SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  36
Télécharger pour lire hors ligne
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
          จริยธรรมของนักธุรกิจ



นักธุรกิจมีคณธรรมจริยธรรมจะเปน
              ุ
นักธุรกิจที่มความเจริญรุงเรืองยิ่งขึ้น
                ี
หากขาดคุณธรรมจริยธรรมจะถูก
สังคมลงโทษในที่สุดจะตองลมสลาย
ไปตามกรรมเวรที่กอไว ดังนั้น นัก
ธุรกิจที่ดีตองมีคุณธรรมจริยธรรม
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

    จริยธรรมของนักธุรกิจ(ตอ)

       ธุรกิจ หมายถึง การคา ( commerce ) ขบวนการผลิตสินคา
      ( Industry) เพื่อจําหนายจายแจกโดยสนองความตองการของ
      ผูบริโภคและมุงหวังกําไร ขบวนการผลิตสินคาเริ่มตั้งแตการนํา
      วัสดุมาแปรสภาพกลายเปนสินคาสําเร็จรูป คือ วัตถุดิบ
      เครื่องจักร คนงานและการจัดการผลิต เปนตน
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

    จริยธรรมของนักธุรกิจ(ตอ)


         นักธุรกิจหรือผูประกอบธุรกิจ คือ พอคา ผูมีอาชีพทางการคา
        บุคคลหรือองคกรใด ๆ ทีดําเนินการผลิตสินคา หรือบริการตามความ
                              ่
        ตองการของผูบริโภคในการลงทุนในรูปแบบกําไร
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ

1. นักธุรกิจพึงปฏิบตตอลูกคา ดังนี้
                   ั ิ 

     1     พึงขายสินคาและบริการในราคายุติธรรม

    2       พึงขายสินคาและบริการใหถูกตอง

     3      พึงดูแลและใหบริการแกลูกคาทุกคนอยางเทาเทียมกัน
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ (ตอ)

1. นักธุรกิจพึงปฏิบตตอลูกคา ดังนี้
                   ั ิ 

     4    พึงละเวนการกระทําใด ๆ ที่ควบคุมการตัดสินใจของลูกคา

    5            พึงละเวนการกระทําใด ๆ เพื่อใหบริการสินคามีราคาสูงขึ้นโดยไมมเี หตุผล

     6     พึงปฏิบัติตอลูกคาและใหบริการอยางมีน้ําใจไมตรี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ)
 2. นักธุรกิจพึงปฏิบตตอคูแขงขัน ดังนี้
                    ั ิ 
       การแข ง ขั น เป น การสร า งสรรค มิ ใ ช เ พื่ อ ทํ า ลายล า งซึ่ ง กั น และกั น
      พึงละเวนจากการกลั่นแกลง ใหรายปายสีทับถมไมวาโดยทางออม หรือดวยการ
      ขมขูและกีดกันอันทําใหคูแขงเสียโอกาสอยางไมเปนธรรม เชน การขายตัด
      ราคา การทุมเทสินคาเขาตลาด
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ)

3. นักธุรกิจพึงปฏิบัติตอหนวยราชการ ดังนี้

       หนวยราชการ เปนหนวยของสังคม ตองอยูภายใตกฎบังคับของกฎหมาย
     นักธุรกิจเองก็มักมีปญหาเสมอ ไมเขาใจหลักการและเหตุผลของรัฐ ราชการ
     ก็ใชหลักธรรมของจริยธรรม ไมเกิดความเดือดรอนตอนักธุรกิจ
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ)
4. นักธุรกิจควรปฏิบัติตอพนักงาน ดังนี้
      1
                 การใหคาจางและผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมกับความสามารถ

      2
                 พึงเอาใจใสในสวัสดิการ สถานที่ทํางาน มีความปลอดภัย

      3
                 พึงพัฒนา และใหความรูเพือเพิ่มความชํานาญ
                                          ่

      4          พึงใหความยุติธรรม
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ)

   4. นักธุรกิจควรปฏิบัติตอพนักงาน ดังนี้ (ตอ)
                 5       พึงศึกษาและทําความเขาใจในพนักงานของตน

                 6       พึงเคารพสวนบุคคล

                 7       พึงใหความเชื่อถือไววางใจ

                 8       พึงใหคําแนะนําปรึกษา

                 9       พึงสนับสนุนใหพนักงานไดประพฤติเปนพลเมืองดี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ)
 5. นักธุรกิจพึงปฏิบัติตอสังคม ดังนี้

                 1   พึงละเวนการประกอบธุรกิจทีทําใหสงคมเสือม
                                               ่      ั     ่

                 2    พึงละเวนการประกอบธุรกิจทีทําลายทรัพยากรธรรมชาติ
                                                ่

                 3    พึงดูแลเอาใจใสการประกอบกิจการของตน
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ)
 5. นักธุรกิจพึงปฏิบัติตอสังคม ดังนี้ (ตอ)


         4         พึงใหเคารพในสิทธิสิทธิทางปญญาของผูอื่น โดยไม ลอกเลียน

         5          พึงใหความรวมมือกับทุกฝายในชุมชน

         6       ในการดําเนินธุรกิจนักธุรกิจพึงใหความสนใจเรื่องการสรางงาน
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ
 6. นักธุรกิจพึงปฏิบัติตอนักธุรกิจ ดังนี้

                  1         ซื่อสัตยสจริตในการปฏิบัติงาน
                                      ุ

                  2          รับผิดชอบงานตามชอบเขตหนาที่ของตนเอง

                  3          มีความขยันหมั่นเพียร

                  4         มีวินัยในการทํางาน

                  5          ใหเกียรติและไมขัดผลประโยชนผูอื่น
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                         ิ
 รศ.วิมล เอมโอช
หลักธรรมของนักธุรกิจ

