SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
พระราชประวัติ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย

                  จัดทาโดย
       นางสาว กิตยา เชิงหอม เลขที่ 6
                    ิ
     นางสาว จิตราพร อาษาจิตร เลขที่ 7
      นางสาว นภลดา กล้ าหาญ เลขที่ 20
     นางสาว สุ พรรณี งามเกลียง เลขที่ 22
                             ้
        นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1


                  เสนอ
        คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี


โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
                  ร้ อยเอ็ด
คานา
      รายงานเรื่ องนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ พระราช ประวัติ พระราชกรณียกิจ ความสัมพันธ์
กับต่างประเทศ การได้รับยกย่องจางองค์การ UNESCO ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเพื่อ
ประโยชน์สูงสุดในการศึกษาเกี่ยวกับประวัติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้
จัดทารายงานเล่มนี้ข้ ึนและกลุ่มของข้าพเจ้าหวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานเล่มนี้จะมี ประโยชน์แก่ผอ่าน และผูที่
                                                          ่                                 ู้        ้
ศึกษา ถ้ารายงานเล่มนี้มีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ดวย
                            ้                                           ้



                                                                                   คณะผู้จดทา
                                                                                          ั
สารบัญ
       เรื่อง                                              หน้ า
พระราชประวัติ                                               1-2
พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย           3-8
ความสัมพันธ์กบต่างประเทศ
             ั                                                9
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย   10-11
บทสรุป                                                       11
บรรณานุกรม                                                   11
1
                             พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย




                                           พระราชประวัติ
         พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็ นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า
จุฬาโลกมหาราช และสมเด็จพระอมริ นทราบรมราชินี ทรงมีพระนามเดิมว่า ฉิม พระราชสมภพเมื่อวันที่ 24
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2311 ณ ตาบลอัมพวา เมืองสมุทรสาคร ในขณะนั้นพระราชบิดายังทรงดารงพระยศเป็ น
หลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี ต่อมาพระราชบิดาได้เข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุณในสมเด็จพระ
เจ้าตากสิน แห่งกรุ งธนบุรี จึงได้ยายครอบครัวเข้ามาอยู่ ณ บริ เวณด้านใต้ของวัดระฆังโฆษิตาราม บ้านเดิมที่
                                    ้
อัมพวาจึงว่างลง เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จขึ้นครองราชสมบัติแล้วนั้น ทรงพระ
กรุ ณาโปรดเกล้าฯ อุทิศที่ดินบริ เวณบ้านเดิมนั้น สร้างเป็ นวัด ชื่อ วัดอัมพวันเจดิยาร
         ต่อมาในปี พ.ศ. 2521 ด้วยสานึกในพระมหากรุ ณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวันเจติยาราม พระคุณเจ้าพระราชสมุทรเมธี ได้อุทิศที่ดินบริ เวณวัดจานวน 10 ไร่
ให้กบมูลนิธิพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ให้ดาเนินการก่อสร้างอุทยานพระบรมราชานุสรณ์
     ั
รัชกาลที่ 2 ขึ้น เพื่อเป็ นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม ในสมัยรัชกาลที่ 2 โดยมีพระเทพรัตนราชสุดาฯ เป็ นองค์
ประธานมูลนิธิฯ เมื่อพระราชบิดาย้ายเข้ามารับราชการ ทรงได้เข้ารับการศึกษาจากวัดระฆังโฆษิตาราม โดย
ฝากตัวเป็ นศิษย์กบพระวันรัต (ทองอยู) เมื่อครั้งพระชนมายุได้ 8 พรรษา ได้โดยเสด็จพระราชบิดา ไป
                   ั                    ่
ราชการสงครามด้วย เมื่อพระชนมายุได้ 16 พรรษา พระราชบิดาได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็ นพระมหากษัตริ ย ์
พระนาว่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก” จึงได้รับการสถาปนาพระยศขึ้นเป็ น สมเด็จพระเจ้า
ลูกเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอิสรสุนทร เมื่อประชนมายุครบ 22 พรรษา ทรงผนวช ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม
2
ในพระบรมมหาราชวัง และเสด็จไปจาพรรษาที่วดสมอราย (วัดราชาธิวาส) ทรงจาพรรษาอยูนาน 3 เดือน (1
                                           ั                                        ่
พรรษา) จึงทรงลาผนวช
        ต่อมาทรงได้รับการสถาปนาเลื่อนยศขึ้นเป็ น กรมพระราชวังบวรสถานมงคล เมื่อปี พ.ศ. 2349
หลังจากนั้นอีกเพียง 2 ปี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช เสด็จสวรรคต กรมพระราชวัง
บวรสถานมงคลซึ่งในขณะนั้นมีพระชนมายุได้ 42 พรรษา จึงได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็ น
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวรัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์จกร ทรงมีพระนามว่า “พระบาทสมเด็จพระบรม
                          ่ ั                     ั
ราชาธิราช รามาธิบดีศรี สุนทรบรมมหาจักรพรรดิ ราชาธิบดินทร์ ธรณิณทราธิราช วัฒนากาศวราชวงศ์
สมุทยโรมนต์ สากลจักรวาฬาธิเบนทร์ สุริเยนทราธิบดินทร์ธาดาธิบดีศรี สุวิบูลย์คุณอกนิฐฤทธิราเมศวรหันต์
    ั
บรมธรามิกราชาธิเบศร์ โลกเชษฐวิสุทธิรัตนมกุฎ ประเทศคตามหาพุทยางกูรบรมบพิตร” หรื อ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อวันที่ 7 กันยาน พ.ศ. 2352

           พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระอัครมเหสีพระนามว่า “สมเด็จพระศรี สุริเยนท
รา บรมราชินี” ทรงพระนามเดิมว่า บุญรอด พระธิดาในพระเจ้าพี่นางเธอสมเด็จเจ้าฟ้ ากรมพระศรี สุดารักษ์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระราชโอรสและพระธิดารวม 73 พระองค์ โดยประสูติใน
พระมเหสี 3 พระองค์ ได้แก่
           1. เจ้าฟ้ าชายราชกุมาร สิ้นพระชนม์ในวันประสูติ
           2. สมเด็จเจ้าฟ้ าชายมงกุฎ ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็ น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว
                                                                                                 ่ ั
รัชกาลที่4
           3. สมเด็จเจ้าฟ้ าชายจุฑามณี ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็ น พระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกล้า
เจ้าอยูหว พระมหาอุปราชาใน รัชกาลที่ 4 และได้ประสูติในเจ้าจอมมารดาเรี ยม พระสนมเอก 3 พระองค์
       ่ ั
ได้แก่
           - พระองค์เจ้าชายทับ ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็ น พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาล
                                                                                 ่          ่ ั
     ที่ 3
           - พระองค์เจ้าชายป้ อม สิ้นพระชนม์ต้งแต่ทรงพระเยาว์
                                                ั
           - พระองค์เจ้าชายหนูดา สิ้นพระชนม์ต้งแต่ทรงพระเยาว์
                                                  ั
           พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเสด็จครองราชสมบัติอยูจน พ.ศ. 2367 รวมครองอยู่
                                                                           ่
ในสิริราชสมบัตินาน 15 ปี ก็ทรงพระประชวรด้วยพิษไข้ มิได้รู้สึกพระองค์จึงไม่ได้ทรงพระราชทานราช
สมบัติให้แก่ผใด ทรงพระประชวรด้วยพิษไข้อยู่ 3 วัน ก็เสด็จสวรรคต
                  ู้
3
                  พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย

การทานุบารุงประเทศ
           ด้วยในระยะแรกของการก่อตั้งกรุ งรัตนโกสินทร์ พม่ายังคงรุ กรานประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองและป้ อมปราการต่าง ๆ ขึ้น เพื่อให้
เป็ นเมืองหน้าด่านคอยป้ องกันข้าศึกที่จะยกเข้ามาทางทะเล ที่เมืองสมุทรปราการ และที่เมืองปากลัดโดยทรง
มีพระราชบัญชาให้กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ เป็ นแม่กองสร้าง เมืองนครเขื่อนขันธ์ข้ ึนที่ปากลัด
(ปัจจุบน คือ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ) พร้อมป้ อมปี ศาจผีสิง ป้ อมราหู และป้ อมศัตรู พินาศ แล้ว
         ั
โปรดเกล้าฯ ให้อพยพครอบครัวชาวมอญจากปทุมธานีมาอยูที่นครเขื่อนขันธ์ นอกจากนี้ยงทรงให้กรมหมืน
                                                            ่                          ั            ่
มหาเจษฏาบดินทร์เป็ นแม่กองจัดสร้าง ป้ อมผีเสื้อสมุทร ป้ อมประโคนชัย ป้ อมนารายณ์ปราศึก ป้ อมปราการ
ป้ อมกายสิทธิ์ ขึ้นที่เมืองสมุทรปราการ และโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นศักดิพลเสพย์ไปคุม
งานก่อสร้างป้ อมเพชรหึงส์เพิ่มเติม ที่เมืองนครเขื่อนขันธ์ การสร้างเมืองหน้าด่านและป้ อมปราการต่าง ๆ
ขึ้นมามากมาย ด้วยการที่จะป้ องกันมิให้ขาศึกเข้ามาถึงพระนครได้โดยง่าย ถือว่าทรงมีสายพระเนตรที่ยาว
                                          ้
ไกล

