SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
1
คำประสม
บรรจบ ( 2544 ) กล่ำวว่ำ คำประสม คือ คำที่มีคำ 2 คำ
หรือมำกกว่ำนั้นมำประสมกันเข้ำเป็นคำใหม่อีกคำหนึ่ง
คำที่ประสมกันเข้ำเป็นคำใหม่นี้
แต่ละคำไม่ได้มีควำมหมำยคล้ำยกันอย่ำงคำซ้อนควำมหมำยสำ
คัญอยู่ที่คำต้น ส่วนคำตำมมำเป็นส่วนขยำย
ประสิทธิ์ ( 2516 ) กล่ำวว่ำ
คำประสมเป็นคำที่เกิดจำกหน่วยคำอิสระ
ประสมกับหน่วยคำอิสระด้วยกัน เช่น
คำว่ำ ลูกน้ำ สวนครัว โต๊ะเรียน แก้วน้ำ เป็นต้น
ปรีชำ ( 2522
) อธิบำยควำมหมำยของคำประสมว่ำ คำประสม (
Compound Word ) คือ คำที่ประกอบด้วยหน่วยคำอิสระ (
Free morpheme
) ตั้งแต่สองหน่วยขึ้นไปมำประสมกันเป็นคำใหม่ เช่น ไฟฟ้ำ
พัดลม ตู้เย็น ปลำเนื้ออ่อน เล็บมือนำง พระเจ้ำแผ่นดิน ฯ
ลฯ คำที่ยกตัวอย่ำงมำนี้ ประกอบด้วยหน่วยคำอิสระทั้งนั้น ก
ล่ำวคือ แต่ละหน่วยสำมำรถไปปรำกฏตำมลำพังได้ เป็น ไฟ
ฟ้ำ พัด ลม ตู้ เย็น ปลำ เนื้อ อ่อน เล็บ มือ นำง
พระ เจ้ำ แผ่น ดิน
2
โดยปกติ คำประสมของไทยมักจะเรียงคำหลักหรือคำที่มีลั
กษณะเด่นไว้หน้ำ คำที่มีลักษณะรองขยำยไว้หลัง คำที่เกิดใ
หม่จึงมักมีควำยหมำยตำมเค้ำของควำมหมำยเดิมเสมอ เช่น
น้ำหวำน ข้ำวตำก ขันหมำก ยำถ่ำย ฯลฯ แต่บำงคำใช้
คำที่มีน้ำหนักควำมหมำยเท่ำ
ๆ กันมำประสมกัน จึงทำให้เกิดควำมหมำยใหม่ที่พิสดำร ในเ
ชิงอุปมำอุปไมยขึ้น เช่น คอหอย กุ้งยิง หำงเสือ เป็นต้น
อุดม ( 2542 ) กล่ำวว่ำ คำประสม ได้แก่
กำรนำหน่วยคำมูลประสมกับหน่วยคำมูล หรือ
หน่วยคำมูลประสมกับหน่วยคำประสม หรือหน่วยคำประสมประ
สมกันเอง ให้เกิดเป็นนำมประสม กริยำประสม เป็นหลัก
โดยยึดโครงสร้ำงแบบแยก แบบขยำย และแบบซ้อน
สรุปว่ำ
คำประสม คือ คำที่เกิดจำกกำรนำคำมูลตั้งแต่ 2
คำขึ้นไปที่มีควำมหมำยต่ำงกัน มำประสมกัน เกิดเป็นคำ
ใหม่
ที่มีควำมหมำยใหม่แต่มีเค้ำควำมหมำยของคำมูลเดิมอยู่บ้
ำง หรืออำจมีควำมหมำยไปในเชิงอุปมำ
3
ลักษณะสำคัญของคำประสม
๑. เกิดจำกคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไปมำประสมกัน
แล้วเกิดควำมหมำยใหม่ แต่ยังมีเค้ำควำมหมำยเดิมอยู่ เช่น
พ่อ หมำยถึง สำมีของแม่
ตำ หมำยถึง พ่อของแม่
พ่อตำ หมำยถึง พ่อของภรรยำ
ลูก หมำยถึง บุตร
น้ำ หมำยถึง ของเหลว
ลูกน้ำ หมำยถึง ลูกของยุง
๒. สำมำรถแยกเป็นคำๆได้ และคำที่แยกได้แต่ละคำ
มีควำมหมำยต่ำงกัน เมื่อนำมำรวมกัน
ควำมหมำยต่ำงจำกคำเดิม เช่น
แม่บ้ำน
แม่ หมำยถึง หญิงผู้ให้กำเนิด
บ้ำน หมำยถึง ที่อยู่อำศัย
แม่บ้ำน หมำยถึง หญิงผู้จัดกำรงำนในบ้ำน
คอห่ำน
คอ หมำยถึง ส่วนของร่ำงกำยที่ต่อศีรษะกับตัว
ห่ำน หมำยถึง ชื่อนกจำพวกเป็ด คอยำว
คอห่ำน หมำยถึง ส่วนของโถส้วม
คำประสมต้องเป็นคำใหม่
มีควำมหมำยใหม่เท่ำนั้น
4
๓. คำที่มำประสมกันจะเป็นคำมูลในภำษำใดก็ได้ เช่น
เข็มทิศ (ไทย + สันสกฤต)
รถเก๋ง (บำลี + จีน)
ห้องโชว์ (ไทย + อังกฤษ)
รำชวัง (บำลี + ไทย)
ปักษ์ใต้ (สันสกฤต + ไทย)
โปรแกรมหนัง (อังกฤษ + ไทย)
๔ . คำประสมที่เกิดจำกคำมูล
ซึ่งมีลักษณะเป็นกำรย่อคำหลำย ๆ คำ ส่วนมำกมักจะ
ขึ้นต้นด้วย คำว่ำ นัก ชำว ช่ำง หมอ กำร ควำม ผู้