1. ฆาราวาสธรรม 4           สัจจะ คือ ความจริง ตองมีความจริงใจ ซื่อสัตยตอ
                       1   ทุก ๆ คนรวมทั้งลูกคาของตน

                           ทมะ คือฝกตนใหรูจักขมใจ ควบคุมจิตใจเพื่อแกไข
                       2   ขอบกพรอง ขอขัดแยง ปรับปรุงตนใหดีงามยิ่งขึ้น

                           ขันติ คือความอดทน จิตใจหนักแนน ไมวูวามทน
                       3   ตอความลวงล้ําก้ําเกินกัน และรวมกันอดทนตอความ
                           ยากลําบากตรากตรําเพื่อฟนฝาอุปสรรคตาง ๆ

                            จาคะ คือ เสียสละมีน้ําใจ เสียสละความสุขสําราญ
                       4    เพื่อผูอื่นได มีจิตใจเอื้อเฟอตอลูกคา ใจกวาง
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
    2. กัลยาณธรรม 5 (เปนธรรมคูกับศีล 5 ธรรมะของคนดี)
          เมตตา-กรุณา เมตตา ไดแก ความคิดปรารถนาใหผูอื่นเปนสุข
    1     กรุณา ไดแก ความปรารถนาใหผูอื่นปราศจากทุกข

     2    สัมมาอาชีวะไดแกการประกอบอาชีพที่สจริต
                                             ุ

    3      ความสํารวมในกามไดแก กิริยาที่ระมัดระวัง ไมประพฤติมักมากในกาม

    4      ความมีสัตย ไดแก ความซื่อตรง ทั้งกาย วาจา ใจ

     5    ความมีสติตรวจตราไดแก ความรอบคอบไมประมาท สุขุม ไมวูวาม
     ทุกคนควรมีกัลยาณธรรมที่จะสรางความเปนคนดีใหแกตนเองในทุกอาชีพ
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
  3. อกุศลมูล (ตนเหตุแหงความชั่ว)

   1.โลภะ           คือ ความโลภ อยากไดโดยไรสติ ไมรูผิดชอบชั่วดี ทําใหประพฤติชั่ว เห็นแกตัว
                    อยากไดไมรูจบสิน
                                     ้
   2.โทสะ           คือ ความโกรธแคน คิดประทุษรายเขา โกรธแคนคิดทํารายผูอื่น

  3.โมหะ *           คือ ความหลงงมงายโดยไมรูจริง มีความโฉดเขลาเบาปญญา ไมใชสติเปน
                     ตัวการทําใหเกิดโลภะ โทสะ ตามมา

        ตองกําจัดอกุศลมูลทั้ง 3 ดวย ทาน ศีล และภาวนา
        ทาน คือ การกําจัดโลภะ (ผูบําเพ็ญทานยอมปติเบิกบานใจ)
        ศีล คือ กําจัดโทสะ (ผูรักษาศีลยอมมีความสงบเยือกเย็น)
        ภาวนา คือ กําจัดโมหะ (ผูเจริญภาวนา ยอมเกิดสติปญญาสุขุม เปรื่องปราชญ)
                                                          
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

                             4. กุศลมูล

           1.อโลภะ          คือ ไมโลภ ไมอยากไดของผูอื่น
           2.อโทสะ          คือ ไมโกรธ ไมคิดประทุษรายผูอื่น
           3.อโมหะ          คือไมหลงงมงาย รูจริงในตน

            ทุกสิ่งทุกอยาง เกิด => แตก => ดับ
            (ทุกอยางเปนอนิจจัง จึงไมควรเบียดเบียนกัน)
            สิ่งที่เหลืออยูคอความดีงามหรือความชั่วที่เราทําไว)
                             ื
ความหวังของ “มนุษย” ทุกรูปทุกนามคือ “ความสุข” ในชีวตตามคําสอนในทางพุทธศาสนาบอกทางไวใหเรา
                                                      ิ
                      คือ มรรค 8 คือทางเดินที่จะเดินไปถึงความสุขดังกลาว คือ


               5. มรรค 8

       1 สัมมาทิฎฐิ = ปญญาเห็นชอบ

       2     สัมมาสังกัปป = ดําริชอบ

       3 สัมมาวาจา = เจรจาชอบ
       4 สัมมากัมมันตะ = ทําการงานชอบ
ความหวังของ “มนุษย” ทุกรูปทุกนามคือ “ความสุข” ในชีวตตามคําสอนในทางพุทธศาสนาบอกทางไวใหเรา
                                                      ิ
                      คือ มรรค 8 คือทางเดินที่จะเดินไปถึงความสุขดังกลาว คือ


            5. มรรค 8 (ตอ)


       5     สัมมาอาชีพ = เลี้ยงชีวิตชอบ
       6     สัมมาวายามะ = มีความเพียรชอบ
       7      สัมมาสติ = ระลึกชอบ คือระลึกในสติ ปฎฐาน 4 รูเทาทัน
       8      สัมมาสมาธิ = ตั้งใจไวชอบคือเจริญญาณทั้ง 4
จริยธรรมของพนักงานมีดังตอไปนี้
รศ.วิมล เอมโอช



                 ปฏิบัติงานดวยความวิริยะอุตสาหะตามที่ไดรับ
          1      มอบหมาย

                 ปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตยสุจริต
          2

                 ปฏิ บั ติ ต นให อ ยู ใ นระเบี ย บกฎข อ บั ง คั บ ของ
          3
                 องคการ
จริยธรรมของพนักงานมีดังตอไปนี(ตอ)
                              ้
รศ.วิมล เอมโอช


