SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  51
STANDARDS
SECURITY
& PRIVACY
LAWS
SECURE
E-TRANSACTION
DEVELOPMENT
QUALITY OF
LIFE
ECONOMY
LOGICAL
INFRASTRUCTURE
www.etda.or.th
รายงานประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๕๕
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2011 - 2012
Annual Report 2011 - 2012
รายงานประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๕๕
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
จัดท�ำโดย
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
ETDA : Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)
Copyright © ๒๐๑๒ All rights reserved
สงวนลิขสิทธิ์โดย
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ ๑๒๐ ม.๓ อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ชั้น ๗
ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๑๔๒ ๑๑๖๐
www.etda.or.th
www.etda.or.th
คำ�นำ�
สารจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สารจากประธานกรรมการ
สารจากปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สารจากผู้อำ�นวยการ
คำ�นิยมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และที่ปรึกษา สพธอ.
ก้าวแรกของ สพธอ.
คณะกรรมการบริหาร สพธอ.
โครงสร้าง สพธอ.
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ สพธอ.
ยุทธศาสตร์การดำ�เนินงานของ สพธอ.
แผนยุทธศาสตร์ สพธอ. พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘
ผลการดำ�เนินงานสำ�คัญของ สพธอ.
ผลงานสำ�คัญประจำ�ปี ๒๕๕๕
	 ๑. ด้านนโยบายและส่งเสริมการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
	 ๒. ด้านความมั่นคงปลอดภัย
	 ๓. ด้านกฎหมาย
	 ๔. ด้านมาตรฐาน
	 ๕. ด้านวิจัย และ พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
	 ๖. ด้านอื่นๆ
สรุปกิจกรรมสำ�คัญในรอบปี
รายงานงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
แผนการดำ�เนินงานปี ๒๕๕๖
การบริหารจัดการองค์กรในก้าวต่อไป
สารบัญ
๑
๔
๗
๘
๑๑
๑๒
๑๕
๑๘
๒๒
๒๖
๒๘
๓๐
๓๒
๓๕
๓๘
๔๒
๕๒
๖๐
๖๖
๗๒
๗๖
๘๐
๘๔
๘๘
๙๔
คำ�นำ�
ซึ่งผลักดันโดยคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ที่จัดตั้งขึ้นภายใต้กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
โดยมีส�ำนักงานคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ภายใต้ส�ำนักงานปลัดกระทรวงไอซีที ท�ำหน้าที่เป็นฝ่าย
เลขานุการคณะกรรมการดังกล่าว
	 หากแต่การด�ำเนินงานทางปฏิบัติโดยเน้นให้ความ
ส�ำคัญกับการพัฒนา Soft Infrastructure ของ
คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ อันสอดคล้องกับ
นโยบายของรัฐบาลและเอื้อให้การท�ำธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์เติบโตในภาพรวมนั้น คณะกรรมการธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
พัฒนาระบบราชการ และคณะรัฐมนตรีตามล�ำดับ จึงได้
ผลักดันให้มีการจัดตั้งส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ขึ้นตาม
พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อให้ท�ำ
หน้าที่พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ โดยให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินการและ
การให้บริการเกี่ยวกับ Soft Infrastructure รวมถึง
การสร้างและพัฒนาคน หรือบุคลากร เพื่อให้มีจ�ำนวน
ผู้เชี่ยวชาญที่มีทักษะสูงด้านความมั่นคงปลอดภัย อันเป็น
สาขาวิชาชีพที่จ�ำเป็นและขาดแคลนให้มีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น
ตามความต้องการของประเทศ
	 การท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์(e-Transactions)
นับเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
ให้มีความทัดเทียมกับนานาประเทศ ทั้งในการสร้างมูลค่า
เพิ่มทางเศรษฐกิจ ซึ่งเพียงเฉพาะมูลค่าพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศเมื่อปี ๒๕๕๔ ก็มีมูลค่าสูงถึง
๖๐๘,๕๘๗ ล้านบาท และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ทั้งยัง
เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ช่วยยกระดับความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศ รวมทั้งยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน
	 เมื่อกล่าวถึงการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
หรือการท�ำธุรกรรมทางออนไลน์ ซึ่งครอบคลุมทั้งการซื้อขาย
การว่าจ้าง การให้บริการทั้งในภาคเอกชนที่เป็นการ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการให้บริการภาครัฐทาง
ออนไลน์ที่มักเรียกการให้บริการของรัฐในลักษณะนี้ว่า
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม ความส�ำเร็จของ
การท�ำธุรกรรมทางออนไลน์นั้น มิใช่เพียงแต่มีเว็บไซต์
ส�ำหรับการซื้อขาย หรือเพื่อให้บริการเท่านั้น หากแต่ยัง
รวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมิใช่แต่เพียง
โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพที่จับต้องได้ หากแต่เป็น
โครงสร้างพื้นฐานในลักษณะที่เป็นนโยบาย ยุทธศาสตร์
กฎหมาย มาตรฐาน ความมั่นคงปลอดภัย ที่เปรียบเสมือน
เป็น Soft Infrastructue อันส�ำคัญยิ่งต่อการพัฒนาและ
ส่งเสริมการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในภาพรวม
	 ดังนั้น การจัดท�ำรายงานประจ�ำปีฉบับนี้ของ
สพธอ. จึงเป็นการสรุปและรวบรวมผลการด�ำเนินงาน
ของ สพธอ. นับตั้งแต่มีการจัดตั้ง สพธอ. เมื่อวันที่ ๒๒
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ จนถึงกันยายน ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา
รายงานประจ�ำปีฉบับแรกนี้ของ สพธอ. จึงถ่ายทอดเรื่องราว
และผลงานที่หน่วยงานซึ่งเพิ่งจัดตั้งอย่าง สพธอ.
ได้ด�ำเนินการท่ามกลางข้อจ�ำกัดปัญหาและอุปสรรคนานัปการ
หากแต่กลับเป็นความท้าทายอันส�ำคัญยิ่งซึ่งผลักดันให้
สพธอ. ยังคงมุ่งมั่นที่จะก้าวเดินต่อไปอย่างพร้อมรับมือ
กับสถานการณ์ใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้น เพื่อตอบโจทย์และ
ความต้องการของประเทศในปีต่อๆ ไป
สุรางคณา วายุภาพ
ผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 1
ผมเชื่อมั่นและไว้วางใจส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์การมหาชน) ว่าเป็นอีกหนึ่งหน่วยงานส�ำคัญที่จะน�ำพาประเทศไทยให้ก้าวเข้าสู่
สังคมอุดมปัญญา (Smart Thailand) ที่ร่วมพลิกฟื้นและสร้างความพร้อมของการเป็น
ผู้น�ำด้านไอซีทีในประชาคมอาเซียน ด้วยการพัฒนานโยบาย กฎหมาย มาตรฐาน และ
การเสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เพื่อสนับสนุนความยั่งยืนในการพัฒนาไอซีที
เพื่อใช้ในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ
นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ์ นาครทรรพ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สพธอ. กับบทบาทสำ�คัญที่ช่วยผลักดัน
Smart Thailand
รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕
Annual Report 20122
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ในการท�ำ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มีความ
ส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการด�ำเนินงานของ
องค์กรและชีวิตประจ�ำวันของผู้คนใน
สังคม ผมทั้งในฐานะปลัดกระทรวง
ไอซีที รองประธานกรรมการธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ และในฐานะ
กรรมการบริหารของ สพธอ. จึงมี
ความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่วันนี้
กระทรวงไอซีทีมีหน่วยงานอย่าง
สพธอ. มาช่วยขับเคลื่อนการด�ำเนิน
การทางปฏิบัติ ทั้งตามนโยบายของ
รัฐบาล และตามยุทธศาสตร์ของ
กระทรวงไอซีที
สพธอ. กับบทบาทเชิงรุก
ของกระทรวงไอซีที
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ
สพธอ. จึงเป็นกลไกส�ำคัญที่สนับสนุน
การด�ำเนินนโยบายของกระทรวง
ไอซีทีในเชิงรุก
ดังนั้น ถึงแม้สพธอ. จะเป็น
หน่วยงานที่เพิ่งจัดตั้งได้ไม่นาน แต่ผล
การด�ำเนินงานในระยะเวลาที่ผ่านมา
ได้แสดงให้เห็นถึงความพยายาม และ
ความตั้งใจทั้งในด้านการวางแผน การ
เชื่อมโยงการด�ำเนินงานร่วมกับ
กระทรวงไอซีที รวมถึงหน่วยงาน ๆ
อื่นที่เกี่ยวข้องได้เป็นอย่างดี ผมจึงมี
ความเชื่อมั่นว่า จากความมุ่งมั่นใน
การด�ำเนินงานของสพธอ. จะมีส่วน
ส�ำคัญยิ่งที่ช่วยพัฒนา ส่งเสริม และ
สนับสนุนการท�ำธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยให้มี
ความมั่นคงปลอดภัยและเติบโตมาก
ยิ่งขึ้น อันเป็นภารกิจส�ำคัญประการ
หนึ่งที่กระทรวงไอซีทีให้ความส�ำคัญ
ไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์
ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 5
นับตั้งแต่ผมและกรรมการ
บริหารทุกท่านได้เข้ามามีบทบาทในการ
บริหารงาน ร่วมกับทีมงานคนรุ่นใหม่ไฟ
แรงของ สพธอ. ซึ่งแต่ละคนจะมาจาก
หลายวัฒนธรรมทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ
และภาคเอกชน แต่สิ่งหนึ่งที่ทุกคนต่างก็
มีเป้าหมายเดียวกันนั่นก็คือ ความมุ่งมั่น
ที่จะขับเคลื่อนภารกิจของ สพธอ. ในการ
ท�ำหน้าที่ส่งเสริมและสร้างความเชื่อมั่น
ในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ
ประเทศ เพื่อเพิ่มมูลค่าในเชิงเศรษฐกิจ
และคุณภาพชีวิตของสังคมให้ดียิ่งขึ้น
	 ดังนั้น จึงถือเป็นความท้าทาย
ส�ำหรับ สพธอ. อย่างยิ่งที่จะต้องวาง
กลยุทธ์ส�ำคัญทั้งทางด้านนโยบายและส่ง
เสริมด้วยการมีข้อมูลผลการวิเคราะห์
ตัวเลขจากแหล่งที่ถูกต้องและเชื่อถือได้
สารจากประธานกรรมการ
เพื่อให้ประเทศไทยมีฐานข้อมูลสถิติ
(Baseline) ส�ำคัญส�ำหรับชี้วัดการเติบโต
ในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ
ประเทศในปีต่อๆ ไป และเพื่อประโยชน์
ต่อการวางแผนทางธุรกิจ หรือการวาง
นโยบายหรือยุทธศาสตร์ของรัฐ ไม่เพียง
เท่านี้ สพธอ. ยังให้ความส�ำคัญกับการ
วางโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่มี
ความมั่นคงปลอดภัย เพื่อให้ประชาชนมี
ความเชื่อมั่นในการท�ำธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ โดยจากการด�ำเนินงานที่
ผ่านมา สพธอ. ได้ผลักดันภารกิจด้าน
Security ทั้งในเชิงรุกโดยการสร้างความ
ตระหนักด้านความมั่นคงปลอดภัยในการ
ท�ำธุรกรรมฯ รวมถึงการสร้างบุคลากร
ด้าน Security ให้เพิ่มมากขึ้น และในเชิง
รับก็ได้ตั้งเป้าหมายส�ำคัญในการจัดการ
และวิเคราะห์ภัยคุกคามประเภท
Phishing ให้ได้ร้อยละ ๘๐ ของ
ภัยคุกคามที่ได้รับแจ้งภายใน ๒ วัน
ท�ำการ ทั้งนี้ การผลักดันการท�ำธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้กล่าวมาแล้วข้าง
ต้นจะประสบความส�ำเร็จไม่ได้หากขาด
ความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งในประเทศ
และต่างประเทศที่ได้ท�ำงานร่วมกันอย่าง
บูรณาการ
	 ในโอกาสนี้ ผมในฐานะ
ประธานกรรมการจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
รายงานประจ�ำปีฉบับนี้ จะช่วยเผยแพร่
ผลงานที่ส�ำคัญของ สพธอ. ในรอบปีที่
ผ่านมาให้เป็นที่รับทราบ และหวังให้ทุก
ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมแรงร่วมใจเพื่อ
ขับเคลื่อนธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ
ประเทศไทยให้มีความเจริญก้าวหน้า
ยิ่งขึ้นต่อไป
จรัมพร โชติกเสถียร
ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการบริหารสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕
Annual Report 20126
ด้วยส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
หรือ สพธอ. ได้รับมอบหมายให้ผลักดัน
ภารกิจที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง นั่นคือ เป็นหน่วย
งานส�ำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน และ
ผลักดันการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ของประเทศ ซึ่งมีโจทย์มากมายที่ได้รับ
และต้องเร่งด�ำเนินการด้วยความรวดเร็ว
ในขณะที่ การด�ำเนินงานในระยะแรกนั้น
ต้องประสบกับอุปสรรคมากมายเนื่องจาก
เป็นองค์กรตั้งใหม่ มีข้อจ�ำกัดด้านงบ
ประมาณ รวมถึงปัญหาทางด้าน
ทรัพยากรที่จ�ำเป็นในการด�ำเนินงาน
ซึ่งถือว่าเป็นภารกิจที่ท้าท้ายเป็นอย่างยิ่ง
สารจากผู้อำ�นวยการ
ส�ำหรับคนท�ำงานงานในรุ่นบุกเบิก
	 แต่สิ่งส�ำคัญที่สามารถท�ำให้
สพธอ. ผ่านพ้นช่วงเวลาดังกล่าวมาได้
คือ ความมุ่งมั่นและตั้งใจจริงในการ
ท�ำงาน และความมุ่งหวังที่อยากเห็น
ประเทศไทยมีความรุดหน้าในการท�ำ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในทุกๆ ด้าน
ดังนั้น ความส�ำเร็จของ สพธอ. ในปีแรก
จึงเกิดขึ้น จากการท�ำงานของคลื่นลูก
ใหม่ที่ต้องเข้ามาแบกรับภารกิจส�ำคัญใน
ระดับประเทศ และความพยายามที่
อยากจะผลักดันให้ สพธอ. เป็น
หน่วยงานที่มีรูปแบบการท�ำงานที่มี
ความแตกต่าง คล่องตัว เต็มไปด้วย
ความคิดสร้างสรรค์ และลงลึกถึงปัญหา
ที่เกิดขึ้นจริงในการท�ำธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ เพื่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด
สามารถตอบสนองนโยบายส�ำคัญของ
รัฐบาล ตลอดจนช่วยเพิ่มมูลค่าทาง
เศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของคนใน
สังคมได้อย่างแท้จริง
สุรางคณา วายุภาพ
ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 9
เมื่อกล่าวถึงกระทรวงไอซีที หลาย
คนอาจคิดถึงเพียงการส่งเสริมให้มีการใช้
อินเทอร์เน็ต 3G หรือ 4G ในประเทศไทย
หรือบางครั้งก็นึกถึงแต่เพียงการปิดเว็บไซต์ผิด
กฎหมายของกระทรวงฯ ที่ผ่านมากระทรวง
ไอซีทีอาจทำ�งานแบบตั้งรับ แต่วันนี้ที่มี สพธอ.
นับเป็น Look ใหม่ของกระทรวง ICT ที่ได้เห็น
ความสำ�คัญในการผลักดันเศรษฐกิจของประเทศ
และเป็นหน่วยงานหลักที่มีบทบาทสำ�คัญในการ
ขับเคลื่อนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ
ประเทศไทยให้มีความเข้มแข็งและพร้อมก้าวเข้า
สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ต่อไป
จีราวรรณ  บุญเพิ่ม
อดีตกรรมการบริหาร สพธอ. และปลัดกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร (ช่วงจัดตั้ง สพธอ. )
	 การทำ�ธุรกรรมทางออนไลน์เป็น
เรื่องที่ต้องทำ�ตามข้อกำ�หนด และแนวปฏิบัติ
ทางเทคนิคอย่างเป็นขั้นเป็นตอน...หาใช่เรื่องที่
ทำ�ตามสัญชาตญาณไม่ ทั้งนี้ องค์กรที่จะก้าว
สู่ยุคการทำ�ธุรกรรมออนไลน์ได้อย่างสัมฤทธิ์
ผล บุคลากรในองค์กรจะต้องเรียนรู้ และต้อง
เข้าใจข้อกำ�หนด และแนวปฏิบัติของการทำ�
ธุรกรรมออนไลน์ที่ถูกต้อง และต้องปรับตัว
ตามกระบวนการทำ�งานที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง
ปฏิเสธมิได้ ดังนั้น การสนับสนุนของ สพธอ.
ต่อองค์กรของรัฐและองค์กรเอกชนให้ประยุกต์
ใช้ข้อกำ�หนด แนวปฏิบัติ การรักษาความมั่นคง
ปลอดภัย ตลอดจนมาตรฐานต่าง ๆ ได้อย่าง
ถูกต้องจะช่วยสร้างความเชื่อมั่น อันนำ�ไปสู่
การเพิ่มคุณค่าและปริมาณของธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศได้อย่างมีนัยสำ�คัญ
เสาวณี สุวรรณชีพ
อดีตกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
คำ�นิยมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
และที่ปรึกษาของ
สพธอ.
	 การจัดตั้งสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ ขึ้นเป็นองค์การมหาชน
นับเป็นความทันต่อวิวัฒนาการของโลกในยุค
ที่ไร้พรมแดนเช่นนี้ การนำ�พาประเทศชาติ
ไปสู่การเป็น SMART Thailand เป็นภารกิจ
ใหญ่หลวง ที่ต้องอาศัยความทุ่มเทกำ�ลังกาย
กำ�ลังใจของทั้งผู้บริหารและพนักงาน ซึ่งแม้
จะเป็นองค์การมหาชนน้องใหม่ ก็เป็น
เพียงความใหม่ของชื่อและภารกิจของ
หน่วยงานเท่านั้นคณะผู้บริหารและเหล่า
พนักงานล้วนแล้วแต่เป็นผู้มีศักยภาพ
มีประสบการณ์สูงและมีความมุ่งมั่นอย่างเห็น
ได้ชัดในการที่จะผลักดันให้มีการทำ�ธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างมั่นคงปลอดภัย
อย่างไรก็ตาม ภารกิจด้านนี้จำ�เป็นจะต้องได้รับ
ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และใช้เวลานาน
พอสมควร เท่าที่ผ่านมาจึงนับเป็นก้าวแรกที่
มั่นคง และจะเป็นฐานของก้าวต่อ ๆ ไปที่มุ่งสู่
SMART Thailand ได้ในอนาคตอันสั้นนี้
วลัยรัตน์ ศรีอรุณ
อดีตผู้อำ�นวยการสำ�นักงบประมาณ
และกรรมการบริหาร สพธอ.
	 ปัจจุบันธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ได้กลายเป็นกลไกสำ�คัญทั้งในเชิงพาณิชย์และ
การให้บริการภาครัฐ เนื่องจากมีส่วนช่วย
อำ�นวยความสะดวก เพิ่มความรวดเร็วและความ
คล่องตัว ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายใน
การดำ�เนินการทำ�นิติกรรมสัญญาทางแพ่ง
การปฏิบัติตามข้อกำ�หนดทางกฎหมาย
และการติดต่อกับส่วนราชการเพื่อให้ได้มาซึ่ง
คำ�สั่งทางปกครอง ตลอดจนการปฏิบัติตาม
คำ�สั่งทางปกครองโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ
ชำ�ระหนี้ให้แก่ภาครัฐ ดังนั้น เพื่อให้ประชาชน
ผู้ใช้งานมีความเชื่อมั่นและมั่นใจในการ
ทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น
บทบาทที่สำ�คัญของ สพธอ. จึงเป็นการเข้า
มาดูแลและส่งเสริมให้การทำ�ธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความถูกต้อง
ครบถ้วน ความเชื่อมั่นในความมั่นคงปลอดภัย
ของการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้ง
สอดคล้องตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิด
การใช้งานธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างมี
ประสิทธิภาพสูงสุด
กมลชัย รัตนสกาววงศ์
ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของ สพธอ.
	 สพธอ. มีบทบาทสำ�คัญในการ
ผลักดันภารกิจระดับชาติ ที่เรียกว่าโครงการ
National Single Window (NSW) ซึ่ง
โครงการนี้เน้นการส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยง
ข้อมูลแบบบูรณาการทั้งภายในประเทศและ
ระหว่างประเทศ ซึ่งจะต้องได้รับความร่วมมือ
จาก Stake Holder ตั้งแต่ผู้กำ�หนดนโยบาย
ผู้กำ�หนดหลักเกณฑ์ทั้งในส่วนของกฎหมาย
ระเบียบ และหน่วยงานผู้ปฏิบัติการ เช่น
กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง กระทรวง
ICT สพธอ. สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวง
อุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งผู้ประกอบการที่จะต้องเข้าสู่ระบบ