ของ เครื่อง ที่ เช่น
นัก นักร้อง นักเขียน นักเรียน นักสู้
ชำว ชำวบ้ำน ชำวเมือง ชำวนำ ชำววัง
คำประสมเกิดจำก
คำภำษำใดประส
มกันก็ได้นะ
5
ช่ำง ช่ำงไม้ ช่ำงเสริมสวย ช่ำงไฟฟ้ำ
หมอ หมอดู หมอควำม หมอผี หมอนวด
กำร กำรบ้ำน กำรเมือง กำรไฟฟ้ำ กำรคลัง
ควำม ควำมดี ควำมชั่ว ควำมสุข ควำมทุกข์
ผู้ ผู้ใหญ่ ผู้ดี ผู้อำนวยกำร ผู้น้อย
ผู้ร้ำย
ของ ของใช้ ของไหว้ ของเล่น
ของชำร่วย
เครื่อง เครื่องหมำย เครื่องบิน เครื่องมือ
ที่ ที่นอน ที่ดิน ที่เขี่ยบุหรี่ ที่เที่ยว ที่พัก
๕.คำประสม จะเป็นคำชนิดใดประสมกันก็ได้ เช่น
นำม + นำม เช่น แม่น้ำ พ่อบ้ำน แปรงสีฟัน
นำม + กริยำ เช่น แบบเรียน เข็มกลัด ยำดม
กริยำ + นำม เช่น กินใจ เล่นตัว เข้ำใจ ได้หน้ำ
นำม + วิเศษณ์ เช่น น้ำแข็ง ถั่วเขียว หัวหอม
กริยำ + กริยำ เช่น ต้มยำ พิมพ์ดีด จดจำ ท่องจำ
บุพบท + นำม เช่น ข้ำงถนน นอกคอก ต่อหน้ำ
วิเศษณ์ + วิเศษณ์ เช่น อ่อนหวำน หวำนเย็น
วิเศษณ์ + คำนำม เช่น อ่อนข้อ สองหัว
คำประส
มที่เกิดจ
ำกคำมูล
6
หลักกำรสังเกตคำประสม
คำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไปรวมกัน เกิดคำใหม่ มีควำมหมำยใหม่ เป็นคำประสม
ตัวอย่ำง
พัดลม หมำยถึง เครื่องพัดให้เย็นด้วยแรงไฟฟ้ำ
มือแข็ง หมำยถึง ไม่ค่อยไหว้คนง่ำยๆ
เสื้อกล้ำม หมำยถึง เสื้อชั้นในชำย
ลูกน้อง หมำยถึง ผู้ที่คอยติดสอยห้อยตำม
คำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไปรวมกัน ไม่เกิดควำมหมำยใหม่ ไม่ใช่คำประสม
ตัวอย่ำง
ลมพัด หมำยถึง ลมโชยมำ
มือขำด หมำยถึง มือถูกสิ่งใดสิ่งหนึ่งตัดขำด
คอเจ็บ หมำยถึง คออักเสบ
เสื้อเปื้อน หมำยถึง เสื้อติดสิ่งที่ทำให้เกิดควำมสกปรก
คำประสม วลี / ประโยค
รู้ไหม
คำที่นำมำรวมกันแล้ว
ไม่เป็นคำประสม
แล้วเป็นอะไร
7
๑.เกิดจำกคำมูลตั้งแต่สอง
คำขึ้น
ไปมำรวมกัน
๑.เกิดจำกคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป
มำรวมกัน
๒.เกิดคำใหม่และมีควำม
หมำย
ใหม่ เช่น
- ลูกมือ หมำยถึง
ผู้ที่ทำกำร
ตำมคำแนะนำของ
หัวหน้ำ
๒.มีควำมหมำยเพิ่มขึ้น เรียกว่ำ วลี
หรือ
ได้ใจควำมสมบูรณ์เรียกว่ำประโยค
เช่น
- ลูกครู หมำยถึง ลูกของครู
เป็นวลี
- ลูกเดิน หมำยถึง
ลูกแสดงอำกำรเดิน
เป็นประโยค
คำที่นำมำรวมกัน
แล้วไม่เป็นคำประสม
อำจจะเป็นวลีหรือประโยค
ตำรำงเปรียบเทียบคำประสม วลี
หรือ ประโยค
8
ลักษณะคำประสม
คำประสมสลับที่กัน ควำมหมำยเปลี่ยนไป
แต่เป็นคำประสมทั้งสองคำ
เช่น
ใจเสีย มีใจไม่ดีเพรำะกลัวหรือวิตกกังวล
เสียใจ
ไม่สบำยใจเพรำะมีเรื่องไม่สมประสงค์หรือผิดประสง
ค์
9
คำประสมสลับที่กันควำมหมำยเปลี่ยนไป
ไม่เป็นคำประสมทั้งสองคำ เช่น
เข็มกลัด เป็นคำประสม หมำยถึง
เครื่องประดับสำหรับกลัดเสื้อ
กลัดเข็ม ไม่เป็นคำประสม
เพรำะหมำยถึงอำกำรกลัดเข็ม
ควำมหมำยเหมือนคำเดิม
แป้งเปียก เป็นคำประสม หมำยถึง
แป้งที่กวนให้สุกจนข้นและเละ
เปียกแป้ง ไม่เป็นคำประสม
เพรำะหมำยถึงอำกำรเปียกแป้ง
ควำมหมำยเหมือนคำเดิม
มูลสองคำขึ้นไปรวมกันเป็น
คำประสมได้ ต้องเป็นคำใหม่
มีควำมหมำยใหม่ที่ต่ำงจำกค
วำมหมำยของคำเดิม
10
วิธีสร้ำงคำประสม