          4      มีความสมานฉันทกลมเกลียว อดทน อดกลั้น

                 รักษาทรัพยสินขององคการเพื่อไมใหทรัพยสิน
          5
                 นั้นเสื่อมเสียกอนเวลาอันควร
                 พัฒนาประสิทธิภาพของตนทั้งทางดานความรู
          6      และความสามารถ
                 ปฏิบัติตนใหพรอมที่จะไดรับมอบหมายภารกิจ
           7
                 ตามสภาวะการตาง ๆ
7.จริยธรรมของพนักงาน/ลูกจาง
รศ.วิมล เอมโอช
                  ขอพึงปฏิบัติของพนักงาน

 1     เริ่มทํางานกอน

 2     เลิกงานทีหลัง

 3     เอาแตของทีนายให
                  ่

 4      ทําการงานใหเรียบรอยและดียิ่งขึ้น

 5     นําความดีของนายและกิจการไปเผยแพร
ขอคิดเตือนใจสําหรับนายจางและลูกจาง 8 อยาก
รศ.วิมล เอมโอช


            แปดอยาก
 อยากมีเงิน ตองทํางาน จึงพานพบ
 อยากเรียนจบ ตองขยัน หมั่นศึกษา
 ถาอยากรัก ตองฝกใฝ เวียนไปมา
 อยากมีหนา เสนอหนา อาสาคน
 อยากมีเกียรติ เลิกชั่ว อยากลัวอด
 อยากมียศ กลาแข็ง ทุกแหงหน
 อยากเปนหนึ่ง ตองพึ่ง ตัวของตน
 อยากเปนคน ตองมีธรรม ประจําใจ
                  จาก วัดสวนแกว
จริยธรรมของครูอาจารย
รศ.วิมล เอมโอช


       อาชีพครู อาจารย เปนอาชีพที่คน
 ในสังคมตั้งความหวังไวสูงวาจะตองเปน
 คนดี มีคุณธรรม จริยธรรมสูง เปน
 ตัวอยางเปนผูนาที่ทุกคนในสังคมจะตอง
                 ํ
 พึ่งพาได
      นอกจากมีคุณธรรมจริยธรรม
 เชนเดียวกับคนทั่วไปแลว ยังตองมี
 จรรยาบรรณของอาชีพอีกดวย
 หลักธรรมและจริยธรรมที่ควรยึดถือ
 ปฏิบัติไดแก
จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ)
 รศ.วิมล เอมโอช

                  1. สุจริต 3
1.กายสุจริต คือความสุจริตทางกาย คือยึดถือปฏิบัติ
ในสิ่งที่ถูกตองดีงามเหมาะสม
2.วจีสุจริต คือ ความสุจริตทางวาจา คือพูดในสิ่งที่ดี
งาม ถูกตอง ไพเราะ ไมนินทาเยาะเยย ถากถาง ไม
พูดโกหก
3.มโนสุจริต คือ ความสุจริตทางใจคือคิดในสิ่งที่ดี
งาม ถูกตอง ไมมีอคติหรือลําเอียงมีใจเปนธรรมทุก
คน ไมอิจฉาหรือปองรายใคร
จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ)
 รศ.วิมล เอมโอช
           2.พรหมวิหาร 4
1. เมตตา (ความรัก) คือความปรารถนาดี ตองการ
ชวยเหลือผูอื่นใหมความสุข
                    ี
                                                        หลักธรรมเรื่องพรหม
2.กรุณา (ความสงสาร) คืออยากชวยเหลือผูอื่นให          วิ ห าร 4 ผู มี อ าชี พ ครู
พนจากความทุกข ใฝใจที่จะปลดเปลื้องบําบัดความ          ตองยึดมั่นและใชเสมอ
ทุกขใหแกผูอื่น                                      และควรเลื อ กใช ใ ห
3.มุทิตา (ความเบิกบานพลอยยินดี)เมื่อเห็นผูอื่นอยูดี   เหมาะสมกั บ โอกาส
มีสุข ก็มีใจแชมชื่นเบิกบานและยินดีดวย                 ตามสถานการณอยาง
                                                        เหมาะสม
4. อุเบกขา (ความมีใจเปนกลาง) คือมองตามความ
เปนจริง เที่ยงตรง มองเห็นความจริงวาบุคคลจะ
ไดรับผลดีหรือชั่วดวยการกระทําของตนเอง
จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

       3. กัลยาณมิตร 7

                   ปโย (นารัก) คือ มีเมตตากรุณา ใสใจคนและประโยชนสุข
          1        ของเขา เขาถึงจิตใจ สรางความรูสึกสนิทสนมเปนกันเอง

                   ครุ (นาเคารพ) คือ เปนผูหนักแนน ถือหลักการเปนสําคัญและมี
          2        ความประพฤติใหสมควรแกฐานะ ทําใหรูสึกอบอุนเปนทีพงได
                                                                          ่ ึ่


                   ภาวนิโย (นาเจริญใจ) คือ มีความรูจริง ทรงภูมิปญญาแทจริง
          3        และเปนผูฝกฝนปรับปรุงตนอยูเสมอ นายกยองควรเอาอยาง
                   ทําใหศิษยเอยอางและรําลึกถึงดวยความซาบซึงมั่นใจและ
                                                               ้
                   ภาคภูมิใจ
จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

       3. กัลยาณมิตร 7 (ตอ)


                   วตฺตา (รูจักพูดใหไดผล) คือรูจักชี้แจงใหเขาใจรูวาเมื่อไรควร
                            
          4        พูดอะไร อยางไร วากลาวตักเตือนไดดี



                   วจฺนกฺขโม (อดทนตอถอยคํา) คือพรอมที่จะรับฟงคําปรึกษา
         5         ซักถาม ตลอดจนคําลวงเกินและคําตักเตือนวิพากษวิจารณตาง ๆ
                   อดทนฟงได ไมเบือหนายไมเสียอารมณ
                                    ่
จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

       3. กัลยาณมิตร 7 (ตอ)