NSW ทั้งนี้ สำ�หรับ สพธอ. ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มี
องค์ความรู้สำ�คัญในการพัฒนากฎหมายและการ
วางกรอบมาตรฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร ก็มีความจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะ
ต้องมาร่วมมือกันในโครงการระดับชาติเพื่อนำ�
องค์ความรู้ที่มีมาสนับสนุนการดำ�เนินโครงการ
NSW ให้ประสบความสำ�เร็จต่อไป
จันทิมา สิริแสงทักษิณ
ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงไอซีที
รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕
Annual Report 201210 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 11
ก้าวแรกของ สพธอ.
	 กว่าสิบปีที่ผ่านมาได้มีการคาดการณ์ว่า “ไอที” จะมี
ความสำ�คัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ และ “อินเทอร์เน็ต”
จะเข้าไปมีบทบาทต่อการดำ�เนินชีวิตของผู้คนในสังคม
การทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือธุรกรรมทางออนไลน์
จะส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ
ซึ่งจำ�เป็นต้องผลักดันให้มีโครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมายรองรับ
นิติสัมพันธ์ที่มีการดำ�เนินการผ่านวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ
อินเทอร์เน็ตโดยการประยุกต์ใช้ไอที และจำ�เป็นต้องกำ�หนด
ให้มีคณะกรรมการระดับชาติที่มีภารกิจหลักในการส่งเสริม
และสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมดังกล่าว ดังนั้นเมื่อวันที่ ๑๕
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ คณะรัฐมนตรีจึงเห็นชอบให้มีการจัดทำ�
โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามที่กระทรวง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม (ชื่อในขณะนั้น) เสนอ
และได้มอบหมายให้คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ
แห่งชาติเป็นผู้รับผิดชอบในการประสานงานร่วมกับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องในการยกร่างกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับต่าง ๆ
โดยมีศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(เนคเทค) ภายใต้สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการของคณะกรรมการ
เทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติเพื่อให้ทำ�หน้าที่ในการยกร่าง
กฎหมาย ซึ่งเมื่อกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับแรก
ของประเทศไทย คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้ประกาศใช้ ก็ได้กำ�หนดให้
เนคเทค ทำ�หน้าที่เป็นหน่วยงานเลขานุการของคณะกรรมการ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นคณะกรรมการระดับชาติ
ตามกฎหมายดังกล่าว อันถือเป็นจุดเริ่มต้นของการมีหน่วยงาน
ที่ทำ�หน้าที่ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์แห่งแรกของประเทศไทย
	 ต่อมาหลังจากได้มีการตั้งกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารมาได้ระยะหนึ่ง จึงได้มีการโอน
ภารกิจในส่วนงานเลขานุการของคณะกรรมการธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ไปเป็นของสำ�นักงานคณะกรรมการธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ในสังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร โดยได้มีการปรับปรุงพระราชบัญญัติ
ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ เพื่อให้
สอดคล้องกับการปรับปรุงโครงสร้างของส่วนราชการในขณะนั้น
พร้อมกับปรับปรุงกฎหมายฉบับดังกล่าวเพื่อให้สามารถรองรับ
การทำ�ธุรกรรมต่างๆ ในรูปของเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ให้ชัดเจน
มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม แม้เนคเทคได้โอนภารกิจงานเลขานุการ
ให้กับสำ�นักงานปลัดกระทรวงไอซีทีไปแล้วก็ตาม หากแต่
ภายใต้การดำ�เนินงานของเนคเทคก็ยังคงมีส่วนงานที่ศึกษา
วิจัยและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่จำ�เป็นต่อการ
ทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในด้านต่างๆ เช่น การพัฒนา
นโยบาย แผนแม่บท กฎหมาย มาตรฐาน และความมั่นคง
ปลอดภัยสารสนเทศ อันเป็นภารกิจที่เนคเทคก็ยังคงสนับสนุน
การดำ�เนินงานของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
มาอย่างต่อเนื่อง
	 จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ด้วยเหตุผลความจำ�เป็น
ในการดำ�เนินงานของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ซึ่งมีบทบาทสำ�คัญในการกำ�หนดนโยบายและทิศทางการ
ทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ เพื่อให้เป็นกลไก
สำ�คัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน ทั้งในด้านการกำ�หนดแนวทางการให้บริการของรัฐ
ให้มีมาตรฐานและความน่าเชื่อถือ การควบคุมดูแลธุรกิจบริการที่
เกี่ยวข้องกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อป้องกันความเสี่ยงและ
ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นต่อสาธารณชน รวมถึงเสนอแนะการ
ตรากฎหมายหรือเสนอมาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ที่เกี่ยวข้องต่อคณะรัฐมนตรี อันเป็นบทบาทภารกิจที่มีความ
หลากหลาย จึงจำ�เป็นต้องมีหน่วยงานที่มีความเป็นอิสระและ
มีความคล่องตัวในการบริหารจัดการในรูปแบบองค์การมหาชน
ทำ�หน้าที่สนับสนุนการดำ�เนินงาน เพื่อให้สามารถนำ�นโยบายและ
แผนการดำ�เนินงานของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 13
ไปปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมได้ แต่เนื่องจากการจัดตั้ง
องค์การมหาชนโดยกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ คือ
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์นั้นจำ�เป็นต้อง
ใช้ระยะเวลาในการดำ�เนินการในกระบวนการนิติบัญญัติ ดังนั้น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน
ขณะนั้น คือ นายจุติ ไกรฤกษ์ ในฐานะประธานคณะกรรมการ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงได้เสนอต่อคณะรัฐมนตรีให้มีการ
จัดตั้งหน่วยงานโดยการตราพระราชกฤษฎีกาตามพระราชบัญญัติ
องค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ แทน ต่อมาคณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติ
เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ และวันที่ ๒๑ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้มีการจัดตั้งสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นเป็นองค์การมหาชน และเมื่อพระราชกฤษฎีกา
จัดตั้งสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
พ.ศ. ๒๕๕๔ มีผลใช้บังคับในวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
(Electronic Transactions Development Agency (Public
Organization)) หรือ สพธอ. (ETDA) จึงได้จัดตั้งขึ้นนับแต่วันนั้น
และเพื่อให้หน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นใหม่สามารถเริ่มดำ�เนินการ
ในทันทีที่แรกตั้ง คณะรัฐมนตรีก็ได้มีมติให้มีการโอนภารกิจ
บางส่วนที่เนคเทคยังคงสนับสนุนคณะกรรมการธุรกรรม
	 นอกจากนั้น สพธอ. ยังมีภารกิจในการสนับสนุนการ
ดำ�เนินงานของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ใน
ลักษณะเป็นหน่วยงานทางวิชาการและหน่วยปฏิบัติในการพัฒนา
และจัดทำ�และนำ�เอานโยบาย แผนการดำ�เนินงาน หรือข้อเสนอ
แนะของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ไปปฏิบัติให้เกิด
ผล โดยการดำ�เนินงานร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การยกร่างแผนแม่บทเกี่ยวกับธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐
การจัดทำ�มาตรฐานการชำ�ระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ การทำ�หน้าที่
เป็นหน่วยงานรับรองสิ่งพิมพ์ออก การยกร่างกฎหมายลำ�ดับรอง
ภายใต้กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
	 บทบาทที่สำ�คัญของ สพธอ. อีกประการคือทำ�หน้าที่
เป็นหน่วยงานเลขานุการของคณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัย
ไซเบอร์แห่งชาติ (National Cyber Security Committee)
ที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานคณะกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการ
ดังกล่าวมีบทบาทสำ�คัญในด้านการจัดทำ�นโยบายและแผนแม่บท
ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ เพื่อเป็นแนวทางในการ
ป้องกัน ลดความเสี่ยง ปกป้อง และรับมือจากสถานการณ์ด้าน
ภัยคุกคามในไซเบอร์ อันกระทบต่อความมั่นคงของชาติทั้งจาก
ภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งเป็นภัยคุกคามรูปแบบใหม่ที่
นับวันจะทวีความรุนแรงและส่งผลกระทบต่อประชาชนในวงกว้าง
มากยิ่งขึ้น	
2554
ภารกิจที่กำ�หนดไว้ใน พ.ร.ฎ.จัดตั้ง สพธอ.
	 ๑)	พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการทำ�ธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ
	 ๒)	ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาแก่อุตสาหกรรมขนาดกลาง
และขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน
	 ๓)	ทำ�หน้าที่ศึกษาความต้องการโครงสร้างพื้นฐาน
สารสนเทศที่จะรองรับการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ธุรกิจบริการ และการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ภาครัฐหรืองานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้อง
	 ๔) ดำ�เนินการเกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารที่จำ�เป็นต่อการทำ�ธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์
	 ๕) ให้บริการที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร ตลอดจนยกระดับการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวกับ
มาตรฐานและความมั่นคงปลอดภัย
ทางอิเล็กทรอนิกส์อยู่ในขณะนั้น ไปยัง สพธอ. เช่น ภารกิจ
ด้านนโยบาย กฎหมาย มาตรฐาน และความมั่นคงปลอดภัย
รวมทั้งศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย
ระบบคอมพิวเตอร์ (Thailand Computer Emergency
Response Team หรือ ThaiCERT) ไปยัง สพธอ. ด้วย
และเพื่อประโยชน์ต่อการทำ�งานของคณะกรรมการธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะบูรณาการ คณะกรรมการ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้มีนโยบายให้มีการปรับปรุง
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งเพื่อ
รองรับพันธกรณีระหว่างประเทศที่จะเกิดขึ้นซึ่งครอบคลุมใน
เรื่องการทำ�สัญญาอิเล็กทรอนิกส์ (e-Contracts) และเพื่อให้
มีการควบรวมสพธอ.และสำ�นักงานคณะกรรมการธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ในสำ�นักงานปลัดกระทรวงไอซีทีเข้าด้วยกัน
เพื่อให้เป็นองค์การมหาชนตามพระราชบัญญัติคู่ขนานกันไปด้วย
ซึ่งขณะนี้ร่างกฎหมายเพื่อปรับปรุงกฎหมายธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ครั้งที่ ๓ ที่มีการควบรวมหน่วยงานก็ได้ดำ�เนินการ
แล้วเสร็จ อยู่ในขั้นตอนที่จะเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป
	 สำ�หรับการดำ�เนินงานของสพธอ.ในระยะแรกตั้งนั้น
ในระหว่างที่ยังไม่มีคณะกรรมการบริหารสพธอ.พระราชกฤษฎีกา
จัดตั้ง สพธอ. ในส่วนบทเฉพาะกาลก็ได้กำ�หนดให้กรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ทำ�หน้าที่
กรรมการบริหารสพธอ.ไปพลางก่อน โดยมีผู้อำ�นวยการเนคเทค
คือ นายพันธ์ศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำ�นวยการ สพธอ.
ในระยะเริ่มแรก และก็ได้มีการสรรหากรรมการบริหารและ
ผู้อำ�นวยการสพธอ.ในเวลาต่อมาโดยมี นายจรัมพร โชติกเสถียร
เป็นประธานกรรมการบริหาร และมีนางสุรางคณา วายุภาพ
เป็นผู้อำ�นวยการ สพธอ.ซึ่งทำ�หน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการบริหาร สพธอ.
	 อย่างไรก็ตาม เมื่อแรกตั้ง สพธอ.นั้น ประเทศไทยได้
ประสบภาวะอุทกภัยครั้งใหญ่ การจัดสรรงบประมาณของรัฐบาล
จึงให้ความสำ�คัญกับการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น และส่ง
ผลกระทบต่อการดำ�เนินงานของสพธอ.ในช่วงแรกๆ พอสมควร
ด้วยไม่มีงบประมาณสำ�หรับใช้ในการดำ�เนินงาน คณะรัฐมนตรี
จึงให้มีการโอนภารกิจหรือโครงการบางโครงการที่เกี่ยวข้องกับ
ภารกิจ สพธอ.จากสำ�นักงานปลัดกระทรวงไอซีทีไปยัง สพธอ.
และได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือจาก สวทช.ทั้งในส่วนของ
สถานที่ตั้งสำ�นักงานในช่วง ๓ เดือนแรก (หลังจากนั้นก็ได้รับ
ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้งสำ�นักงานจากสำ�นักงานปลัด
กระทรวงไอซีที) และอัตรากำ�ลังสำ�หรับบุคลากรที่ยืมตัวมาทำ�งาน
และงบในการดำ�เนินงานบางส่วนของสพธอ.ก็มาจากการรับจ้าง
ดำ�เนินงาน จนเข้าเดือนที่หกของการจัดตั้งหน่วยงาน สพธอ.
จึงเริ่มได้รับการจัดสรรงบบางส่วนสำ�หรับดำ�เนินงานและทำ�
ให้สพธอ. สามารถรับพนักงานได้เพิ่มขึ้นจากเดิมที่มีอยู่เพียง
ไม่กี่อัตรา นอกจากบางส่วนที่ยืมอัตรากำ�ลังจาก สวทช.มาทำ�งาน
	 ดังนั้น การดำ�เนินงานของ สพธอ.ในระยะแรก
ตั้งสำ�นักงานจึงเต็มไปด้วยปัญหาและอุปสรรคที่ต้องบริหาร
จัดการในขณะเดียวกันก็ต้องผลักดันให้ภารกิจที่อยู่ภายใต้ความ
รับผิดชอบนั้น สามารถส่งมอบให้กับหน่วยงาน คณะกรรมการ
ที่เกี่ยวข้อง ภาคธุรกิจ ภาครัฐ หรือที่เป็นประโยชน์กับภาคสังคม
เพื่อตอบสนองการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ
ตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งสำ�นักงาน สพธอ.จึงเน้นการบริหาร
จัดการที่มีการทำ�งานเป็นลักษณะ Project Base และจัดลำ�ดับ
ความสำ�คัญสำ�หรับงานที่ต้องส่งมอบงานโดยเน้นงานที่มี
ผลกระทบทางเศรษฐกิจค่อนข้างสูง เช่น การสนับสนุนการดำ�เนิน
การของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าสำ�หรับระบบ e-Certificate
เพื่อให้สามารถขอหนังสือรับรองนิติบุคคลได้ที่สถาบันการเงิน เพื่อ
อำ�นวยความสะดวก ทั้งประหยัดค่าใช้จ่าย และลดค่าเสียโอกาส
ให้กับภาคธุรกิจและประชาชน อันเป็นโครงการที่อาจกล่าวได้ว่า
เป็นการดำ�เนินการรองรับการเปลี่ยนผ่านจากยุค analog เป็นยุค
digital ตามแนวนโยบายของรัฐบาลที่แถลงไว้ต่อรัฐสภา ทั้งนี้
ในการดำ�เนินการสนับสนุน e-Certificate ของกรมพัฒนา
ธุรกิจการค้า ในส่วนของ สพธอ.จึงต้องเตรียมคนหรือ
สร้างคนเพื่อให้มีคุณสมบัติที่มีความรู้ความสามารถในการ
ดำ�เนินการ เตรียมมาตรฐานหรือมาตรการทางเทคโนโลยีที่ต้อง
พร้อมให้บริการซึ่งยอมรับได้ อีกทั้งทำ�การตรวจสอบว่าระบบ
e-Certificate ของกระทรวงพาณิชย์ที่ให้บริการนั้น มีความมั่นคง
ปลอดภัย เพื่อให้ระบบ e-Certificate ที่ให้บริการนั้น มีความ
น่าเชื่อถือ และต้องจัดทำ�กฎหมายลูกหรืออนุบัญญัติของ
กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อรองรับระบบดังกล่าว
เป็นต้น และภารกิจที่เป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
ของสองกระทรวงก็เป็นไปด้วยความเรียบร้อย อย่างไรก็ตาม
การสนับสนุนการดำ�เนินการของระบบ e-Certificate ก็เป็น
เพียงตัวอย่างของผลการดำ�เนินงานที่สพธอ.ร่วมสนับสนุน
และมีลักษณะงานทางปฏิบัติเป็น Multi-Task ที่มีความ
ซับซ้อนและเป็นลักษณะที่ต้องใช้ความรู้หรือศาสตร์ในลักษณะ
สหวิทยาการเพื่อให้งานสำ�เร็จลุล่วง และอีกภารกิจที่ สพธอ.
ให้ความสำ�คัญ คือ การดำ�เนินงานเชิงรุกของทีมความมั่นคง
ปลอดภัยที่ต้องทำ�หน้าที่บริหารและให้บริการศูนย์ประสาน
การรักษาความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร์ (ThaiCERT)
เพื่อลดความเสี่ยงทางออนไลน์ที่อาจเป็นการใช้โปรแกรม
ไม่พึงประสงค์ เช่น ไวรัส เวิร์ม หรือโปรแกรมแฮกกิ้ง การทำ�
ฟิชชิ่งหลอกเอาข้อมูลส่วนตัวหรือทางการเงิน โดยการทำ�งาน
กับองค์กรทั้งที่เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือสถาบันการเงิน
สมาคมต่างๆ ที่มีองค์กรนิติบุคคลเป็นสมาชิก แจ้งเตือนและบาง
กรณีก็เข้าไปช่วยแนะนำ�วิธีแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งบางกรณี
ต้องเข้าไปวิเคราะห์ข้อมูลและพยายหลักฐานที่เกิดขึ้นว่า การเจาะ
ระบบหรือการล่วงละเมิดความมั่นคงปลอดภัยนั้น เกิดจากอะไร
และจะแก้ปัญหาได้อย่างไร
	 นอกจากตัวอย่างผลงานบางส่วนข้างต้นของ สพธอ.
ในปีที่ผ่านมา สพธอ. ยังคงมีภารกิจสำ�คัญอีกหลายภารกิจที่มี
ส่วนเข้าไปสนับสนุนประเทศไทยให้เป็น SMART Thailand และ
เป็นภารกิจที่ท้าทายสำ�หรับหน่วยงานที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่แห่งนี้
ดังปรากฏในรายงานประจำ�ปีฉบับนี้
2555
รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕
Annual Report 201214 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 15
จรัมพร โชติกเสถียร
ประธานกรรมการ	
กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย
ปริญญาโท บริหารธุรกิจ,
Harvard Graduate School of Business
Administration, สหรัฐอเมริกา
ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์,
Massachusetts Institute of Technology,
สหรัฐอเมริกา
คณะกรรมการบริหาร สพธอ.
ไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์
กรรมการโดยตำ�แหน่ง
ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร	
ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณฑิต
(เศรษฐศาสตร์เกษตร)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีการศึกษา ๒๕๕๒-๒๕๕๓
(วปอ.รุ่น ๕๒)
ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
กรรมการโดยตำ�แหน่ง
ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)	
ปริญญาโท เอก
สาขา Digital Communications,
Imperial College of Science and
Technology มหาวิทยาลัยลอนดอน
สหราชอาณาจักร,
ปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับที่ ๑)
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
Imperial College of Science and
Technology มหาวิทยาลัยลอนดอน
สหราชอาณาจักร
วรวิทย์ จำ�ปีรัตน์
กรรมการโดยตำ�แหน่ง
ผู้อำ�นวยการสำ�นักงบประมาณ
ปริญญาโท MPA
สาขา Public Administration
The University of Manila
ประเทศฟิลิปปินส์
ปริญญาตรี BBA สาขา management
The University of Manila
ประเทศฟิลิปปินส์
			