สุธิวงศ์ ( 2531 ) กล่ำวว่ำ วิธีสร้ำงคำประสม คือ
นำคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป
และเป็นคำที่มีควำมหมำยต่ำงกันมำประสมกันเป็นคำใหม่
โดยใช้คำที่มีลักษณะเด่น เป็นคำหลักหรือเป็น ฐำน (Base)
แล้วใช้คำที่มีลักษณะรองมำขยำยไว้ข้ำงหลัง
คำที่เกิดขึ้นใหม่มีควำมหมำยใหม่ตำมเค้ำของควำมหมำยเดิม
(พวกควำมหมำยตรง)
แต่บำงที่ใช้คำที่มีน้ำหนักควำมหมำยเท่ำๆกันมำประสมกัน
ทำให้เกิดควำมพิสดำรขึ้น (พวกควำมหมำยอุปมำอุปไมย)
บรรจบ ( 2544 ) กล่ำวถึง วิธีสร้ำงคำประสมไว้ดังนี้
1. นำคำที่มีควำมหมำยสมบูรณ์มีที่ใช้ในภำษำ 2 คำ
หรือมำกกว่ำนั้นประสมกันเข้ำ
ให้คำต้นเป็นคำตัวตั้งมีควำมหมำยสำคัญ
คำอื่นนอกจำกนั้นซึ่งอำจถือเป็นคำขยำยก็ได้ ช่วยขยำยควำม
เพื่อบอกทั้งลักษณะใหญ่และลักษณะย่อย
2. คำที่ประสมแล้วจะมีควำมหมำยใหม่
ต้องกำรให้หมำยถึงอะไร เป็นชื่อของอะไร
ก็กำหนดคำตัวตั้งตำมนั้น
ถ้ำต้องกำรบอกรำยละเอียดว่ำลักษณะเป็นอย่ำงไร
ประโยชน์ใช้สอยอย่ำงไร หรืออื่นๆ
11
ก็กำหนดคำขยำยที่ตำมมำให้ได้ควำมตำมต้องกำร
บำงทีต้องอำศัยกำรย่อควำมอันยืดยำวลงไว้ในคำเพียง 2-3 คำ
หรือบำงทีในคำเพียงคำเดียว
3. คำตัวตั้งก็ตำมคำขยำยก็ตำม อำจเป็นคำที่มีหน้ำที่ต่ำงๆ
เป็นคำนำมก็มี กริยำก็มี
คำวิเศษณ์ก็มี เมื่อประสมแล้วทำหน้ำที่ได้ทั้งเป็น
นำม กริยำ และคำวิเศษณ์
คำประสมที่ใช้เป็นคำคุณศัพท์
12
1. คำตัวตั้งเป็นคำนำมและคำขยำยเป็นคำคุณศัพท์ห
รืออื่นๆ
เช่น ชั้นต่ำ ส้นสูง
2. คำตัวตั้งเป็นกริยำและคำขยำยเป็นคำนำมหรืออื่น
ๆ
เช่น กันเปื้อน วำดเขียน คิดเลข
3. คำตัวตั้งเป็นคำวิเศษณ์และคำขยำยเป็นคำนำมแล
ะอื่นๆ
เช่น หลำยใจ สองหัว ( มีควำมหมำยเชิงอุปมำ)
4. คำตัวตั้งเป็นบุพบทและคำขยำยเป็นนำมหรืออื่นๆ
เช่น กลำงแปลง ข้ำงถนน
คำประสมใช้เป็นคำคุณศัพท์หรือคำนำม มีควำมห
มำยในเชิงอุปมำ
1. คำตัวตั้งเป็นคำนำมชื่ออวัยวะของร่ำงกำย คำขยำยเป็น
คำนำม กริยำหรือคุณศัพท์ ได้แก่
13
หัว เช่น หัวไม้ หัวเรือใหญ่ หัวหน้ำ
ปำก เช่น ปำกแข็ง ปำกตลำด
หน้ำ เช่น หน้ำม้ำ หน้ำตำย หน้ำหนำ
คอ เช่น คอหอย คอแข็ง คอสูง
2. คำตัวตั้งเป็นคำนำมอื่นๆ ที่มีลักษณะอันจะนำมำใช้เป็นอุปม
ำเปรียบเทียบได้ คำขยำยเป็นคำกริยำหรือคำนำม ได้แก่
ลูก เช่น ลูกกวำด ลูกชิ้น ลูกดิ่ง ลูกตุ้ม
แม่ เช่น แม่ทัพ แม่บ้ำน แม่สื่อ แม่เลี้ยง
คำประสมที่ใช้เป็นคำกริยำ
ควำมหมำยมักเป็นไปในเชิงอุปมำ ดังนี้
1. คำตัวตั้งเป็นคำกริยำ คำขยำยเป็นกรรม
14
ยิงปืน (หรือ ยิงธนู ยิงหน้ำไม้ ) หมำยควำมว่ำ ยิงด้
วยปืน ด้วยธนู
ตัดเสื้อ (ตัดกำงเกง ตัดกระโปรง) หมำยควำมว่ำ ตัด
ผ้ำทำเป็นเสื้อ กำงเกง กระโปรง
2. คำตัวตั้งเป็นคำกริยำ คำขยำยเป็นคำนำมที่เป็นชื่ออวัย
วะ ของร่ำงกำย มีควำมหมำยในเชิงอุปมำ ดังนี้
กริยำ +
ใจ เช่น กินใจ ตั้งใจ ตำยใจ นอนใจ
กริยำ
+หน้ำ เช่น หักหน้ำ ไว้หน้ำ ได้หน้ำ เสียหน้ำ
3. คำตัวตั้งเป็นคำกริยำ คำขยำยเป็นบุพบท
เช่น กินใน เป็นกลำง
4. คำตัวตั้งเป็นบุพบท คำขยำยเป็นคำนำม
เช่น นอกใจ นอกคอก
5. คำตัวตั้งเป็นคำวิเศษณ์ คำขยำยเป็นคำนำม
ที่เป็นชื่ออวัยวะของร่ำงกำย