                    คมฺภีรฺจกถํกตฺตา (แถลงเรื่องล้ําลึกได) คือกลาวชี้แจงเรื่อง
          6         ตาง ๆ ที่ยุงยากลึกซึงใหเขาใจไดและสอนศิษยใหไดเรียนรูเรื่องราว
                                          ้
                    ที่ลึกซึงยิงขึ้นไป
                            ้ ่

                   โนจฏญาเน นิโยชาย คือไมชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสียหรือ
         7         เหลวไหลไมสมควร เชนไมชักชวนใหสูบบุหรี่ ดื่มน้ําเมา เที่ยว
                   กลางคืน เปนตน
จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ)
  รศ.วิมล เอมโอช
4. อารยธรรม10         (1)ละเวนการฆา
        ทางกาย        (2)ละเวนการแยงชิงลักขโมย
          3           (3)ละเวนการประพฤติผิดในของรักของหวงของผูอื่น
                      (4)ละเวนการพูดเท็จ
                       (5)ละเวนการพูดสอเสียด ยุยง
      ทางวาจา 4
                       (6)ละเวนการพูดคําหยาบ กาวราว
                        (7)ละเวนการพูดเหลวไหลเพอเจอ
                       (8)ไมละโมบ ไมคิดเอาแตได รูจักเสียสละ
                       (9)ไมคิดมุงเบียดเบียน หรือมุงทําลายผูอื่น   ทางใจ 3
                       (10)มีความเห็นถูกตอง ยึดหลักธรรม
จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ)
 รศ.วิมล เอมโอช
4. อารยธรรม10 (ตอ)


      สําหรับอายธรรม 10 ประการนี้
  หากพิจารณาแลวจะเห็นวาปฏิบัติดี
  คือ การประพฤติตามหลักของศีล 5
  นั่นเอง ซึ่งหากผูใดประพฤติปฏิบัติ
  ไดยอมเวนจากการทําชั่ว ทั้งทางกาย
  วาจา และใจนั่นเอง ซึ่งใชไดกับทุก
  อาชีพ มิใชเพียงแตครูอาจารยเทานั้น
คํากลอนเตือนใจสําหรับ ครู/อาจารย
รศ.วิมล เอมโอช




                 อาชีพครู ควรรอบรูสารพัด
                 ควรเครงครัดหางตัณหาอยาถลํา
                 ควรประพฤติยึดดีมีประจํา
                 ประพฤติธรรมใหประจักษวารักดี
                              ผศ.วีระ รักความสุข
คํากลอนเตือนใจสําหรับ ครู/อาจารย (ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช




                 ครู....ดีเมตตาศิษยคิดสั่งสอน
                 คือ.....สังวรในหนาที่อุปถัมภ
                 ผู.......ยึดหลักบริสุทธิ์ยุติธรรม
                 ให....จดจําหลักวิชากาวหนาไกล
                          ผศ.วีระ รักความสุข
คํากลอนเตือนใจสําหรับ ครู/อาจารย (ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช
                 ความรูคูคุณธรรม
                       
            เมื่อความรูยอดเยียมสูงเทียมเมฆ
                              ่
       แตคุณธรรมต่ําเฉกยอดหญานั่น
       อาจเสกสรางมิจฉาสารพัน
       เพราะจิตอันไรอายในโลกา
           แมคุณธรรมสูงเยี่ยมถึงเทียมเมฆ
       แตความรูต่ําเฉกเพียงยอดหญา
       ยอมเปนเหยื่อจารชนจนอุรา
       ดานปญญาออนดอยนานอยใจ
           หากความรูสูงล้ําคุณธรรมเลิศ
       แสนประเสริฐกอปรกิจวินิจฉัย             (ศาสตราจารยอําไพ สุจริตกุล)
                                              อําไพ สุจริตกุล.ปาฐกถา ครั้งที่ ๖ คุณธรรมครูไทย
       จะพัฒนาประชาราษฎรทั้งชาติไทย          คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ:
       ตองฝกใหความรูคูคุณธรรม            โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๕๓ : ๓๐๔-๓๐๕.
จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช



                 คนทุ ก คนทุ ก ชาติ ทุ ก ภาษาควรมี ห ลัก ธรรมเป น
                 เครื่องยึดเหนี่ยวประจําใจของตนเพราะศาสนาทุก
                 ศาสนาสอนใหคนเปนคนดี มีศีลมีธรรมดวยกัน
                 ทุกศาสนาแมแตคนที่ไมมีศาสนา หากตองการ
                 เป น คนดี ก็ ค วรมี เ ครื่ อ งยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจให ใ ฝ ดี
                 ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ใ นทางดี ง ามจึ ง จะเป น คนที่ มี
                 คุณคาตอการเกิดมาในโลกนี้
รศ.วิมล เอมโอช




สิ่งล้ําคาที่สุดของคนเราคือชีวิต
สิ่งที่สวยงามที่สุดของคนเรานัน  ้
ก็คืองานที่เราสรางขึ้น และสามารถรับ
ใชประชาชนตอไปภายหลังที่ชีวิตของ
เราดับสูญไปแลว
       นิโคลไรน อาชาลอฟสกี้
รศ.วิมล เอมโอช
คณะครุศาสตร
 LOGO




               มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

Contenu connexe

Similaire à 11 ethics and lifestyle

คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมniralai
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา Min Kannita
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)Tophit Sampootong
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 14คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1Tophit Sampootong
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 14คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1ธวัช บุตรศรี
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)ธวัช บุตรศรี
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3ฟองเพียร ใจติ๊บ
 
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeวินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeYota Bhikkhu
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลรศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลbankkokku
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ Theeraphisith Candasaro
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNan NaJa
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมjune_yenta4
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูsuwantan
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allKruKaiNui
 

Similaire à 11 ethics and lifestyle (20)

คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 14คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 14คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
03 develop1
03 develop103 develop1
03 develop1
 
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeวินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลรศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
 

Plus de etcenterrbru

บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดบทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดetcenterrbru
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลetcenterrbru
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์etcenterrbru
 
6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibriumetcenterrbru
 
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodiesetcenterrbru
 
6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual worketcenterrbru
 
6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertiaetcenterrbru
 
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertiaetcenterrbru
 
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axesetcenterrbru
 
6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an areaetcenterrbru
 
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areasetcenterrbru
 
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integrationetcenterrbru
 
6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and reviewetcenterrbru
 
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a bodyetcenterrbru
 
6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressureetcenterrbru
 
6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodiesetcenterrbru
 
6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and reviewetcenterrbru
 
6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screwsetcenterrbru
 
6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedgesetcenterrbru
 
6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry frictionetcenterrbru
 

Plus de etcenterrbru (20)

บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดบทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
 
6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium
 
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
 
6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work
 
6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia
 
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
 
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
 
6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area
 
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
 
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
 
6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review
 
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
 
6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure
 
6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies
 
6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review
 
6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws
 
6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges
 
6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction
 

11 ethics and lifestyle

  • 1. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช จริยธรรมของนักธุรกิจ นักธุรกิจมีคณธรรมจริยธรรมจะเปน ุ นักธุรกิจที่มความเจริญรุงเรืองยิ่งขึ้น ี หากขาดคุณธรรมจริยธรรมจะถูก สังคมลงโทษในที่สุดจะตองลมสลาย ไปตามกรรมเวรที่กอไว ดังนั้น นัก ธุรกิจที่ดีตองมีคุณธรรมจริยธรรม
  • 2. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช จริยธรรมของนักธุรกิจ(ตอ) ธุรกิจ หมายถึง การคา ( commerce ) ขบวนการผลิตสินคา ( Industry) เพื่อจําหนายจายแจกโดยสนองความตองการของ ผูบริโภคและมุงหวังกําไร ขบวนการผลิตสินคาเริ่มตั้งแตการนํา วัสดุมาแปรสภาพกลายเปนสินคาสําเร็จรูป คือ วัตถุดิบ เครื่องจักร คนงานและการจัดการผลิต เปนตน