	
วิลาวรรณ วนดุรงค์วรรณ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านการเงิน)	
ประธานคณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคล
อนุกรรมการบริหารความเสี่ยง
ที่ปรึกษาอิสระ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
กรรมการคณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรรมการพัฒนานโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ
สภากาชาดไทย
กรรมการและรองเหรัญญิกมูลนิธิชัยพัฒนา
กรรมการและรองเหรัญญิกมูลนิธิอุทกพัฒน์	
ปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สาขาพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕
Annual Report 201216 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 17
ปรีชา ปรมาพจน์
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านการเงิน)
ประธานคณะอนุกรรมการตรวจสอบ
และประเมินผล			
กรรมการผู้จัดการ บริษัท พี โฟร์
บิวซิเนส จำ�กัด
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
ของธนาคาร เมกะ สากลพาณิชย์
จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการและอุปนายก สมาคมผู้ตรวจสอบ
ภายในแห่งประเทศไทย
ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์บัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อภิรมย์ น้อยอ่ำ�
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
(ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)
อนุกรรมการบริหารงานบุคคล
อนุกรรมการตรวจสอบและประเมิน
ที่ปรึกษาอิสระด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ	
ปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ
(Management Science และ
Computer Science),
North Texas State University, USA
ปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์
(การเงินและธนาคาร)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต อัตถศาสตร์		
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
(ด้านนิติศาสตร์)
ประธานคณะอนุกรรมการจัดทำ�กฎหมาย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
กรรมการ บริษัท ชวลิตแอนแอซโซซิเอทส์ จำ�กัด
เนติบัณฑิตอังกฤษ
Gray’s Inn, ประเทศอังกฤษ
เนติบัณฑิตไทย
สำ�นักอบรมศึกษากฏหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะกรรมการบริหาร สพธอ.
ธีระ อภัยวงศ์
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
(ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์)
ประธานกรรมการบริษัทศูนย์ประมวลผล จำ�กัด
ประธานกรรมการบริษัท National I.T.M.X.
ประธานกรรมการตรวจสอบบริษัท National
Credit Bureau (NCB )
กรรมการที่ปรึกษา Society for Worldwide
Interbank Financial Telecommunications
(SWIFT) Asia-Pacific
ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
University of New South Wales
ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมการไฟฟ้าสื่อสาร
University of New South Wales
ประกาศนียบัตรวิทยาลัยป้องกันราช
อาณาจักรร่วมภาครัฐและเอกชน (วปรอ)
รุ่น ๓๗๗
Institute of Director ( I.O.D. ) รุ่น ๕
สมพรต สาระโกเศศ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านสังคมสตร์)	
ประธานกรรมการบริหาร
และกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่
บริษัท เพาเวอร์ พี จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการบริหารหลักสูตรบริหารธุรกิจ
บัณฑิตวิทยาลัยบริหารธุรกิจ
อาจารย์ประจำ� มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต
ด้านการเงินและการลงทุน
University of Exeter, United Kingdom
ปริญญาโท บริหารธุรกิจ ด้านการบริหาร
(General Administration)
Pittsburg State University, USA
ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ ด้านการบัญชี
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
สุรางคณา วายุภาพ
กรรมการและเลขานุการ	
ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
กรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการ
ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ
(National Cyber Security Committee)
อนุกรรมการความมั่นคงเครือข่ายและข้อมูลในกิจการ
โทรคมนาคมและกิจการวิทยุคมนาคม กสทช.
นายกสมาคมไทยแลนด์ พี เค ไอ
รองนายกสมาคม Asia PKI Consortium
ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประกาศนียบัตร Taiwan International Public Key
Infrastructure (PKI) Training Program,
Taiwan, ๒๐๐๖
รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕
Annual Report 201218 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 19
โครงสร้างสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
	 ในการบริหารงานของส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้แบ่งออกเป็นส�ำนักย่อย ๙ ส�ำนัก ซึ่งมีภาระ
หน้าที่ดูแลรับผิดชอบงานต่างๆ ดังนี้
ส�ำนักผู้อ�ำนวยการ
	 เป็นหน่วยงานหลังบ้านมีความส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนและสนับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการบริหาร
และผู้บริหารระดับสูงเพื่อให้มีข้อมูลที่ส�ำคัญและพร้อมส�ำหรับการบริหารองค์กร ดังนั้น ส�ำนักผู้อ�ำนวยการจึงท�ำ
หน้าที่ส�ำคัญในการบริหารจัดการส�ำนักงานโดยภาพรวมเพื่อก�ำกับ ติดตาม และประเมินผลการด�ำเนินงานของ
ส�ำนักงานให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ นโยบายที่คณะกรรมการบริหารก�ำหนด ตลอดจนกลั่นกรองข้อมูลก่อนเสนอ
ผู้บริหารระดับสูง ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมภายในส�ำนักงาน ทั้งการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมภาพลักษณ์ของ
องค์กรให้เป็นที่รู้จัก รวมถึงการด�ำเนินงานด้านต่างประเทศหรือวิเทศสัมพันธ์ของส�ำนักงานให้เป็นไปด้วยความ
เรียบร้อย
•	 งานเลขานุการผู้บริหาร		 •	 งานรัฐกิจสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร
•	 งานประเมินองค์กร		 •	 งานวิเทศสัมพันธ์
•	 งานส่งเสริมยุทธศาสตร์องค์กร	 •	 งานเลขานุการคณะกรรมการบริหาร
ส�ำนักบริหาร
	 ถือเป็นกลไกและฟันเฟืองที่ส�ำคัญขององค์กร เพราะมีหน้าที่หลักในการสนับสนุนการด�ำเนินงานของทุกส�ำนัก
ให้สามารถขับเคลื่อนภารกิจไปได้อย่างราบรื่น โดยส�ำนักบริหารมีภารกิจที่ส�ำคัญทั้งทางด้านการบริหารทรัพยากร
บุคคล การบริหารจัดการงบประมาณของส�ำนักงาน การวางแผนและติดตามการใช้งบประมาณ รวมถึงงานด้าน
การเงินและบัญชี ด้านพัสดุและจัดซื้อ ดูแลเรื่องอาคารและยานพาหนะ รวมถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของ
ส�ำนักงานให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ส�ำเร็จลุล่วงอย่างมีประสิทธิภาพ
•	 งานการเงินและบัญชี		 •	 งานงบประมาณและแผนงาน
•	 งานบริหารทรัพยาบุคคล		 •	 งานพัสดุและจัดซื้อ
•	 งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
ส�ำนักนโยบายและส่งเสริม
	 การวางรากฐานของการส่งเสริมและสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ต้องอาศัยการวางนโยบาย
เพื่อก�ำหนดทิศทางในการผลักดันภารกิจของ สพธอ. ให้บรรลุผลส�ำเร็จ ควบคู่ไปกับการส่งเสริมกระบวนการด�ำเนิน
งานในทางปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ดังนั้น ส�ำนักนโยบายและส่งเสริม จึงมีหน้าที่ส�ำคัญในการศึกษา วิจัย
ส�ำรวจ และวิเคราะห์สถานภาพการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งในภาคธุรกิจและภาครัฐของประเทศไทยใน
เชิงลึก ส�ำหรับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเร่งด่วนที่จ�ำเป็นต่อการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงศึกษา
วิจัยกรอบนโยบาย แผนการด�ำเนินงานยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในประเทศ
และต่างประเทศ และผลักดันการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ
ส่งเสริม และสนับสนุนการการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้มีความน่าเชื่อถือและมีความมั่นคงปลอดภัย
•	 งานนโยบาย		 •	 งานกลยุทธ์
•	 งานดัชนีและส�ำรวจ		 •	 งานความร่วมมือระหว่างประเทศ
•	 งานส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕
Annual Report 201220 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 21
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012