15
วิเศษณ์ +
ใจ เช่น แข็งใจ อ่อนใจ ดีใจ น้อยใจ
วิเศษณ์ + หน้ำ เช่น น้อยหน้ำ
6. คำตัวตั้งเป็นกริยำ
คำขยำยก็เป็นกริยำ มีควำมสำคัญเท่ำกัน เหมือนเชื่อมด้วยแล
ะ อำจสับหน้ำสับหลังกันได้ คำใดอยู่ต้นถือเป็นตัวตั้ง
ควำมสำคัญอยู่ที่นั่น คำท้ำยเป็นคำขยำยไป เช่น ให้หำ –
หำให้
7. คำตัวตั้งเป็นคำกริยำ คำขยำยเป็นกริยำวิเศษณ์ ได้แ
ก่ อวดดี ถือดี คุยโต
8. คำตัวตั้งเป็นคำกริยำ
มีคำอื่นๆตำม มีควำมหมำยไปในเชิงอุปมำ เช่น ตัดสิน ชี้
ขำด ตกลง
คำประสมที่ใช้เป็นคำกริยำวิเศษณ์
1. คำตัวตั้งเป็นคุณศัพท์ คำขยำยเป็นคำนำม เช่น
สำมขุม ใช้กับ ย่ำง เป็น ย่ำงสำมขุม
2. คำตัวตั้งเป็นกริยำ คำขยำยเป็นคำนำม เช่น นับก้ำ
ว ใช้กับ เดิน เป็น เดินนับก้ำว
16
3. คำตัวตั้งเป็นคำนำม คำขยำยเป็นคำอื่นๆ เช่น คอต
ก ใช้กับ นั่ง เป็น นั่งคอตก
4. คำตัวตั้งเป็นบุพบท คำขยำยเป็นคำนำม เช่น นอก
หน้ำ เช่น แสดงออกนอกหน้ำ
5. คำตัวตั้งเป็นคำบุพบท คำขยำยเป็นคำกริยำ
หรือคำวิเศษณ์ เช่น ตำมมีตำมเกิด เช่น ทำไปตำมมีตำมเกิ
ด (สุดแต่จะทำได้)
สรุปได้ว่ำ คำประสมอำจใช้เป็นทั้งคำนำม คุณศัพ
ท์ กริยำ และกริยำวิเศษณ์
17
ทบทวนควำมเข้ำใจ
เน่ำ ไม่ใช่คำประสม เพรำะควำมหมำยไม่เปลี่ยนจำกคำเดิม
หมำยถึงน้ำแสดงอำกำรเน่ำ เป็นประโยค
น้ำค้ำง เป็นคำประสม หมำยถึง ไอน้ำในอำกำศที่ถูกควำมเย็น
แล้วหยำดลงมำค้ำงบนใบไม้ใบหญ้ำ
แม่ป่วย ไม่ใช่คำประสม เพรำะควำมหมำยเหมือนคำมูลเดิม
หมำยถึง แม่ป่วย เป็นประโยค
แม่พิมพ์ เป็นคำประสม หมำยถึง แม่แบบ
เครื่องดับ ไม่ใช่คำประสม เพรำะควำมหมำยเหมือนคำมูลเดิม
หมำยถึงเครื่องแสดงอำกำรดับ เป็นประโยค
เครื่องบิน เป็นคำประสม หมำยถึง อำกำศยำนชนิดหนึ่ง
18
สรุป
คำประสม คือ คำมูลสองคำขึ้นไปประสมกัน
เกิดคำใหม่
มีควำมหมำยใหม่ เช่น
น้ำ + ยำ + ล้ำง + จำน น้ำยำล้ำงจำน
ไม้ + แขวน + เสื้อ ไม้แขวนเสื้อ
คำมูลสองคำขึ้นไปรวมกันไม่เกิดคำใหม่
ไม่เกิดควำมหมำยใหม่
ไม่ใช่คำประสม เช่น
19
หำงเสือ หมำยถึงหำงของเสือ
เป็นวลีไม่ใช่คำประสม
หำงเสือ หมำยถึงหำงเสือเรือ
เป็นคำประสม
ผ้ำขำว หมำยถึงผ้ำสีขำว
เป็นวลีไม่ใช่คำประสม
น้ำขำว หมำยถึงน้ำเมำ เป็นคำประสม
ปูตำย หมำยถึง ปูแสดงอำกำรตำย
เป็นประโยค
ไม่ใช่คำประสม
ปูม้ำ หมำยถึง ปูทะเลชนิดหนึ่ง
เป็นคำประสม
20
ภำคผนวก
21
บรรณำนุกรม
https://www.gotoknow.org/posts/313342
https://sites.google.com/site/dreamdear02
/sara-phasa-thiy

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
ณัฐพล แสงทวี
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 

Tendances (20)

ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 

En vedette (6)

นายสถาพร พานิช
นายสถาพร พานิชนายสถาพร พานิช
นายสถาพร พานิช
 
แฮนด์บอล
แฮนด์บอลแฮนด์บอล
แฮนด์บอล
 
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิดคําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 

Similaire à คำประสม

4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
Boom Beautymagic