  • 3. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช จริยธรรมของนักธุรกิจ(ตอ) นักธุรกิจหรือผูประกอบธุรกิจ คือ พอคา ผูมีอาชีพทางการคา บุคคลหรือองคกรใด ๆ ทีดําเนินการผลิตสินคา หรือบริการตามความ ่ ตองการของผูบริโภคในการลงทุนในรูปแบบกําไร
  • 4. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ 1. นักธุรกิจพึงปฏิบตตอลูกคา ดังนี้ ั ิ  1 พึงขายสินคาและบริการในราคายุติธรรม 2 พึงขายสินคาและบริการใหถูกตอง 3 พึงดูแลและใหบริการแกลูกคาทุกคนอยางเทาเทียมกัน
  • 5. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ (ตอ) 1. นักธุรกิจพึงปฏิบตตอลูกคา ดังนี้ ั ิ  4 พึงละเวนการกระทําใด ๆ ที่ควบคุมการตัดสินใจของลูกคา 5 พึงละเวนการกระทําใด ๆ เพื่อใหบริการสินคามีราคาสูงขึ้นโดยไมมเี หตุผล 6 พึงปฏิบัติตอลูกคาและใหบริการอยางมีน้ําใจไมตรี
  • 6. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ) 2. นักธุรกิจพึงปฏิบตตอคูแขงขัน ดังนี้ ั ิ  การแข ง ขั น เป น การสร า งสรรค มิ ใ ช เ พื่ อ ทํ า ลายล า งซึ่ ง กั น และกั น พึงละเวนจากการกลั่นแกลง ใหรายปายสีทับถมไมวาโดยทางออม หรือดวยการ ขมขูและกีดกันอันทําใหคูแขงเสียโอกาสอยางไมเปนธรรม เชน การขายตัด ราคา การทุมเทสินคาเขาตลาด
  • 7. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ) 3. นักธุรกิจพึงปฏิบัติตอหนวยราชการ ดังนี้ หนวยราชการ เปนหนวยของสังคม ตองอยูภายใตกฎบังคับของกฎหมาย นักธุรกิจเองก็มักมีปญหาเสมอ ไมเขาใจหลักการและเหตุผลของรัฐ ราชการ ก็ใชหลักธรรมของจริยธรรม ไมเกิดความเดือดรอนตอนักธุรกิจ
  • 8. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ) 4. นักธุรกิจควรปฏิบัติตอพนักงาน ดังนี้ 1 การใหคาจางและผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมกับความสามารถ 2 พึงเอาใจใสในสวัสดิการ สถานที่ทํางาน มีความปลอดภัย 3 พึงพัฒนา และใหความรูเพือเพิ่มความชํานาญ ่ 4 พึงใหความยุติธรรม
  • 9. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ) 4. นักธุรกิจควรปฏิบัติตอพนักงาน ดังนี้ (ตอ) 5 พึงศึกษาและทําความเขาใจในพนักงานของตน 6 พึงเคารพสวนบุคคล 7 พึงใหความเชื่อถือไววางใจ 8 พึงใหคําแนะนําปรึกษา 9 พึงสนับสนุนใหพนักงานไดประพฤติเปนพลเมืองดี
  • 10. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ) 5. นักธุรกิจพึงปฏิบัติตอสังคม ดังนี้ 1 พึงละเวนการประกอบธุรกิจทีทําใหสงคมเสือม ่ ั ่ 2 พึงละเวนการประกอบธุรกิจทีทําลายทรัพยากรธรรมชาติ ่ 3 พึงดูแลเอาใจใสการประกอบกิจการของตน
  • 11. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ(ตอ) 5. นักธุรกิจพึงปฏิบัติตอสังคม ดังนี้ (ตอ) 4 พึงใหเคารพในสิทธิสิทธิทางปญญาของผูอื่น โดยไม ลอกเลียน 5 พึงใหความรวมมือกับทุกฝายในชุมชน 6 ในการดําเนินธุรกิจนักธุรกิจพึงใหความสนใจเรื่องการสรางงาน
  • 12. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช หลักเกณฑปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ 6 ประการ 6. นักธุรกิจพึงปฏิบัติตอนักธุรกิจ ดังนี้ 1 ซื่อสัตยสจริตในการปฏิบัติงาน ุ 2 รับผิดชอบงานตามชอบเขตหนาที่ของตนเอง 3 มีความขยันหมั่นเพียร 4 มีวินัยในการทํางาน 5 ใหเกียรติและไมขัดผลประโยชนผูอื่น
  • 13. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช หลักธรรมของนักธุรกิจ 1. ฆาราวาสธรรม 4 สัจจะ คือ ความจริง ตองมีความจริงใจ ซื่อสัตยตอ 1 ทุก ๆ คนรวมทั้งลูกคาของตน ทมะ คือฝกตนใหรูจักขมใจ ควบคุมจิตใจเพื่อแกไข 2 ขอบกพรอง ขอขัดแยง ปรับปรุงตนใหดีงามยิ่งขึ้น ขันติ คือความอดทน จิตใจหนักแนน ไมวูวามทน 3 ตอความลวงล้ําก้ําเกินกัน และรวมกันอดทนตอความ ยากลําบากตรากตรําเพื่อฟนฝาอุปสรรคตาง ๆ จาคะ คือ เสียสละมีน้ําใจ เสียสละความสุขสําราญ 4 เพื่อผูอื่นได มีจิตใจเอื้อเฟอตอลูกคา ใจกวาง
  • 14. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 2. กัลยาณธรรม 5 (เปนธรรมคูกับศีล 5 ธรรมะของคนดี) เมตตา-กรุณา เมตตา ไดแก ความคิดปรารถนาใหผูอื่นเปนสุข 1 กรุณา ไดแก ความปรารถนาใหผูอื่นปราศจากทุกข 2 สัมมาอาชีวะไดแกการประกอบอาชีพที่สจริต ุ 3 ความสํารวมในกามไดแก กิริยาที่ระมัดระวัง ไมประพฤติมักมากในกาม 4 ความมีสัตย ไดแก ความซื่อตรง ทั้งกาย วาจา ใจ 5 ความมีสติตรวจตราไดแก ความรอบคอบไมประมาท สุขุม ไมวูวาม ทุกคนควรมีกัลยาณธรรมที่จะสรางความเปนคนดีใหแกตนเองในทุกอาชีพ