Contenu connexe

Tendances

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์Prapaporn Boonplord
 
รายงานประจำปี สพธอ. 2561 - ETDA Annual Report 2018
รายงานประจำปี สพธอ. 2561 - ETDA Annual Report 2018รายงานประจำปี สพธอ. 2561 - ETDA Annual Report 2018
รายงานประจำปี สพธอ. 2561 - ETDA Annual Report 2018ETDAofficialRegist
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaElectronic Government Agency (Public Organization)
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์anusorn kraiwatnussorn
 
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยการเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยAttaporn Ninsuwan
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)Totsaporn Inthanin
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
Thailand Internet user Profile 2016
Thailand Internet user Profile 2016Thailand Internet user Profile 2016
Thailand Internet user Profile 2016ETDAofficialRegist
 
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)WiseKnow Thailand
 
หนังสือ BlockChain for Government Services
หนังสือ BlockChain for Government Servicesหนังสือ BlockChain for Government Services
หนังสือ BlockChain for Government ServicesPeerasak C.
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2www.nbtc.go.th
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...Settapong_CyberSecurity
 

Tendances (19)

e-Government Thailand
e-Government Thailande-Government Thailand
e-Government Thailand
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
รายงานประจำปี สพธอ. 2561 - ETDA Annual Report 2018
รายงานประจำปี สพธอ. 2561 - ETDA Annual Report 2018รายงานประจำปี สพธอ. 2561 - ETDA Annual Report 2018
รายงานประจำปี สพธอ. 2561 - ETDA Annual Report 2018
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยการเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
 
e-Commerce
e-Commercee-Commerce
e-Commerce
 
200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
 
Ubiquitous - ICT
Ubiquitous - ICTUbiquitous - ICT
Ubiquitous - ICT
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
Thailand Internet user Profile 2016
Thailand Internet user Profile 2016Thailand Internet user Profile 2016
Thailand Internet user Profile 2016
 
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
 
หนังสือ BlockChain for Government Services
หนังสือ BlockChain for Government Servicesหนังสือ BlockChain for Government Services
หนังสือ BlockChain for Government Services
 
Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 
How to be a Webmaster
How to be a WebmasterHow to be a Webmaster
How to be a Webmaster
 

Similaire à ETDA annual report 2012

20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
20181005 etda annual 2017 seed-view-compressedETDAofficialRegist
 
รายงานประจำปี สพธอ. 2556; ETDA Annual Report 2016
รายงานประจำปี สพธอ. 2556; ETDA Annual Report 2016รายงานประจำปี สพธอ. 2556; ETDA Annual Report 2016
รายงานประจำปี สพธอ. 2556; ETDA Annual Report 2016คุณโจ kompat
 
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed_1
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed_120181102 etda annual-2017-for_download_compressed_1
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed_1ETDAofficialRegist
 
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed20181102 etda annual-2017-for_download_compressed
20181102 etda annual-2017-for_download_compressedETDAofficialRegist
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558Mayuree Srikulwong
 
Value of E-Commerce Thailand 2015
Value of E-Commerce Thailand 2015 Value of E-Commerce Thailand 2015
Value of E-Commerce Thailand 2015 Peerasak C.
 