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
bambookruble
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
sukuman139
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
wisita42
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
Warissa'nan Wrs
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran_Jarurnphong
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran_Jarurnphong
 

Similaire à คำประสม (20)

คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องคำประสม
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องคำประสมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องคำประสม
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องคำประสม
 
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 

คำประสม

  • 1. 1 คำประสม บรรจบ ( 2544 ) กล่ำวว่ำ คำประสม คือ คำที่มีคำ 2 คำ หรือมำกกว่ำนั้นมำประสมกันเข้ำเป็นคำใหม่อีกคำหนึ่ง คำที่ประสมกันเข้ำเป็นคำใหม่นี้ แต่ละคำไม่ได้มีควำมหมำยคล้ำยกันอย่ำงคำซ้อนควำมหมำยสำ คัญอยู่ที่คำต้น ส่วนคำตำมมำเป็นส่วนขยำย ประสิทธิ์ ( 2516 ) กล่ำวว่ำ คำประสมเป็นคำที่เกิดจำกหน่วยคำอิสระ ประสมกับหน่วยคำอิสระด้วยกัน เช่น คำว่ำ ลูกน้ำ สวนครัว โต๊ะเรียน แก้วน้ำ เป็นต้น ปรีชำ ( 2522 ) อธิบำยควำมหมำยของคำประสมว่ำ คำประสม ( Compound Word ) คือ คำที่ประกอบด้วยหน่วยคำอิสระ ( Free morpheme ) ตั้งแต่สองหน่วยขึ้นไปมำประสมกันเป็นคำใหม่ เช่น ไฟฟ้ำ พัดลม ตู้เย็น ปลำเนื้ออ่อน เล็บมือนำง พระเจ้ำแผ่นดิน ฯ ลฯ คำที่ยกตัวอย่ำงมำนี้ ประกอบด้วยหน่วยคำอิสระทั้งนั้น ก ล่ำวคือ แต่ละหน่วยสำมำรถไปปรำกฏตำมลำพังได้ เป็น ไฟ ฟ้ำ พัด ลม ตู้ เย็น ปลำ เนื้อ อ่อน เล็บ มือ นำง พระ เจ้ำ แผ่น ดิน
  • 2. 2 โดยปกติ คำประสมของไทยมักจะเรียงคำหลักหรือคำที่มีลั กษณะเด่นไว้หน้ำ คำที่มีลักษณะรองขยำยไว้หลัง คำที่เกิดใ หม่จึงมักมีควำยหมำยตำมเค้ำของควำมหมำยเดิมเสมอ เช่น น้ำหวำน ข้ำวตำก ขันหมำก ยำถ่ำย ฯลฯ แต่บำงคำใช้ คำที่มีน้ำหนักควำมหมำยเท่ำ ๆ กันมำประสมกัน จึงทำให้เกิดควำมหมำยใหม่ที่พิสดำร ในเ ชิงอุปมำอุปไมยขึ้น เช่น คอหอย กุ้งยิง หำงเสือ เป็นต้น อุดม ( 2542 ) กล่ำวว่ำ คำประสม ได้แก่ กำรนำหน่วยคำมูลประสมกับหน่วยคำมูล หรือ หน่วยคำมูลประสมกับหน่วยคำประสม หรือหน่วยคำประสมประ สมกันเอง ให้เกิดเป็นนำมประสม กริยำประสม เป็นหลัก โดยยึดโครงสร้ำงแบบแยก แบบขยำย และแบบซ้อน สรุปว่ำ คำประสม คือ คำที่เกิดจำกกำรนำคำมูลตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปที่มีควำมหมำยต่ำงกัน มำประสมกัน เกิดเป็นคำ ใหม่ ที่มีควำมหมำยใหม่แต่มีเค้ำควำมหมำยของคำมูลเดิมอยู่บ้ ำง หรืออำจมีควำมหมำยไปในเชิงอุปมำ
  • 3. 3 ลักษณะสำคัญของคำประสม ๑. เกิดจำกคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไปมำประสมกัน แล้วเกิดควำมหมำยใหม่ แต่ยังมีเค้ำควำมหมำยเดิมอยู่ เช่น พ่อ หมำยถึง สำมีของแม่ ตำ หมำยถึง พ่อของแม่ พ่อตำ หมำยถึง พ่อของภรรยำ ลูก หมำยถึง บุตร น้ำ หมำยถึง ของเหลว ลูกน้ำ หมำยถึง ลูกของยุง ๒. สำมำรถแยกเป็นคำๆได้ และคำที่แยกได้แต่ละคำ มีควำมหมำยต่ำงกัน เมื่อนำมำรวมกัน ควำมหมำยต่ำงจำกคำเดิม เช่น แม่บ้ำน แม่ หมำยถึง หญิงผู้ให้กำเนิด บ้ำน หมำยถึง ที่อยู่อำศัย แม่บ้ำน หมำยถึง หญิงผู้จัดกำรงำนในบ้ำน คอห่ำน คอ หมำยถึง ส่วนของร่ำงกำยที่ต่อศีรษะกับตัว ห่ำน หมำยถึง ชื่อนกจำพวกเป็ด คอยำว คอห่ำน หมำยถึง ส่วนของโถส้วม คำประสมต้องเป็นคำใหม่ มีควำมหมำยใหม่เท่ำนั้น
  • 4. 4 ๓. คำที่มำประสมกันจะเป็นคำมูลในภำษำใดก็ได้ เช่น เข็มทิศ (ไทย + สันสกฤต) รถเก๋ง (บำลี + จีน) ห้องโชว์ (ไทย + อังกฤษ) รำชวัง (บำลี + ไทย) ปักษ์ใต้ (สันสกฤต + ไทย) โปรแกรมหนัง (อังกฤษ + ไทย) ๔ . คำประสมที่เกิดจำกคำมูล ซึ่งมีลักษณะเป็นกำรย่อคำหลำย ๆ คำ ส่วนมำกมักจะ ขึ้นต้นด้วย คำว่ำ นัก ชำว ช่ำง หมอ กำร ควำม ผู้ ของ เครื่อง ที่ เช่น นัก นักร้อง นักเขียน นักเรียน นักสู้ ชำว ชำวบ้ำน ชำวเมือง ชำวนำ ชำววัง คำประสมเกิดจำก คำภำษำใดประส มกันก็ได้นะ
  • 5. 5 ช่ำง ช่ำงไม้ ช่ำงเสริมสวย ช่ำงไฟฟ้ำ หมอ หมอดู หมอควำม หมอผี หมอนวด กำร กำรบ้ำน กำรเมือง กำรไฟฟ้ำ กำรคลัง ควำม ควำมดี ควำมชั่ว ควำมสุข ควำมทุกข์ ผู้ ผู้ใหญ่ ผู้ดี ผู้อำนวยกำร ผู้น้อย ผู้ร้ำย ของ ของใช้ ของไหว้ ของเล่น ของชำร่วย เครื่อง เครื่องหมำย เครื่องบิน เครื่องมือ ที่ ที่นอน ที่ดิน ที่เขี่ยบุหรี่ ที่เที่ยว ที่พัก ๕.คำประสม จะเป็นคำชนิดใดประสมกันก็ได้ เช่น นำม + นำม เช่น แม่น้ำ พ่อบ้ำน แปรงสีฟัน นำม + กริยำ เช่น แบบเรียน เข็มกลัด ยำดม กริยำ + นำม เช่น กินใจ เล่นตัว เข้ำใจ ได้หน้ำ นำม + วิเศษณ์ เช่น น้ำแข็ง ถั่วเขียว หัวหอม กริยำ + กริยำ เช่น ต้มยำ พิมพ์ดีด จดจำ ท่องจำ บุพบท + นำม เช่น ข้ำงถนน นอกคอก ต่อหน้ำ วิเศษณ์ + วิเศษณ์ เช่น อ่อนหวำน หวำนเย็น วิเศษณ์ + คำนำม เช่น อ่อนข้อ สองหัว คำประส มที่เกิดจ ำกคำมูล
  • 6. 6 หลักกำรสังเกตคำประสม คำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไปรวมกัน เกิดคำใหม่ มีควำมหมำยใหม่ เป็นคำประสม ตัวอย่ำง พัดลม หมำยถึง เครื่องพัดให้เย็นด้วยแรงไฟฟ้ำ มือแข็ง หมำยถึง ไม่ค่อยไหว้คนง่ำยๆ เสื้อกล้ำม หมำยถึง เสื้อชั้นในชำย ลูกน้อง หมำยถึง ผู้ที่คอยติดสอยห้อยตำม คำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไปรวมกัน ไม่เกิดควำมหมำยใหม่ ไม่ใช่คำประสม ตัวอย่ำง ลมพัด หมำยถึง ลมโชยมำ มือขำด หมำยถึง มือถูกสิ่งใดสิ่งหนึ่งตัดขำด คอเจ็บ หมำยถึง คออักเสบ เสื้อเปื้อน หมำยถึง เสื้อติดสิ่งที่ทำให้เกิดควำมสกปรก คำประสม วลี / ประโยค รู้ไหม คำที่นำมำรวมกันแล้ว ไม่เป็นคำประสม แล้วเป็นอะไร
  • 7. 7 ๑.เกิดจำกคำมูลตั้งแต่สอง คำขึ้น ไปมำรวมกัน ๑.เกิดจำกคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป มำรวมกัน ๒.เกิดคำใหม่และมีควำม หมำย ใหม่ เช่น - ลูกมือ หมำยถึง ผู้ที่ทำกำร ตำมคำแนะนำของ หัวหน้ำ ๒.มีควำมหมำยเพิ่มขึ้น เรียกว่ำ วลี หรือ ได้ใจควำมสมบูรณ์เรียกว่ำประโยค เช่น - ลูกครู หมำยถึง ลูกของครู เป็นวลี - ลูกเดิน หมำยถึง ลูกแสดงอำกำรเดิน เป็นประโยค คำที่นำมำรวมกัน แล้วไม่เป็นคำประสม อำจจะเป็นวลีหรือประโยค ตำรำงเปรียบเทียบคำประสม วลี หรือ ประโยค
  • 9. 9 คำประสมสลับที่กันควำมหมำยเปลี่ยนไป ไม่เป็นคำประสมทั้งสองคำ เช่น เข็มกลัด เป็นคำประสม หมำยถึง เครื่องประดับสำหรับกลัดเสื้อ กลัดเข็ม ไม่เป็นคำประสม เพรำะหมำยถึงอำกำรกลัดเข็ม ควำมหมำยเหมือนคำเดิม แป้งเปียก เป็นคำประสม หมำยถึง แป้งที่กวนให้สุกจนข้นและเละ เปียกแป้ง ไม่เป็นคำประสม เพรำะหมำยถึงอำกำรเปียกแป้ง ควำมหมำยเหมือนคำเดิม มูลสองคำขึ้นไปรวมกันเป็น คำประสมได้ ต้องเป็นคำใหม่ มีควำมหมำยใหม่ที่ต่ำงจำกค วำมหมำยของคำเดิม
  • 10. 10 วิธีสร้ำงคำประสม สุธิวงศ์ ( 2531 ) กล่ำวว่ำ วิธีสร้ำงคำประสม คือ นำคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป และเป็นคำที่มีควำมหมำยต่ำงกันมำประสมกันเป็นคำใหม่ โดยใช้คำที่มีลักษณะเด่น เป็นคำหลักหรือเป็น ฐำน (Base) แล้วใช้คำที่มีลักษณะรองมำขยำยไว้ข้ำงหลัง คำที่เกิดขึ้นใหม่มีควำมหมำยใหม่ตำมเค้ำของควำมหมำยเดิม (พวกควำมหมำยตรง) แต่บำงที่ใช้คำที่มีน้ำหนักควำมหมำยเท่ำๆกันมำประสมกัน ทำให้เกิดควำมพิสดำรขึ้น (พวกควำมหมำยอุปมำอุปไมย) บรรจบ ( 2544 ) กล่ำวถึง วิธีสร้ำงคำประสมไว้ดังนี้ 1. นำคำที่มีควำมหมำยสมบูรณ์มีที่ใช้ในภำษำ 2 คำ หรือมำกกว่ำนั้นประสมกันเข้ำ ให้คำต้นเป็นคำตัวตั้งมีควำมหมำยสำคัญ คำอื่นนอกจำกนั้นซึ่งอำจถือเป็นคำขยำยก็ได้ ช่วยขยำยควำม เพื่อบอกทั้งลักษณะใหญ่และลักษณะย่อย 2. คำที่ประสมแล้วจะมีควำมหมำยใหม่ ต้องกำรให้หมำยถึงอะไร เป็นชื่อของอะไร ก็กำหนดคำตัวตั้งตำมนั้น ถ้ำต้องกำรบอกรำยละเอียดว่ำลักษณะเป็นอย่ำงไร ประโยชน์ใช้สอยอย่ำงไร หรืออื่นๆ
  • 11. 11 ก็กำหนดคำขยำยที่ตำมมำให้ได้ควำมตำมต้องกำร บำงทีต้องอำศัยกำรย่อควำมอันยืดยำวลงไว้ในคำเพียง 2-3 คำ หรือบำงทีในคำเพียงคำเดียว 3. คำตัวตั้งก็ตำมคำขยำยก็ตำม อำจเป็นคำที่มีหน้ำที่ต่ำงๆ เป็นคำนำมก็มี กริยำก็มี คำวิเศษณ์ก็มี เมื่อประสมแล้วทำหน้ำที่ได้ทั้งเป็น นำม กริยำ และคำวิเศษณ์ คำประสมที่ใช้เป็นคำคุณศัพท์
  • 12. 12 1. คำตัวตั้งเป็นคำนำมและคำขยำยเป็นคำคุณศัพท์ห รืออื่นๆ เช่น ชั้นต่ำ ส้นสูง 2. คำตัวตั้งเป็นกริยำและคำขยำยเป็นคำนำมหรืออื่น ๆ เช่น กันเปื้อน วำดเขียน คิดเลข 3. คำตัวตั้งเป็นคำวิเศษณ์และคำขยำยเป็นคำนำมแล ะอื่นๆ เช่น หลำยใจ สองหัว ( มีควำมหมำยเชิงอุปมำ) 4. คำตัวตั้งเป็นบุพบทและคำขยำยเป็นนำมหรืออื่นๆ เช่น กลำงแปลง ข้ำงถนน คำประสมใช้เป็นคำคุณศัพท์หรือคำนำม มีควำมห มำยในเชิงอุปมำ 1. คำตัวตั้งเป็นคำนำมชื่ออวัยวะของร่ำงกำย คำขยำยเป็น คำนำม กริยำหรือคุณศัพท์ ได้แก่
  • 13. 13 หัว เช่น หัวไม้ หัวเรือใหญ่ หัวหน้ำ ปำก เช่น ปำกแข็ง ปำกตลำด หน้ำ เช่น หน้ำม้ำ หน้ำตำย หน้ำหนำ คอ เช่น คอหอย คอแข็ง คอสูง 2. คำตัวตั้งเป็นคำนำมอื่นๆ ที่มีลักษณะอันจะนำมำใช้เป็นอุปม ำเปรียบเทียบได้ คำขยำยเป็นคำกริยำหรือคำนำม ได้แก่ ลูก เช่น ลูกกวำด ลูกชิ้น ลูกดิ่ง ลูกตุ้ม แม่ เช่น แม่ทัพ แม่บ้ำน แม่สื่อ แม่เลี้ยง คำประสมที่ใช้เป็นคำกริยำ ควำมหมำยมักเป็นไปในเชิงอุปมำ ดังนี้ 1. คำตัวตั้งเป็นคำกริยำ คำขยำยเป็นกรรม