  • 15. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 3. อกุศลมูล (ตนเหตุแหงความชั่ว) 1.โลภะ คือ ความโลภ อยากไดโดยไรสติ ไมรูผิดชอบชั่วดี ทําใหประพฤติชั่ว เห็นแกตัว อยากไดไมรูจบสิน ้ 2.โทสะ คือ ความโกรธแคน คิดประทุษรายเขา โกรธแคนคิดทํารายผูอื่น 3.โมหะ * คือ ความหลงงมงายโดยไมรูจริง มีความโฉดเขลาเบาปญญา ไมใชสติเปน ตัวการทําใหเกิดโลภะ โทสะ ตามมา ตองกําจัดอกุศลมูลทั้ง 3 ดวย ทาน ศีล และภาวนา ทาน คือ การกําจัดโลภะ (ผูบําเพ็ญทานยอมปติเบิกบานใจ) ศีล คือ กําจัดโทสะ (ผูรักษาศีลยอมมีความสงบเยือกเย็น) ภาวนา คือ กําจัดโมหะ (ผูเจริญภาวนา ยอมเกิดสติปญญาสุขุม เปรื่องปราชญ) 
  • 16. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 4. กุศลมูล 1.อโลภะ คือ ไมโลภ ไมอยากไดของผูอื่น 2.อโทสะ คือ ไมโกรธ ไมคิดประทุษรายผูอื่น 3.อโมหะ คือไมหลงงมงาย รูจริงในตน ทุกสิ่งทุกอยาง เกิด => แตก => ดับ (ทุกอยางเปนอนิจจัง จึงไมควรเบียดเบียนกัน) สิ่งที่เหลืออยูคอความดีงามหรือความชั่วที่เราทําไว) ื
  • 17. ความหวังของ “มนุษย” ทุกรูปทุกนามคือ “ความสุข” ในชีวตตามคําสอนในทางพุทธศาสนาบอกทางไวใหเรา ิ คือ มรรค 8 คือทางเดินที่จะเดินไปถึงความสุขดังกลาว คือ 5. มรรค 8 1 สัมมาทิฎฐิ = ปญญาเห็นชอบ 2 สัมมาสังกัปป = ดําริชอบ 3 สัมมาวาจา = เจรจาชอบ 4 สัมมากัมมันตะ = ทําการงานชอบ
  • 18. ความหวังของ “มนุษย” ทุกรูปทุกนามคือ “ความสุข” ในชีวตตามคําสอนในทางพุทธศาสนาบอกทางไวใหเรา ิ คือ มรรค 8 คือทางเดินที่จะเดินไปถึงความสุขดังกลาว คือ 5. มรรค 8 (ตอ) 5 สัมมาอาชีพ = เลี้ยงชีวิตชอบ 6 สัมมาวายามะ = มีความเพียรชอบ 7 สัมมาสติ = ระลึกชอบ คือระลึกในสติ ปฎฐาน 4 รูเทาทัน 8 สัมมาสมาธิ = ตั้งใจไวชอบคือเจริญญาณทั้ง 4
  • 19. จริยธรรมของพนักงานมีดังตอไปนี้ รศ.วิมล เอมโอช ปฏิบัติงานดวยความวิริยะอุตสาหะตามที่ไดรับ 1 มอบหมาย ปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตยสุจริต 2 ปฏิ บั ติ ต นให อ ยู ใ นระเบี ย บกฎข อ บั ง คั บ ของ 3 องคการ
  • 20. จริยธรรมของพนักงานมีดังตอไปนี(ตอ) ้ รศ.วิมล เอมโอช 4 มีความสมานฉันทกลมเกลียว อดทน อดกลั้น รักษาทรัพยสินขององคการเพื่อไมใหทรัพยสิน 5 นั้นเสื่อมเสียกอนเวลาอันควร พัฒนาประสิทธิภาพของตนทั้งทางดานความรู 6 และความสามารถ ปฏิบัติตนใหพรอมที่จะไดรับมอบหมายภารกิจ 7 ตามสภาวะการตาง ๆ
  • 21. 7.จริยธรรมของพนักงาน/ลูกจาง รศ.วิมล เอมโอช ขอพึงปฏิบัติของพนักงาน 1 เริ่มทํางานกอน 2 เลิกงานทีหลัง 3 เอาแตของทีนายให ่ 4 ทําการงานใหเรียบรอยและดียิ่งขึ้น 5 นําความดีของนายและกิจการไปเผยแพร
  • 22. ขอคิดเตือนใจสําหรับนายจางและลูกจาง 8 อยาก รศ.วิมล เอมโอช แปดอยาก อยากมีเงิน ตองทํางาน จึงพานพบ อยากเรียนจบ ตองขยัน หมั่นศึกษา ถาอยากรัก ตองฝกใฝ เวียนไปมา อยากมีหนา เสนอหนา อาสาคน อยากมีเกียรติ เลิกชั่ว อยากลัวอด อยากมียศ กลาแข็ง ทุกแหงหน อยากเปนหนึ่ง ตองพึ่ง ตัวของตน อยากเปนคน ตองมีธรรม ประจําใจ จาก วัดสวนแกว
  • 23. จริยธรรมของครูอาจารย รศ.วิมล เอมโอช อาชีพครู อาจารย เปนอาชีพที่คน ในสังคมตั้งความหวังไวสูงวาจะตองเปน คนดี มีคุณธรรม จริยธรรมสูง เปน ตัวอยางเปนผูนาที่ทุกคนในสังคมจะตอง ํ พึ่งพาได นอกจากมีคุณธรรมจริยธรรม เชนเดียวกับคนทั่วไปแลว ยังตองมี จรรยาบรรณของอาชีพอีกดวย หลักธรรมและจริยธรรมที่ควรยึดถือ ปฏิบัติไดแก
  • 24. จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ) รศ.วิมล เอมโอช 1. สุจริต 3 1.กายสุจริต คือความสุจริตทางกาย คือยึดถือปฏิบัติ ในสิ่งที่ถูกตองดีงามเหมาะสม 2.วจีสุจริต คือ ความสุจริตทางวาจา คือพูดในสิ่งที่ดี งาม ถูกตอง ไพเราะ ไมนินทาเยาะเยย ถากถาง ไม พูดโกหก 3.มโนสุจริต คือ ความสุจริตทางใจคือคิดในสิ่งที่ดี งาม ถูกตอง ไมมีอคติหรือลําเอียงมีใจเปนธรรมทุก คน ไมอิจฉาหรือปองรายใคร
  • 25. จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ) รศ.วิมล เอมโอช 2.พรหมวิหาร 4 1. เมตตา (ความรัก) คือความปรารถนาดี ตองการ ชวยเหลือผูอื่นใหมความสุข ี หลักธรรมเรื่องพรหม 2.กรุณา (ความสงสาร) คืออยากชวยเหลือผูอื่นให วิ ห าร 4 ผู มี อ าชี พ ครู พนจากความทุกข ใฝใจที่จะปลดเปลื้องบําบัดความ ตองยึดมั่นและใชเสมอ ทุกขใหแกผูอื่น และควรเลื อ กใช ใ ห 3.มุทิตา (ความเบิกบานพลอยยินดี)เมื่อเห็นผูอื่นอยูดี เหมาะสมกั บ โอกาส มีสุข ก็มีใจแชมชื่นเบิกบานและยินดีดวย ตามสถานการณอยาง เหมาะสม 4. อุเบกขา (ความมีใจเปนกลาง) คือมองตามความ เปนจริง เที่ยงตรง มองเห็นความจริงวาบุคคลจะ ไดรับผลดีหรือชั่วดวยการกระทําของตนเอง