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558Thanawat Malabuppha
 
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...IMC Institute
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557Yakuzaazero
 
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555Electronic Government Agency (Public Organization)
 
Etda annual report 2018 young blood low
Etda annual report 2018 young blood lowEtda annual report 2018 young blood low
Etda annual report 2018 young blood lowThosaporn Kompat
 
Etda annual report 2018 young blood
Etda annual report 2018 young bloodEtda annual report 2018 young blood
Etda annual report 2018 young bloodThosaporn Kompat
 
20181226 yong annual etda 2018
20181226 yong annual etda 201820181226 yong annual etda 2018
20181226 yong annual etda 2018Thosaporn Kompat
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3ICT2020
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012NECTEC
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยSoftware Park Thailand
 

Similaire à ETDA annual report 2012 (20)

20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
 
ETDA Annual Report 2016
ETDA Annual Report 2016ETDA Annual Report 2016
ETDA Annual Report 2016
 
รายงานประจำปี สพธอ. 2556; ETDA Annual Report 2016
รายงานประจำปี สพธอ. 2556; ETDA Annual Report 2016รายงานประจำปี สพธอ. 2556; ETDA Annual Report 2016
รายงานประจำปี สพธอ. 2556; ETDA Annual Report 2016
 
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed_1
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed_120181102 etda annual-2017-for_download_compressed_1
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed_1
 
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed20181102 etda annual-2017-for_download_compressed
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
 
Value of E-Commerce Thailand 2015
Value of E-Commerce Thailand 2015 Value of E-Commerce Thailand 2015
Value of E-Commerce Thailand 2015
 
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
Etda รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2558
 
Thailand E commerce survey 2015
Thailand E commerce survey 2015 Thailand E commerce survey 2015
Thailand E commerce survey 2015
 
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557
 
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
 
Etda annual report 2018 young blood low
Etda annual report 2018 young blood lowEtda annual report 2018 young blood low
Etda annual report 2018 young blood low
 
Etda annual report 2018 young blood
Etda annual report 2018 young bloodEtda annual report 2018 young blood
Etda annual report 2018 young blood
 
20181226 yong annual etda 2018
20181226 yong annual etda 201820181226 yong annual etda 2018
20181226 yong annual etda 2018
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 

Plus de Electronic Transactions Development Agency (11)

Ict law-summary
Ict law-summaryIct law-summary
Ict law-summary
 
ETDA eTransactions 2013
ETDA eTransactions 2013ETDA eTransactions 2013
ETDA eTransactions 2013
 
eCommerce StartUP
eCommerce StartUPeCommerce StartUP
eCommerce StartUP
 
Cyber security eCommerce
Cyber security eCommerceCyber security eCommerce
Cyber security eCommerce
 
Cyber security articles 2012
Cyber security articles 2012Cyber security articles 2012
Cyber security articles 2012
 
Cyber threats alerts 2013
Cyber threats alerts 2013Cyber threats alerts 2013
Cyber threats alerts 2013
 
Cyber threat alerts 2011
Cyber threat alerts 2011Cyber threat alerts 2011
Cyber threat alerts 2011
 
Cyber threat alerts 2012
Cyber threat alerts 2012Cyber threat alerts 2012
Cyber threat alerts 2012
 
2013 ThaiCERT ANNUAL REPORT
2013 ThaiCERT ANNUAL REPORT2013 ThaiCERT ANNUAL REPORT
2013 ThaiCERT ANNUAL REPORT
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
 
The Intra-ASEAN Secure Transactions Framework Report
The Intra-ASEAN Secure Transactions Framework ReportThe Intra-ASEAN Secure Transactions Framework Report
The Intra-ASEAN Secure Transactions Framework Report
 

ETDA annual report 2012

  • 1. STANDARDS SECURITY & PRIVACY LAWS SECURE E-TRANSACTION DEVELOPMENT QUALITY OF LIFE ECONOMY LOGICAL INFRASTRUCTURE www.etda.or.th รายงานประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๕๕ สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2011 - 2012
  • 2. Annual Report 2011 - 2012 รายงานประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๕๕ ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จัดท�ำโดย ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ETDA : Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) Copyright © ๒๐๑๒ All rights reserved สงวนลิขสิทธิ์โดย ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ ๑๒๐ ม.๓ อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ชั้น ๗ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๑๔๒ ๑๑๖๐ www.etda.or.th www.etda.or.th คำ�นำ� สารจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สารจากประธานกรรมการ สารจากปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สารจากผู้อำ�นวยการ คำ�นิยมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และที่ปรึกษา สพธอ. ก้าวแรกของ สพธอ. คณะกรรมการบริหาร สพธอ. โครงสร้าง สพธอ. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ สพธอ. ยุทธศาสตร์การดำ�เนินงานของ สพธอ. แผนยุทธศาสตร์ สพธอ. พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ ผลการดำ�เนินงานสำ�คัญของ สพธอ. ผลงานสำ�คัญประจำ�ปี ๒๕๕๕ ๑. ด้านนโยบายและส่งเสริมการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ๒. ด้านความมั่นคงปลอดภัย ๓. ด้านกฎหมาย ๔. ด้านมาตรฐาน ๕. ด้านวิจัย และ พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ๖. ด้านอื่นๆ สรุปกิจกรรมสำ�คัญในรอบปี รายงานงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน แผนการดำ�เนินงานปี ๒๕๕๖ การบริหารจัดการองค์กรในก้าวต่อไป สารบัญ ๑ ๔ ๗ ๘ ๑๑ ๑๒ ๑๕ ๑๘ ๒๒ ๒๖ ๒๘ ๓๐ ๓๒ ๓๕ ๓๘ ๔๒ ๕๒ ๖๐ ๖๖ ๗๒ ๗๖ ๘๐ ๘๔ ๘๘ ๙๔
  • 3. คำ�นำ� ซึ่งผลักดันโดยคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่จัดตั้งขึ้นภายใต้กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีส�ำนักงานคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้ส�ำนักงานปลัดกระทรวงไอซีที ท�ำหน้าที่เป็นฝ่าย เลขานุการคณะกรรมการดังกล่าว หากแต่การด�ำเนินงานทางปฏิบัติโดยเน้นให้ความ ส�ำคัญกับการพัฒนา Soft Infrastructure ของ คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ อันสอดคล้องกับ นโยบายของรัฐบาลและเอื้อให้การท�ำธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์เติบโตในภาพรวมนั้น คณะกรรมการธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ และคณะรัฐมนตรีตามล�ำดับ จึงได้ ผลักดันให้มีการจัดตั้งส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ขึ้นตาม พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อให้ท�ำ หน้าที่พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ โดยให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินการและ การให้บริการเกี่ยวกับ Soft Infrastructure รวมถึง การสร้างและพัฒนาคน หรือบุคลากร เพื่อให้มีจ�ำนวน ผู้เชี่ยวชาญที่มีทักษะสูงด้านความมั่นคงปลอดภัย อันเป็น สาขาวิชาชีพที่จ�ำเป็นและขาดแคลนให้มีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น ตามความต้องการของประเทศ การท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์(e-Transactions) นับเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ให้มีความทัดเทียมกับนานาประเทศ ทั้งในการสร้างมูลค่า เพิ่มทางเศรษฐกิจ ซึ่งเพียงเฉพาะมูลค่าพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศเมื่อปี ๒๕๕๔ ก็มีมูลค่าสูงถึง ๖๐๘,๕๘๗ ล้านบาท และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ทั้งยัง เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ช่วยยกระดับความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ รวมทั้งยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน เมื่อกล่าวถึงการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือการท�ำธุรกรรมทางออนไลน์ ซึ่งครอบคลุมทั้งการซื้อขาย การว่าจ้าง การให้บริการทั้งในภาคเอกชนที่เป็นการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการให้บริการภาครัฐทาง ออนไลน์ที่มักเรียกการให้บริการของรัฐในลักษณะนี้ว่า รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม ความส�ำเร็จของ การท�ำธุรกรรมทางออนไลน์นั้น มิใช่เพียงแต่มีเว็บไซต์ ส�ำหรับการซื้อขาย หรือเพื่อให้บริการเท่านั้น หากแต่ยัง รวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมิใช่แต่เพียง โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพที่จับต้องได้ หากแต่เป็น โครงสร้างพื้นฐานในลักษณะที่เป็นนโยบาย ยุทธศาสตร์ กฎหมาย มาตรฐาน ความมั่นคงปลอดภัย ที่เปรียบเสมือน เป็น Soft Infrastructue อันส�ำคัญยิ่งต่อการพัฒนาและ ส่งเสริมการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในภาพรวม ดังนั้น การจัดท�ำรายงานประจ�ำปีฉบับนี้ของ สพธอ. จึงเป็นการสรุปและรวบรวมผลการด�ำเนินงาน ของ สพธอ. นับตั้งแต่มีการจัดตั้ง สพธอ. เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ จนถึงกันยายน ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา รายงานประจ�ำปีฉบับแรกนี้ของ สพธอ. จึงถ่ายทอดเรื่องราว และผลงานที่หน่วยงานซึ่งเพิ่งจัดตั้งอย่าง สพธอ. ได้ด�ำเนินการท่ามกลางข้อจ�ำกัดปัญหาและอุปสรรคนานัปการ หากแต่กลับเป็นความท้าทายอันส�ำคัญยิ่งซึ่งผลักดันให้ สพธอ. ยังคงมุ่งมั่นที่จะก้าวเดินต่อไปอย่างพร้อมรับมือ กับสถานการณ์ใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้น เพื่อตอบโจทย์และ ความต้องการของประเทศในปีต่อๆ ไป สุรางคณา วายุภาพ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 1
  • 4. ผมเชื่อมั่นและไว้วางใจส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ว่าเป็นอีกหนึ่งหน่วยงานส�ำคัญที่จะน�ำพาประเทศไทยให้ก้าวเข้าสู่ สังคมอุดมปัญญา (Smart Thailand) ที่ร่วมพลิกฟื้นและสร้างความพร้อมของการเป็น ผู้น�ำด้านไอซีทีในประชาคมอาเซียน ด้วยการพัฒนานโยบาย กฎหมาย มาตรฐาน และ การเสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เพื่อสนับสนุนความยั่งยืนในการพัฒนาไอซีที เพื่อใช้ในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สพธอ. กับบทบาทสำ�คัญที่ช่วยผลักดัน Smart Thailand รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕ Annual Report 20122
  • 5. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ในการท�ำ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มีความ ส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการด�ำเนินงานของ องค์กรและชีวิตประจ�ำวันของผู้คนใน สังคม ผมทั้งในฐานะปลัดกระทรวง ไอซีที รองประธานกรรมการธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ และในฐานะ กรรมการบริหารของ สพธอ. จึงมี ความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่วันนี้ กระทรวงไอซีทีมีหน่วยงานอย่าง สพธอ. มาช่วยขับเคลื่อนการด�ำเนิน การทางปฏิบัติ ทั้งตามนโยบายของ รัฐบาล และตามยุทธศาสตร์ของ กระทรวงไอซีที สพธอ. กับบทบาทเชิงรุก ของกระทรวงไอซีที ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. จึงเป็นกลไกส�ำคัญที่สนับสนุน การด�ำเนินนโยบายของกระทรวง ไอซีทีในเชิงรุก ดังนั้น ถึงแม้สพธอ. จะเป็น หน่วยงานที่เพิ่งจัดตั้งได้ไม่นาน แต่ผล การด�ำเนินงานในระยะเวลาที่ผ่านมา ได้แสดงให้เห็นถึงความพยายาม และ ความตั้งใจทั้งในด้านการวางแผน การ เชื่อมโยงการด�ำเนินงานร่วมกับ กระทรวงไอซีที รวมถึงหน่วยงาน ๆ อื่นที่เกี่ยวข้องได้เป็นอย่างดี ผมจึงมี ความเชื่อมั่นว่า จากความมุ่งมั่นใน การด�ำเนินงานของสพธอ. จะมีส่วน ส�ำคัญยิ่งที่ช่วยพัฒนา ส่งเสริม และ สนับสนุนการท�ำธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยให้มี ความมั่นคงปลอดภัยและเติบโตมาก ยิ่งขึ้น อันเป็นภารกิจส�ำคัญประการ หนึ่งที่กระทรวงไอซีทีให้ความส�ำคัญ ไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 5
  • 6. นับตั้งแต่ผมและกรรมการ บริหารทุกท่านได้เข้ามามีบทบาทในการ บริหารงาน ร่วมกับทีมงานคนรุ่นใหม่ไฟ แรงของ สพธอ. ซึ่งแต่ละคนจะมาจาก หลายวัฒนธรรมทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน แต่สิ่งหนึ่งที่ทุกคนต่างก็ มีเป้าหมายเดียวกันนั่นก็คือ ความมุ่งมั่น ที่จะขับเคลื่อนภารกิจของ สพธอ. ในการ ท�ำหน้าที่ส่งเสริมและสร้างความเชื่อมั่น ในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศ เพื่อเพิ่มมูลค่าในเชิงเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของสังคมให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น จึงถือเป็นความท้าทาย ส�ำหรับ สพธอ. อย่างยิ่งที่จะต้องวาง กลยุทธ์ส�ำคัญทั้งทางด้านนโยบายและส่ง เสริมด้วยการมีข้อมูลผลการวิเคราะห์ ตัวเลขจากแหล่งที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ สารจากประธานกรรมการ เพื่อให้ประเทศไทยมีฐานข้อมูลสถิติ (Baseline) ส�ำคัญส�ำหรับชี้วัดการเติบโต ในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศในปีต่อๆ ไป และเพื่อประโยชน์ ต่อการวางแผนทางธุรกิจ หรือการวาง นโยบายหรือยุทธศาสตร์ของรัฐ ไม่เพียง เท่านี้ สพธอ. ยังให้ความส�ำคัญกับการ วางโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่มี ความมั่นคงปลอดภัย เพื่อให้ประชาชนมี ความเชื่อมั่นในการท�ำธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ โดยจากการด�ำเนินงานที่ ผ่านมา สพธอ. ได้ผลักดันภารกิจด้าน Security ทั้งในเชิงรุกโดยการสร้างความ ตระหนักด้านความมั่นคงปลอดภัยในการ ท�ำธุรกรรมฯ รวมถึงการสร้างบุคลากร ด้าน Security ให้เพิ่มมากขึ้น และในเชิง รับก็ได้ตั้งเป้าหมายส�ำคัญในการจัดการ และวิเคราะห์ภัยคุกคามประเภท Phishing ให้ได้ร้อยละ ๘๐ ของ ภัยคุกคามที่ได้รับแจ้งภายใน ๒ วัน ท�ำการ ทั้งนี้ การผลักดันการท�ำธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้กล่าวมาแล้วข้าง ต้นจะประสบความส�ำเร็จไม่ได้หากขาด ความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งในประเทศ และต่างประเทศที่ได้ท�ำงานร่วมกันอย่าง บูรณาการ ในโอกาสนี้ ผมในฐานะ ประธานกรรมการจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานประจ�ำปีฉบับนี้ จะช่วยเผยแพร่ ผลงานที่ส�ำคัญของ สพธอ. ในรอบปีที่ ผ่านมาให้เป็นที่รับทราบ และหวังให้ทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมแรงร่วมใจเพื่อ ขับเคลื่อนธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศไทยให้มีความเจริญก้าวหน้า ยิ่งขึ้นต่อไป จรัมพร โชติกเสถียร ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการบริหารสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕ Annual Report 20126
  • 7. ด้วยส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ได้รับมอบหมายให้ผลักดัน ภารกิจที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง นั่นคือ เป็นหน่วย งานส�ำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน และ ผลักดันการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศ ซึ่งมีโจทย์มากมายที่ได้รับ และต้องเร่งด�ำเนินการด้วยความรวดเร็ว ในขณะที่ การด�ำเนินงานในระยะแรกนั้น ต้องประสบกับอุปสรรคมากมายเนื่องจาก เป็นองค์กรตั้งใหม่ มีข้อจ�ำกัดด้านงบ ประมาณ รวมถึงปัญหาทางด้าน ทรัพยากรที่จ�ำเป็นในการด�ำเนินงาน ซึ่งถือว่าเป็นภารกิจที่ท้าท้ายเป็นอย่างยิ่ง สารจากผู้อำ�นวยการ ส�ำหรับคนท�ำงานงานในรุ่นบุกเบิก แต่สิ่งส�ำคัญที่สามารถท�ำให้ สพธอ. ผ่านพ้นช่วงเวลาดังกล่าวมาได้ คือ ความมุ่งมั่นและตั้งใจจริงในการ ท�ำงาน และความมุ่งหวังที่อยากเห็น ประเทศไทยมีความรุดหน้าในการท�ำ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในทุกๆ ด้าน ดังนั้น ความส�ำเร็จของ สพธอ. ในปีแรก จึงเกิดขึ้น จากการท�ำงานของคลื่นลูก ใหม่ที่ต้องเข้ามาแบกรับภารกิจส�ำคัญใน ระดับประเทศ และความพยายามที่ อยากจะผลักดันให้ สพธอ. เป็น หน่วยงานที่มีรูปแบบการท�ำงานที่มี ความแตกต่าง คล่องตัว เต็มไปด้วย ความคิดสร้างสรรค์ และลงลึกถึงปัญหา ที่เกิดขึ้นจริงในการท�ำธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ เพื่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด สามารถตอบสนองนโยบายส�ำคัญของ รัฐบาล ตลอดจนช่วยเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของคนใน สังคมได้อย่างแท้จริง สุรางคณา วายุภาพ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 9
  • 8. เมื่อกล่าวถึงกระทรวงไอซีที หลาย คนอาจคิดถึงเพียงการส่งเสริมให้มีการใช้ อินเทอร์เน็ต 3G หรือ 4G ในประเทศไทย หรือบางครั้งก็นึกถึงแต่เพียงการปิดเว็บไซต์ผิด กฎหมายของกระทรวงฯ ที่ผ่านมากระทรวง ไอซีทีอาจทำ�งานแบบตั้งรับ แต่วันนี้ที่มี สพธอ. นับเป็น Look ใหม่ของกระทรวง ICT ที่ได้เห็น ความสำ�คัญในการผลักดันเศรษฐกิจของประเทศ และเป็นหน่วยงานหลักที่มีบทบาทสำ�คัญในการ ขับเคลื่อนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศไทยให้มีความเข้มแข็งและพร้อมก้าวเข้า สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ต่อไป จีราวรรณ บุญเพิ่ม อดีตกรรมการบริหาร สพธอ. และปลัดกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ช่วงจัดตั้ง สพธอ. ) การทำ�ธุรกรรมทางออนไลน์เป็น เรื่องที่ต้องทำ�ตามข้อกำ�หนด และแนวปฏิบัติ ทางเทคนิคอย่างเป็นขั้นเป็นตอน...หาใช่เรื่องที่ ทำ�ตามสัญชาตญาณไม่ ทั้งนี้ องค์กรที่จะก้าว สู่ยุคการทำ�ธุรกรรมออนไลน์ได้อย่างสัมฤทธิ์ ผล บุคลากรในองค์กรจะต้องเรียนรู้ และต้อง เข้าใจข้อกำ�หนด และแนวปฏิบัติของการทำ� ธุรกรรมออนไลน์ที่ถูกต้อง และต้องปรับตัว ตามกระบวนการทำ�งานที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง ปฏิเสธมิได้ ดังนั้น การสนับสนุนของ สพธอ. ต่อองค์กรของรัฐและองค์กรเอกชนให้ประยุกต์ ใช้ข้อกำ�หนด แนวปฏิบัติ การรักษาความมั่นคง ปลอดภัย ตลอดจนมาตรฐานต่าง ๆ ได้อย่าง ถูกต้องจะช่วยสร้างความเชื่อมั่น อันนำ�ไปสู่ การเพิ่มคุณค่าและปริมาณของธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศได้อย่างมีนัยสำ�คัญ เสาวณี สุวรรณชีพ อดีตกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ คำ�นิยมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และที่ปรึกษาของ สพธอ. การจัดตั้งสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ขึ้นเป็นองค์การมหาชน นับเป็นความทันต่อวิวัฒนาการของโลกในยุค ที่ไร้พรมแดนเช่นนี้ การนำ�พาประเทศชาติ ไปสู่การเป็น SMART Thailand เป็นภารกิจ ใหญ่หลวง ที่ต้องอาศัยความทุ่มเทกำ�ลังกาย กำ�ลังใจของทั้งผู้บริหารและพนักงาน ซึ่งแม้ จะเป็นองค์การมหาชนน้องใหม่ ก็เป็น เพียงความใหม่ของชื่อและภารกิจของ หน่วยงานเท่านั้นคณะผู้บริหารและเหล่า พนักงานล้วนแล้วแต่เป็นผู้มีศักยภาพ มีประสบการณ์สูงและมีความมุ่งมั่นอย่างเห็น ได้ชัดในการที่จะผลักดันให้มีการทำ�ธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างมั่นคงปลอดภัย อย่างไรก็ตาม ภารกิจด้านนี้จำ�เป็นจะต้องได้รับ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และใช้เวลานาน พอสมควร เท่าที่ผ่านมาจึงนับเป็นก้าวแรกที่ มั่นคง และจะเป็นฐานของก้าวต่อ ๆ ไปที่มุ่งสู่ SMART Thailand ได้ในอนาคตอันสั้นนี้ วลัยรัตน์ ศรีอรุณ อดีตผู้อำ�นวยการสำ�นักงบประมาณ และกรรมการบริหาร สพธอ. ปัจจุบันธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้กลายเป็นกลไกสำ�คัญทั้งในเชิงพาณิชย์และ การให้บริการภาครัฐ เนื่องจากมีส่วนช่วย อำ�นวยความสะดวก เพิ่มความรวดเร็วและความ คล่องตัว ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายใน การดำ�เนินการทำ�นิติกรรมสัญญาทางแพ่ง การปฏิบัติตามข้อกำ�หนดทางกฎหมาย และการติดต่อกับส่วนราชการเพื่อให้ได้มาซึ่ง คำ�สั่งทางปกครอง ตลอดจนการปฏิบัติตาม คำ�สั่งทางปกครองโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ชำ�ระหนี้ให้แก่ภาครัฐ ดังนั้น เพื่อให้ประชาชน ผู้ใช้งานมีความเชื่อมั่นและมั่นใจในการ ทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น บทบาทที่สำ�คัญของ สพธอ. จึงเป็นการเข้า มาดูแลและส่งเสริมให้การทำ�ธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความถูกต้อง ครบถ้วน ความเชื่อมั่นในความมั่นคงปลอดภัย ของการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้ง สอดคล้องตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิด การใช้งานธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด กมลชัย รัตนสกาววงศ์ ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของ สพธอ. สพธอ. มีบทบาทสำ�คัญในการ ผลักดันภารกิจระดับชาติ ที่เรียกว่าโครงการ National Single Window (NSW) ซึ่ง โครงการนี้เน้นการส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยง ข้อมูลแบบบูรณาการทั้งภายในประเทศและ ระหว่างประเทศ ซึ่งจะต้องได้รับความร่วมมือ จาก Stake Holder ตั้งแต่ผู้กำ�หนดนโยบาย ผู้กำ�หนดหลักเกณฑ์ทั้งในส่วนของกฎหมาย ระเบียบ และหน่วยงานผู้ปฏิบัติการ เช่น กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง กระทรวง ICT สพธอ. สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งผู้ประกอบการที่จะต้องเข้าสู่ระบบ NSW ทั้งนี้ สำ�หรับ สพธอ. ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มี องค์ความรู้สำ�คัญในการพัฒนากฎหมายและการ วางกรอบมาตรฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ก็มีความจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะ ต้องมาร่วมมือกันในโครงการระดับชาติเพื่อนำ� องค์ความรู้ที่มีมาสนับสนุนการดำ�เนินโครงการ NSW ให้ประสบความสำ�เร็จต่อไป จันทิมา สิริแสงทักษิณ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงไอซีที รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕ Annual Report 201210 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 11
  • 9. ก้าวแรกของ สพธอ. กว่าสิบปีที่ผ่านมาได้มีการคาดการณ์ว่า “ไอที” จะมี ความสำ�คัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ และ “อินเทอร์เน็ต” จะเข้าไปมีบทบาทต่อการดำ�เนินชีวิตของผู้คนในสังคม การทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือธุรกรรมทางออนไลน์ จะส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งจำ�เป็นต้องผลักดันให้มีโครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมายรองรับ นิติสัมพันธ์ที่มีการดำ�เนินการผ่านวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ อินเทอร์เน็ตโดยการประยุกต์ใช้ไอที และจำ�เป็นต้องกำ�หนด ให้มีคณะกรรมการระดับชาติที่มีภารกิจหลักในการส่งเสริม และสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมดังกล่าว ดังนั้นเมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ คณะรัฐมนตรีจึงเห็นชอบให้มีการจัดทำ� โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามที่กระทรวง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม (ชื่อในขณะนั้น) เสนอ และได้มอบหมายให้คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ แห่งชาติเป็นผู้รับผิดชอบในการประสานงานร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการยกร่างกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับต่าง ๆ โดยมีศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ภายใต้สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการของคณะกรรมการ เทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติเพื่อให้ทำ�หน้าที่ในการยกร่าง กฎหมาย ซึ่งเมื่อกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับแรก ของประเทศไทย คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้ประกาศใช้ ก็ได้กำ�หนดให้ เนคเทค ทำ�หน้าที่เป็นหน่วยงานเลขานุการของคณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นคณะกรรมการระดับชาติ ตามกฎหมายดังกล่าว อันถือเป็นจุดเริ่มต้นของการมีหน่วยงาน ที่ทำ�หน้าที่ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์แห่งแรกของประเทศไทย ต่อมาหลังจากได้มีการตั้งกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาได้ระยะหนึ่ง จึงได้มีการโอน ภารกิจในส่วนงานเลขานุการของคณะกรรมการธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ไปเป็นของสำ�นักงานคณะกรรมการธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ในสังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร โดยได้มีการปรับปรุงพระราชบัญญัติ ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ เพื่อให้ สอดคล้องกับการปรับปรุงโครงสร้างของส่วนราชการในขณะนั้น พร้อมกับปรับปรุงกฎหมายฉบับดังกล่าวเพื่อให้สามารถรองรับ การทำ�ธุรกรรมต่างๆ ในรูปของเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ให้ชัดเจน มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม แม้เนคเทคได้โอนภารกิจงานเลขานุการ ให้กับสำ�นักงานปลัดกระทรวงไอซีทีไปแล้วก็ตาม หากแต่ ภายใต้การดำ�เนินงานของเนคเทคก็ยังคงมีส่วนงานที่ศึกษา วิจัยและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่จำ�เป็นต่อการ ทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในด้านต่างๆ เช่น การพัฒนา นโยบาย แผนแม่บท กฎหมาย มาตรฐาน และความมั่นคง ปลอดภัยสารสนเทศ อันเป็นภารกิจที่เนคเทคก็ยังคงสนับสนุน การดำ�เนินงานของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ด้วยเหตุผลความจำ�เป็น ในการดำ�เนินงานของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีบทบาทสำ�คัญในการกำ�หนดนโยบายและทิศทางการ ทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ เพื่อให้เป็นกลไก สำ�คัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน ทั้งในด้านการกำ�หนดแนวทางการให้บริการของรัฐ ให้มีมาตรฐานและความน่าเชื่อถือ การควบคุมดูแลธุรกิจบริการที่ เกี่ยวข้องกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อป้องกันความเสี่ยงและ ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นต่อสาธารณชน รวมถึงเสนอแนะการ ตรากฎหมายหรือเสนอมาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ที่เกี่ยวข้องต่อคณะรัฐมนตรี อันเป็นบทบาทภารกิจที่มีความ หลากหลาย จึงจำ�เป็นต้องมีหน่วยงานที่มีความเป็นอิสระและ มีความคล่องตัวในการบริหารจัดการในรูปแบบองค์การมหาชน ทำ�หน้าที่สนับสนุนการดำ�เนินงาน เพื่อให้สามารถนำ�นโยบายและ แผนการดำ�เนินงานของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 13
  • 10. ไปปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมได้ แต่เนื่องจากการจัดตั้ง องค์การมหาชนโดยกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์นั้นจำ�เป็นต้อง ใช้ระยะเวลาในการดำ�เนินการในกระบวนการนิติบัญญัติ ดังนั้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน ขณะนั้น คือ นายจุติ ไกรฤกษ์ ในฐานะประธานคณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงได้เสนอต่อคณะรัฐมนตรีให้มีการ จัดตั้งหน่วยงานโดยการตราพระราชกฤษฎีกาตามพระราชบัญญัติ องค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ แทน ต่อมาคณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ และวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้มีการจัดตั้งสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นเป็นองค์การมหาชน และเมื่อพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔ มีผลใช้บังคับในวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)) หรือ สพธอ. (ETDA) จึงได้จัดตั้งขึ้นนับแต่วันนั้น และเพื่อให้หน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นใหม่สามารถเริ่มดำ�เนินการ ในทันทีที่แรกตั้ง คณะรัฐมนตรีก็ได้มีมติให้มีการโอนภารกิจ บางส่วนที่เนคเทคยังคงสนับสนุนคณะกรรมการธุรกรรม นอกจากนั้น สพธอ. ยังมีภารกิจในการสนับสนุนการ ดำ�เนินงานของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ใน ลักษณะเป็นหน่วยงานทางวิชาการและหน่วยปฏิบัติในการพัฒนา และจัดทำ�และนำ�เอานโยบาย แผนการดำ�เนินงาน หรือข้อเสนอ แนะของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ไปปฏิบัติให้เกิด ผล โดยการดำ�เนินงานร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การยกร่างแผนแม่บทเกี่ยวกับธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ การจัดทำ�มาตรฐานการชำ�ระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ การทำ�หน้าที่ เป็นหน่วยงานรับรองสิ่งพิมพ์ออก การยกร่างกฎหมายลำ�ดับรอง ภายใต้กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น บทบาทที่สำ�คัญของ สพธอ. อีกประการคือทำ�หน้าที่ เป็นหน่วยงานเลขานุการของคณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัย ไซเบอร์แห่งชาติ (National Cyber Security Committee) ที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานคณะกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการ ดังกล่าวมีบทบาทสำ�คัญในด้านการจัดทำ�นโยบายและแผนแม่บท ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ เพื่อเป็นแนวทางในการ ป้องกัน ลดความเสี่ยง ปกป้อง และรับมือจากสถานการณ์ด้าน ภัยคุกคามในไซเบอร์ อันกระทบต่อความมั่นคงของชาติทั้งจาก ภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งเป็นภัยคุกคามรูปแบบใหม่ที่ นับวันจะทวีความรุนแรงและส่งผลกระทบต่อประชาชนในวงกว้าง มากยิ่งขึ้น 2554 ภารกิจที่กำ�หนดไว้ใน พ.ร.ฎ.จัดตั้ง สพธอ. ๑) พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการทำ�ธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ๒) ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาแก่อุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน ๓) ทำ�หน้าที่ศึกษาความต้องการโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศที่จะรองรับการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจบริการ และการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ภาครัฐหรืองานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้อง ๔) ดำ�เนินการเกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารที่จำ�เป็นต่อการทำ�ธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ๕) ให้บริการที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ตลอดจนยกระดับการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวกับ มาตรฐานและความมั่นคงปลอดภัย ทางอิเล็กทรอนิกส์อยู่ในขณะนั้น ไปยัง สพธอ. เช่น ภารกิจ ด้านนโยบาย กฎหมาย มาตรฐาน และความมั่นคงปลอดภัย รวมทั้งศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ระบบคอมพิวเตอร์ (Thailand Computer Emergency Response Team หรือ ThaiCERT) ไปยัง สพธอ. ด้วย และเพื่อประโยชน์ต่อการทำ�งานของคณะกรรมการธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะบูรณาการ คณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้มีนโยบายให้มีการปรับปรุง พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งเพื่อ รองรับพันธกรณีระหว่างประเทศที่จะเกิดขึ้นซึ่งครอบคลุมใน เรื่องการทำ�สัญญาอิเล็กทรอนิกส์ (e-Contracts) และเพื่อให้ มีการควบรวมสพธอ.และสำ�นักงานคณะกรรมการธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ในสำ�นักงานปลัดกระทรวงไอซีทีเข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็นองค์การมหาชนตามพระราชบัญญัติคู่ขนานกันไปด้วย ซึ่งขณะนี้ร่างกฎหมายเพื่อปรับปรุงกฎหมายธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ครั้งที่ ๓ ที่มีการควบรวมหน่วยงานก็ได้ดำ�เนินการ แล้วเสร็จ อยู่ในขั้นตอนที่จะเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป สำ�หรับการดำ�เนินงานของสพธอ.ในระยะแรกตั้งนั้น ในระหว่างที่ยังไม่มีคณะกรรมการบริหารสพธอ.พระราชกฤษฎีกา จัดตั้ง สพธอ. ในส่วนบทเฉพาะกาลก็ได้กำ�หนดให้กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ทำ�หน้าที่ กรรมการบริหารสพธอ.ไปพลางก่อน โดยมีผู้อำ�นวยการเนคเทค คือ นายพันธ์ศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำ�นวยการ สพธอ. ในระยะเริ่มแรก และก็ได้มีการสรรหากรรมการบริหารและ ผู้อำ�นวยการสพธอ.