  • 14. 14 ยิงปืน (หรือ ยิงธนู ยิงหน้ำไม้ ) หมำยควำมว่ำ ยิงด้ วยปืน ด้วยธนู ตัดเสื้อ (ตัดกำงเกง ตัดกระโปรง) หมำยควำมว่ำ ตัด ผ้ำทำเป็นเสื้อ กำงเกง กระโปรง 2. คำตัวตั้งเป็นคำกริยำ คำขยำยเป็นคำนำมที่เป็นชื่ออวัย วะ ของร่ำงกำย มีควำมหมำยในเชิงอุปมำ ดังนี้ กริยำ + ใจ เช่น กินใจ ตั้งใจ ตำยใจ นอนใจ กริยำ +หน้ำ เช่น หักหน้ำ ไว้หน้ำ ได้หน้ำ เสียหน้ำ 3. คำตัวตั้งเป็นคำกริยำ คำขยำยเป็นบุพบท เช่น กินใน เป็นกลำง 4. คำตัวตั้งเป็นบุพบท คำขยำยเป็นคำนำม เช่น นอกใจ นอกคอก 5. คำตัวตั้งเป็นคำวิเศษณ์ คำขยำยเป็นคำนำม ที่เป็นชื่ออวัยวะของร่ำงกำย
  • 15. 15 วิเศษณ์ + ใจ เช่น แข็งใจ อ่อนใจ ดีใจ น้อยใจ วิเศษณ์ + หน้ำ เช่น น้อยหน้ำ 6. คำตัวตั้งเป็นกริยำ คำขยำยก็เป็นกริยำ มีควำมสำคัญเท่ำกัน เหมือนเชื่อมด้วยแล ะ อำจสับหน้ำสับหลังกันได้ คำใดอยู่ต้นถือเป็นตัวตั้ง ควำมสำคัญอยู่ที่นั่น คำท้ำยเป็นคำขยำยไป เช่น ให้หำ – หำให้ 7. คำตัวตั้งเป็นคำกริยำ คำขยำยเป็นกริยำวิเศษณ์ ได้แ ก่ อวดดี ถือดี คุยโต 8. คำตัวตั้งเป็นคำกริยำ มีคำอื่นๆตำม มีควำมหมำยไปในเชิงอุปมำ เช่น ตัดสิน ชี้ ขำด ตกลง คำประสมที่ใช้เป็นคำกริยำวิเศษณ์ 1. คำตัวตั้งเป็นคุณศัพท์ คำขยำยเป็นคำนำม เช่น สำมขุม ใช้กับ ย่ำง เป็น ย่ำงสำมขุม 2. คำตัวตั้งเป็นกริยำ คำขยำยเป็นคำนำม เช่น นับก้ำ ว ใช้กับ เดิน เป็น เดินนับก้ำว
  • 16. 16 3. คำตัวตั้งเป็นคำนำม คำขยำยเป็นคำอื่นๆ เช่น คอต ก ใช้กับ นั่ง เป็น นั่งคอตก 4. คำตัวตั้งเป็นบุพบท คำขยำยเป็นคำนำม เช่น นอก หน้ำ เช่น แสดงออกนอกหน้ำ 5. คำตัวตั้งเป็นคำบุพบท คำขยำยเป็นคำกริยำ หรือคำวิเศษณ์ เช่น ตำมมีตำมเกิด เช่น ทำไปตำมมีตำมเกิ ด (สุดแต่จะทำได้) สรุปได้ว่ำ คำประสมอำจใช้เป็นทั้งคำนำม คุณศัพ ท์ กริยำ และกริยำวิเศษณ์
  • 17. 17 ทบทวนควำมเข้ำใจ เน่ำ ไม่ใช่คำประสม เพรำะควำมหมำยไม่เปลี่ยนจำกคำเดิม หมำยถึงน้ำแสดงอำกำรเน่ำ เป็นประโยค น้ำค้ำง เป็นคำประสม หมำยถึง ไอน้ำในอำกำศที่ถูกควำมเย็น แล้วหยำดลงมำค้ำงบนใบไม้ใบหญ้ำ แม่ป่วย ไม่ใช่คำประสม เพรำะควำมหมำยเหมือนคำมูลเดิม หมำยถึง แม่ป่วย เป็นประโยค แม่พิมพ์ เป็นคำประสม หมำยถึง แม่แบบ เครื่องดับ ไม่ใช่คำประสม เพรำะควำมหมำยเหมือนคำมูลเดิม หมำยถึงเครื่องแสดงอำกำรดับ เป็นประโยค เครื่องบิน เป็นคำประสม หมำยถึง อำกำศยำนชนิดหนึ่ง
  • 18. 18 สรุป คำประสม คือ คำมูลสองคำขึ้นไปประสมกัน เกิดคำใหม่ มีควำมหมำยใหม่ เช่น น้ำ + ยำ + ล้ำง + จำน น้ำยำล้ำงจำน ไม้ + แขวน + เสื้อ ไม้แขวนเสื้อ คำมูลสองคำขึ้นไปรวมกันไม่เกิดคำใหม่ ไม่เกิดควำมหมำยใหม่ ไม่ใช่คำประสม เช่น
  • 19. 19 หำงเสือ หมำยถึงหำงของเสือ เป็นวลีไม่ใช่คำประสม หำงเสือ หมำยถึงหำงเสือเรือ เป็นคำประสม ผ้ำขำว หมำยถึงผ้ำสีขำว เป็นวลีไม่ใช่คำประสม น้ำขำว หมำยถึงน้ำเมำ เป็นคำประสม ปูตำย หมำยถึง ปูแสดงอำกำรตำย เป็นประโยค ไม่ใช่คำประสม ปูม้ำ หมำยถึง ปูทะเลชนิดหนึ่ง เป็นคำประสม