  • 26. จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ) รศ.วิมล เอมโอช 3. กัลยาณมิตร 7 ปโย (นารัก) คือ มีเมตตากรุณา ใสใจคนและประโยชนสุข 1 ของเขา เขาถึงจิตใจ สรางความรูสึกสนิทสนมเปนกันเอง ครุ (นาเคารพ) คือ เปนผูหนักแนน ถือหลักการเปนสําคัญและมี 2 ความประพฤติใหสมควรแกฐานะ ทําใหรูสึกอบอุนเปนทีพงได ่ ึ่ ภาวนิโย (นาเจริญใจ) คือ มีความรูจริง ทรงภูมิปญญาแทจริง 3 และเปนผูฝกฝนปรับปรุงตนอยูเสมอ นายกยองควรเอาอยาง ทําใหศิษยเอยอางและรําลึกถึงดวยความซาบซึงมั่นใจและ ้ ภาคภูมิใจ
  • 27. จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ) รศ.วิมล เอมโอช 3. กัลยาณมิตร 7 (ตอ) วตฺตา (รูจักพูดใหไดผล) คือรูจักชี้แจงใหเขาใจรูวาเมื่อไรควร  4 พูดอะไร อยางไร วากลาวตักเตือนไดดี วจฺนกฺขโม (อดทนตอถอยคํา) คือพรอมที่จะรับฟงคําปรึกษา 5 ซักถาม ตลอดจนคําลวงเกินและคําตักเตือนวิพากษวิจารณตาง ๆ อดทนฟงได ไมเบือหนายไมเสียอารมณ ่
  • 28. จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ) รศ.วิมล เอมโอช 3. กัลยาณมิตร 7 (ตอ) คมฺภีรฺจกถํกตฺตา (แถลงเรื่องล้ําลึกได) คือกลาวชี้แจงเรื่อง 6 ตาง ๆ ที่ยุงยากลึกซึงใหเขาใจไดและสอนศิษยใหไดเรียนรูเรื่องราว ้ ที่ลึกซึงยิงขึ้นไป ้ ่ โนจฏญาเน นิโยชาย คือไมชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสียหรือ 7 เหลวไหลไมสมควร เชนไมชักชวนใหสูบบุหรี่ ดื่มน้ําเมา เที่ยว กลางคืน เปนตน
  • 29. จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ) รศ.วิมล เอมโอช 4. อารยธรรม10 (1)ละเวนการฆา ทางกาย (2)ละเวนการแยงชิงลักขโมย 3 (3)ละเวนการประพฤติผิดในของรักของหวงของผูอื่น (4)ละเวนการพูดเท็จ (5)ละเวนการพูดสอเสียด ยุยง ทางวาจา 4 (6)ละเวนการพูดคําหยาบ กาวราว (7)ละเวนการพูดเหลวไหลเพอเจอ (8)ไมละโมบ ไมคิดเอาแตได รูจักเสียสละ (9)ไมคิดมุงเบียดเบียน หรือมุงทําลายผูอื่น ทางใจ 3 (10)มีความเห็นถูกตอง ยึดหลักธรรม
  • 30. จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ) รศ.วิมล เอมโอช 4. อารยธรรม10 (ตอ) สําหรับอายธรรม 10 ประการนี้ หากพิจารณาแลวจะเห็นวาปฏิบัติดี คือ การประพฤติตามหลักของศีล 5 นั่นเอง ซึ่งหากผูใดประพฤติปฏิบัติ ไดยอมเวนจากการทําชั่ว ทั้งทางกาย วาจา และใจนั่นเอง ซึ่งใชไดกับทุก อาชีพ มิใชเพียงแตครูอาจารยเทานั้น
  • 31. คํากลอนเตือนใจสําหรับ ครู/อาจารย รศ.วิมล เอมโอช อาชีพครู ควรรอบรูสารพัด ควรเครงครัดหางตัณหาอยาถลํา ควรประพฤติยึดดีมีประจํา ประพฤติธรรมใหประจักษวารักดี ผศ.วีระ รักความสุข
  • 32. คํากลอนเตือนใจสําหรับ ครู/อาจารย (ตอ) รศ.วิมล เอมโอช ครู....ดีเมตตาศิษยคิดสั่งสอน คือ.....สังวรในหนาที่อุปถัมภ ผู.......ยึดหลักบริสุทธิ์ยุติธรรม ให....จดจําหลักวิชากาวหนาไกล ผศ.วีระ รักความสุข
  • 33. คํากลอนเตือนใจสําหรับ ครู/อาจารย (ตอ) รศ.วิมล เอมโอช ความรูคูคุณธรรม  เมื่อความรูยอดเยียมสูงเทียมเมฆ ่ แตคุณธรรมต่ําเฉกยอดหญานั่น อาจเสกสรางมิจฉาสารพัน เพราะจิตอันไรอายในโลกา แมคุณธรรมสูงเยี่ยมถึงเทียมเมฆ แตความรูต่ําเฉกเพียงยอดหญา ยอมเปนเหยื่อจารชนจนอุรา ดานปญญาออนดอยนานอยใจ หากความรูสูงล้ําคุณธรรมเลิศ แสนประเสริฐกอปรกิจวินิจฉัย (ศาสตราจารยอําไพ สุจริตกุล) อําไพ สุจริตกุล.ปาฐกถา ครั้งที่ ๖ คุณธรรมครูไทย จะพัฒนาประชาราษฎรทั้งชาติไทย คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ: ตองฝกใหความรูคูคุณธรรม โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๕๓ : ๓๐๔-๓๐๕.
  • 34. จริยธรรมของครูอาจารย (ตอ) รศ.วิมล เอมโอช คนทุ ก คนทุ ก ชาติ ทุ ก ภาษาควรมี ห ลัก ธรรมเป น เครื่องยึดเหนี่ยวประจําใจของตนเพราะศาสนาทุก ศาสนาสอนใหคนเปนคนดี มีศีลมีธรรมดวยกัน ทุกศาสนาแมแตคนที่ไมมีศาสนา หากตองการ เป น คนดี ก็ ค วรมี เ ครื่ อ งยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจให ใ ฝ ดี ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ใ นทางดี ง ามจึ ง จะเป น คนที่ มี คุณคาตอการเกิดมาในโลกนี้
  • 35. รศ.วิมล เอมโอช สิ่งล้ําคาที่สุดของคนเราคือชีวิต สิ่งที่สวยงามที่สุดของคนเรานัน ้ ก็คืองานที่เราสรางขึ้น และสามารถรับ ใชประชาชนตอไปภายหลังที่ชีวิตของ เราดับสูญไปแลว นิโคลไรน อาชาลอฟสกี้
  • 36. รศ.วิมล เอมโอช คณะครุศาสตร LOGO มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี