี่ยเดือนละ 57 ราย (ร้อยละ 21)
  • 13. การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 100 90 86 85 85 81 82 83 80 80 77 74 75 76 73 70 60 60 57 50 กอนใหขอมูล 44 42 หลังใหขอมูล 39 38 38 40 36 33 34 31 29 30 27 20 10 0 กค 54* สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55 สัดส่วนของการได้รับขนาดยาที่เหมาะสมก่อนและหลังให้ข้อมูลขนาด ยา และปรึกษาแพทย์ เท่ากับร้อยละ 38 และ ร้อยละ 80 ตามลําดับ
  • 14. การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 200 167 150 จํานวนผู้ปวย (ราย) ผู้ป่วยที่ติดตาม 100 Scr > 0.5 ่ CrCl < 25% 50 34 3 2 4 4 0 ได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสม ใช้ยาต่อในขนาดเดิม ผูป่วยในกลุ่มที่ได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสมมีระดับซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นจากค่า ้ พื้นฐานมากกว่าเท่ากับ 0.5 และค่าการทํางานของไต (CrCl) ลดลงจากค่าพื้นฐาน มากกว่าร้อยละ 25 น้อยกว่าผูป่วยในกลุ่มที่ใช้ยาต่อในขนาดเดิม ้
  • 15. การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 250 201 200 จํานวนผู้ปวย (ราย) ผู้ป่วยที่ติดตาม 150 Scr > 0.5 ่ 100 CrCl < 25% 50 23 4 4 7 6 0 ก่อนสร้างระบบ หลังสร้างระบบ ผูป่วยในช่วงก่อนสร้างระบบมีระดับซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นจากค่าพื้นฐานมากกว่าเท่ากับ ้ 0.5 และค่าการทํางานของไต (CrCl) ลดลงจากค่าพื้นฐานมากกว่าร้อยละ 25 มากกว่า ผูป่วยในช่วงหลังสร้างระบบ ้
  • 16. บทเรียนที่ได้รับ • การให้ข้อมูลและปรึกษาแพทย์โดยการพูดคุยโดยตรงจะมี อัตราการยอมรับคําปรึกษามากกว่าการให้ข้อมูลและปรึกษา โดยการเขียนบันทึกทางเภสัชกรรม (pharmacist note) • การปรับขนาดยาไม่ควรดูคาการทํางานของไตในปัจจุบัน ่ เพียงอย่างเดียว เพราะถ้าเน้นการปรับขนาดยาเพียงอย่าง เดียวอาจทําให้ผู้ป่วยได้รับยาไม่เพียงพอ จนส่งผลต่อการ รักษาได้
  • 17. บทเรียนที่ได้รับ (ต่อ) • แนวทาง แบบบันทึกและข้อมูลขนาดยาควรมีการทบทวน เป็นระยะเพื่อให้เหมาะสมกับการทํางานและปัญหาที่พบ หลังจากดําเนินการไปแล้ว • นอกจากผู้ป่วยผู้ใหญ่ ผู้ป่วยเด็กเป็นอีกกลุ่มหนึงที่มีโอกาส ่ ได้รับยาในขนาดที่สูงเกินไปเนื่องจากมีการทํางานของไต ลดลง ดังนันทางฝ่ายเภสัชกรรมจึงมีแผนงานที่จะขยายการ ้ ดูแลครอบคลุมไปถึงผู้ป่วยเด็ก และผู้ป่วยเด็กแรกเกิดด้วย