ในเวลาต่อมาโดยมี นายจรัมพร โชติกเสถียร เป็นประธานกรรมการบริหาร และมีนางสุรางคณา วายุภาพ เป็นผู้อำ�นวยการ สพธอ.ซึ่งทำ�หน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการบริหาร สพธอ. อย่างไรก็ตาม เมื่อแรกตั้ง สพธอ.นั้น ประเทศไทยได้ ประสบภาวะอุทกภัยครั้งใหญ่ การจัดสรรงบประมาณของรัฐบาล จึงให้ความสำ�คัญกับการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น และส่ง ผลกระทบต่อการดำ�เนินงานของสพธอ.ในช่วงแรกๆ พอสมควร ด้วยไม่มีงบประมาณสำ�หรับใช้ในการดำ�เนินงาน คณะรัฐมนตรี จึงให้มีการโอนภารกิจหรือโครงการบางโครงการที่เกี่ยวข้องกับ ภารกิจ สพธอ.จากสำ�นักงานปลัดกระทรวงไอซีทีไปยัง สพธอ. และได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือจาก สวทช.ทั้งในส่วนของ สถานที่ตั้งสำ�นักงานในช่วง ๓ เดือนแรก (หลังจากนั้นก็ได้รับ ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้งสำ�นักงานจากสำ�นักงานปลัด กระทรวงไอซีที) และอัตรากำ�ลังสำ�หรับบุคลากรที่ยืมตัวมาทำ�งาน และงบในการดำ�เนินงานบางส่วนของสพธอ.ก็มาจากการรับจ้าง ดำ�เนินงาน จนเข้าเดือนที่หกของการจัดตั้งหน่วยงาน สพธอ. จึงเริ่มได้รับการจัดสรรงบบางส่วนสำ�หรับดำ�เนินงานและทำ� ให้สพธอ. สามารถรับพนักงานได้เพิ่มขึ้นจากเดิมที่มีอยู่เพียง ไม่กี่อัตรา นอกจากบางส่วนที่ยืมอัตรากำ�ลังจาก สวทช.มาทำ�งาน ดังนั้น การดำ�เนินงานของ สพธอ.ในระยะแรก ตั้งสำ�นักงานจึงเต็มไปด้วยปัญหาและอุปสรรคที่ต้องบริหาร จัดการในขณะเดียวกันก็ต้องผลักดันให้ภารกิจที่อยู่ภายใต้ความ รับผิดชอบนั้น สามารถส่งมอบให้กับหน่วยงาน คณะกรรมการ ที่เกี่ยวข้อง ภาคธุรกิจ ภาครัฐ หรือที่เป็นประโยชน์กับภาคสังคม เพื่อตอบสนองการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งสำ�นักงาน สพธอ.จึงเน้นการบริหาร จัดการที่มีการทำ�งานเป็นลักษณะ Project Base และจัดลำ�ดับ ความสำ�คัญสำ�หรับงานที่ต้องส่งมอบงานโดยเน้นงานที่มี ผลกระทบทางเศรษฐกิจค่อนข้างสูง เช่น การสนับสนุนการดำ�เนิน การของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าสำ�หรับระบบ e-Certificate เพื่อให้สามารถขอหนังสือรับรองนิติบุคคลได้ที่สถาบันการเงิน เพื่อ อำ�นวยความสะดวก ทั้งประหยัดค่าใช้จ่าย และลดค่าเสียโอกาส ให้กับภาคธุรกิจและประชาชน อันเป็นโครงการที่อาจกล่าวได้ว่า เป็นการดำ�เนินการรองรับการเปลี่ยนผ่านจากยุค analog เป็นยุค digital ตามแนวนโยบายของรัฐบาลที่แถลงไว้ต่อรัฐสภา ทั้งนี้ ในการดำ�เนินการสนับสนุน e-Certificate ของกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า ในส่วนของ สพธอ.จึงต้องเตรียมคนหรือ สร้างคนเพื่อให้มีคุณสมบัติที่มีความรู้ความสามารถในการ ดำ�เนินการ เตรียมมาตรฐานหรือมาตรการทางเทคโนโลยีที่ต้อง พร้อมให้บริการซึ่งยอมรับได้ อีกทั้งทำ�การตรวจสอบว่าระบบ e-Certificate ของกระทรวงพาณิชย์ที่ให้บริการนั้น มีความมั่นคง ปลอดภัย เพื่อให้ระบบ e-Certificate ที่ให้บริการนั้น มีความ น่าเชื่อถือ และต้องจัดทำ�กฎหมายลูกหรืออนุบัญญัติของ กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อรองรับระบบดังกล่าว เป็นต้น และภารกิจที่เป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ของสองกระทรวงก็เป็นไปด้วยความเรียบร้อย อย่างไรก็ตาม การสนับสนุนการดำ�เนินการของระบบ e-Certificate ก็เป็น เพียงตัวอย่างของผลการดำ�เนินงานที่สพธอ.ร่วมสนับสนุน และมีลักษณะงานทางปฏิบัติเป็น Multi-Task ที่มีความ ซับซ้อนและเป็นลักษณะที่ต้องใช้ความรู้หรือศาสตร์ในลักษณะ สหวิทยาการเพื่อให้งานสำ�เร็จลุล่วง และอีกภารกิจที่ สพธอ. ให้ความสำ�คัญ คือ การดำ�เนินงานเชิงรุกของทีมความมั่นคง ปลอดภัยที่ต้องทำ�หน้าที่บริหารและให้บริการศูนย์ประสาน การรักษาความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร์ (ThaiCERT) เพื่อลดความเสี่ยงทางออนไลน์ที่อาจเป็นการใช้โปรแกรม ไม่พึงประสงค์ เช่น ไวรัส เวิร์ม หรือโปรแกรมแฮกกิ้ง การทำ� ฟิชชิ่งหลอกเอาข้อมูลส่วนตัวหรือทางการเงิน โดยการทำ�งาน กับองค์กรทั้งที่เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือสถาบันการเงิน สมาคมต่างๆ ที่มีองค์กรนิติบุคคลเป็นสมาชิก แจ้งเตือนและบาง กรณีก็เข้าไปช่วยแนะนำ�วิธีแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งบางกรณี ต้องเข้าไปวิเคราะห์ข้อมูลและพยายหลักฐานที่เกิดขึ้นว่า การเจาะ ระบบหรือการล่วงละเมิดความมั่นคงปลอดภัยนั้น เกิดจากอะไร และจะแก้ปัญหาได้อย่างไร นอกจากตัวอย่างผลงานบางส่วนข้างต้นของ สพธอ. ในปีที่ผ่านมา สพธอ. ยังคงมีภารกิจสำ�คัญอีกหลายภารกิจที่มี ส่วนเข้าไปสนับสนุนประเทศไทยให้เป็น SMART Thailand และ เป็นภารกิจที่ท้าทายสำ�หรับหน่วยงานที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่แห่งนี้ ดังปรากฏในรายงานประจำ�ปีฉบับนี้ 2555 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕ Annual Report 201214 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 15
  • 11. จรัมพร โชติกเสถียร ประธานกรรมการ กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ปริญญาโท บริหารธุรกิจ, Harvard Graduate School of Business Administration, สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์, Massachusetts Institute of Technology, สหรัฐอเมริกา คณะกรรมการบริหาร สพธอ. ไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ กรรมการโดยตำ�แหน่ง ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณฑิต (เศรษฐศาสตร์เกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ปีการศึกษา ๒๕๕๒-๒๕๕๓ (วปอ.รุ่น ๕๒) ทวีศักดิ์ กออนันตกูล กรรมการโดยตำ�แหน่ง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ปริญญาโท เอก สาขา Digital Communications, Imperial College of Science and Technology มหาวิทยาลัยลอนดอน สหราชอาณาจักร, ปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับที่ ๑) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า Imperial College of Science and Technology มหาวิทยาลัยลอนดอน สหราชอาณาจักร วรวิทย์ จำ�ปีรัตน์ กรรมการโดยตำ�แหน่ง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงบประมาณ ปริญญาโท MPA สาขา Public Administration The University of Manila ประเทศฟิลิปปินส์ ปริญญาตรี BBA สาขา management The University of Manila ประเทศฟิลิปปินส์ วิลาวรรณ วนดุรงค์วรรณ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านการเงิน) ประธานคณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคล อนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ที่ปรึกษาอิสระ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการพัฒนานโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ สภากาชาดไทย กรรมการและรองเหรัญญิกมูลนิธิชัยพัฒนา กรรมการและรองเหรัญญิกมูลนิธิอุทกพัฒน์ ปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาพาณิชยศาสตร์และการบัญชี รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕ Annual Report 201216 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 17
  • 12. ปรีชา ปรมาพจน์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านการเงิน) ประธานคณะอนุกรรมการตรวจสอบ และประเมินผล กรรมการผู้จัดการ บริษัท พี โฟร์ บิวซิเนส จำ�กัด กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ ของธนาคาร เมกะ สากลพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการและอุปนายก สมาคมผู้ตรวจสอบ ภายในแห่งประเทศไทย ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อภิรมย์ น้อยอ่ำ� กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) อนุกรรมการบริหารงานบุคคล อนุกรรมการตรวจสอบและประเมิน ที่ปรึกษาอิสระด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ (Management Science และ Computer Science), North Texas State University, USA ปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์ (การเงินและธนาคาร) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชวลิต อัตถศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านนิติศาสตร์) ประธานคณะอนุกรรมการจัดทำ�กฎหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กรรมการ บริษัท ชวลิตแอนแอซโซซิเอทส์ จำ�กัด เนติบัณฑิตอังกฤษ Gray’s Inn, ประเทศอังกฤษ เนติบัณฑิตไทย สำ�นักอบรมศึกษากฏหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหาร สพธอ. ธีระ อภัยวงศ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์) ประธานกรรมการบริษัทศูนย์ประมวลผล จำ�กัด ประธานกรรมการบริษัท National I.T.M.X. ประธานกรรมการตรวจสอบบริษัท National Credit Bureau (NCB ) กรรมการที่ปรึกษา Society for Worldwide Interbank Financial Telecommunications (SWIFT) Asia-Pacific ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ University of New South Wales ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมการไฟฟ้าสื่อสาร University of New South Wales ประกาศนียบัตรวิทยาลัยป้องกันราช อาณาจักรร่วมภาครัฐและเอกชน (วปรอ) รุ่น ๓๗๗ Institute of Director ( I.O.D. ) รุ่น ๕ สมพรต สาระโกเศศ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ด้านสังคมสตร์) ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ บริษัท เพาเวอร์ พี จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหารหลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัยบริหารธุรกิจ อาจารย์ประจำ� มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ด้านการเงินและการลงทุน University of Exeter, United Kingdom ปริญญาโท บริหารธุรกิจ ด้านการบริหาร (General Administration) Pittsburg State University, USA ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ ด้านการบัญชี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สุรางคณา วายุภาพ กรรมการและเลขานุการ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการ ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (National Cyber Security Committee) อนุกรรมการความมั่นคงเครือข่ายและข้อมูลในกิจการ โทรคมนาคมและกิจการวิทยุคมนาคม กสทช. นายกสมาคมไทยแลนด์ พี เค ไอ รองนายกสมาคม Asia PKI Consortium ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกาศนียบัตร Taiwan International Public Key Infrastructure (PKI) Training Program, Taiwan, ๒๐๐๖ รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕ Annual Report 201218 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 19
  • 13. โครงสร้างสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ในการบริหารงานของส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้แบ่งออกเป็นส�ำนักย่อย ๙ ส�ำนัก ซึ่งมีภาระ หน้าที่ดูแลรับผิดชอบงานต่างๆ ดังนี้ ส�ำนักผู้อ�ำนวยการ เป็นหน่วยงานหลังบ้านมีความส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนและสนับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการบริหาร และผู้บริหารระดับสูงเพื่อให้มีข้อมูลที่ส�ำคัญและพร้อมส�ำหรับการบริหารองค์กร ดังนั้น ส�ำนักผู้อ�ำนวยการจึงท�ำ หน้าที่ส�ำคัญในการบริหารจัดการส�ำนักงานโดยภาพรวมเพื่อก�ำกับ ติดตาม และประเมินผลการด�ำเนินงานของ ส�ำนักงานให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ นโยบายที่คณะกรรมการบริหารก�ำหนด ตลอดจนกลั่นกรองข้อมูลก่อนเสนอ ผู้บริหารระดับสูง ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมภายในส�ำนักงาน ทั้งการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมภาพลักษณ์ของ องค์กรให้เป็นที่รู้จัก รวมถึงการด�ำเนินงานด้านต่างประเทศหรือวิเทศสัมพันธ์ของส�ำนักงานให้เป็นไปด้วยความ เรียบร้อย • งานเลขานุการผู้บริหาร • งานรัฐกิจสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร • งานประเมินองค์กร • งานวิเทศสัมพันธ์ • งานส่งเสริมยุทธศาสตร์องค์กร • งานเลขานุการคณะกรรมการบริหาร ส�ำนักบริหาร ถือเป็นกลไกและฟันเฟืองที่ส�ำคัญขององค์กร เพราะมีหน้าที่หลักในการสนับสนุนการด�ำเนินงานของทุกส�ำนัก ให้สามารถขับเคลื่อนภารกิจไปได้อย่างราบรื่น โดยส�ำนักบริหารมีภารกิจที่ส�ำคัญทั้งทางด้านการบริหารทรัพยากร บุคคล การบริหารจัดการงบประมาณของส�ำนักงาน การวางแผนและติดตามการใช้งบประมาณ รวมถึงงานด้าน การเงินและบัญชี ด้านพัสดุและจัดซื้อ ดูแลเรื่องอาคารและยานพาหนะ รวมถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของ ส�ำนักงานให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ส�ำเร็จลุล่วงอย่างมีประสิทธิภาพ • งานการเงินและบัญชี • งานงบประมาณและแผนงาน • งานบริหารทรัพยาบุคคล • งานพัสดุและจัดซื้อ • งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ส�ำนักนโยบายและส่งเสริม การวางรากฐานของการส่งเสริมและสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ต้องอาศัยการวางนโยบาย เพื่อก�ำหนดทิศทางในการผลักดันภารกิจของ สพธอ. ให้บรรลุผลส�ำเร็จ ควบคู่ไปกับการส่งเสริมกระบวนการด�ำเนิน งานในทางปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ดังนั้น ส�ำนักนโยบายและส่งเสริม จึงมีหน้าที่ส�ำคัญในการศึกษา วิจัย ส�ำรวจ และวิเคราะห์สถานภาพการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งในภาคธุรกิจและภาครัฐของประเทศไทยใน เชิงลึก ส�ำหรับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเร่งด่วนที่จ�ำเป็นต่อการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงศึกษา วิจัยกรอบนโยบาย แผนการด�ำเนินงานยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และผลักดันการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ ส่งเสริม และสนับสนุนการการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้มีความน่าเชื่อถือและมีความมั่นคงปลอดภัย • งานนโยบาย • งานกลยุทธ์ • งานดัชนีและส�ำรวจ • งานความร่วมมือระหว่างประเทศ • งานส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๕ Annual Report 201220 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 21