ด้ านการปองกันประเทศ
            ้
           ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พม่าได้ยกทัพเข้ามาตีไทยหลายครั้งเริ่ ม
ตั้งแต่เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จเสวยราชย์ได้เพียง 2 เดือน ในขณะนั้นกาตริ ยพม่า
                                                                                                ์
พระเจ้าปดุงได้แต่งตั้งแม่ทพพม่า 2 นาย คือ แม่ทพเรื ออะเติ้งหงุ่นยกทัพเรื อเข้ามาตีประเทศไทยทางหัวเมือง
                             ั                      ั
ชายทะเลทางด้านตะวันตก และสามารถตีได้เมืองตะกัวทุ่งและตะกัวป่ า และได้ลอมเมืองถลางไว้ก่อนที่
                                                        ่         ่             ้
กองทัพไทยจะยกลงไปช่วย แต่เมื่อกองทัพไทยได้ยกลงไปช่วยก็สามารถพม่าแตกพ่ายไป ส่วนทางด้านทัพ
บก พระเจ้าปดุงได้แต่งตั้งแม่ทพสุเรี ยงสาระยอ ยกกาลังมาทางบก เพื่อเข้าตีหวเมืองทางด้านทิศใต้ของไทย
                                 ั                                          ั
และสามารถตีได้เมืองมะลิวน ระนองและกระบี่ พระบาทสมเด้จพระพุทะเลิศหล้านภาลัยได้ส่งกองทัพและ
                               ั
เกิดปะทะกับกองทัพที่ยกลงไปช่วย ทหารพม่าสูกาลังฝ่ ายไทยไม่ได้ก็แตกถอยหนีกลับไป
                                                  ้
           ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2363 พระเจ้าปดุงกษัตริ ยได้เสด็จสวรรคต พระเจ้าจักกายแมงได้สืบราชสมบัติต่อ
                                                      ์
จากพระเจ้าปดุง ก็คิดจะยกทัพมาตีไทยอีกโดยสมคบกับพระยาไทรบุรี ซึ่งเปลี่ยนใจไปเข้ากับฝ่ ายพม่า แต่
เมี่อทราบว่าฝ่ ายไทยจัดกาลังทัพไปเตรี ยมรับศึกอย่างแข็งขันตามช่องทางที่พม่ายกเข้ามาพม่าเกิดกลัวว่าจะ
รบแพ้ไทย จึงยุติไม่ยกทัพเข้ามา พอดีกบพม่าติดการสงครามกับอังกฤษจึงหมดโอกาสที่จะมาตีไทยอีก
                                        ั
4
ด้ านการปกครอง
            พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงบริ หารบ้านเมือง โดยการให้เจ้านายรับหน้าที่ในการ
บริ หารงานราชการในกรมกองต่าง ๆ เท่ากับเป็ นการให้เสนาบดีได้มการปรึ กษาข้อราชการก่อนที่จะนาความ
                                                                  ี
ขึ้นกราบบังคมทูล ทั้งยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้ผอนผันการเข้ารับราชการของพลเมืองชาย เหลือเพียงปี ละ 3
                                                ่
เดือน (เข้ารับราชการ 1 เดือน แล้วไปพักประกอบอาชีพส่วนตัวอีก 3 เดือน สลับกันไป) นอกจากนี้ยงทรง
                                                                                            ั
รวบรวมพลเมืองให้เป็ นปึ กแผ่นมีหน่วยราชการสังกัดแน่นอก โดยพระราชทานโอกาสให้ประชาชน
สามารถเลือกหน่วยราชการที่สงกัดได้ พระองค์ยงได้ทรงทานุบารุ งส่งเสริ มข้าราชการที่มความรู้
                                  ั               ั                                ี
ความสามารถได้มีโอกาสปฏิบติหน้าที่ราชการที่ตนถนัด ในรัชกาลนี้จึงปรากฎพระนามและนามข้าราชการ
                                ั
ที่มีชื่อเสียงหลายท่าน เช่น สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ เจ้าฟ้ ากรมหลวงพิทกษ์มนตรี กกรมหมืน
                                                                                ั                ่
เจษฎาบดินทร์ เจ้าพระยาศรี ธรรมาโศกราช (น้อย ณ นคร) ขุนสุนทรโวหาร (ภู่) เป็ นต้น
            และด้วยทรงมีพระราชประสงค์ให้พลเรื อนของพระองค์เป็ นคนดี มีคุณภาพ จึงได้ทรงออก
พระราชบัญญัติ เรื่ อง ห้างเลี้ยงไก่ นก ปลากัด ไว้ชนและกัดเพื่อการพนัน กับออกพระราชกาหนดห้าสูบฝิ่ น
ขายฝิ่ น ซื้อฝิ่ น พร้อมทรงกาหนดบทลงโทษผูฝ่าฝื น ทาให้ประเทศไทยไม่เกิดสงครามฝิ่ นแบบต่างชาติ
                                              ้
ในช่วงที่ทรงขึ้นครองราชสมบัติใหม่ ๆ นั้น สมเด็จเจ้าฟ้ าชายสุพนธุวงศ์ กรมขุนกษัตรานุชิต ราชโอรสใน
                                                               ั
พระเจ้าตากสินมหาราชกับพวก ซึ่งได้แก่ เจ้าพระยาพนเทพ บุนนาค) โอรสทั้ง 6 พระองค์ของกรมขุน
กษัตรานุชิต รวมทั้งพระราชโอรส กับพระราชธิดาอีกหลายพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คิด
กบฎชิงราชสมบัติ ทรงโปรดให้ทาการสอบสวนเมื่อปรากฎว่ามีความผิดจริ ง จึงรับสังให้ประหารชีวิตเสีย
                                                                              ่
ทั้งหมด
5
ด้ านการบารุงพระศาสนา




           พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงฟื้ นฟูพระพุทธศาสนาอย่างมากมายหลายด้าน
โดยเฉพาะด้านการก่อสร้างศาสนาสถาน ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างวัดขึ้นมาใหม่หลายวัด ได้แก่ วัด
สุทศน์เทพวราราม วัดชัยพฤกษ์มาลา วัดโมฬีโลก วัดหงสาราม และวัดพระพุทธบาทที่สระบุรี ที่สร้างค้างไว้
     ั
ตั้งแต่เมื่อรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก รวมทั้งโปรดเกล้าฯ ให้ทาการบูรณะปฏิสงขรณ์ ั
วัดอรุ ณราชวราราม โดยสร้างพระอุโบสถ พระปรางค์ พร้อมทั้งพระวิหารขึ้นใหม่ เพื่อเป็ นพระอารามประจา
รัชกาล
           ในปี พ.ศ. 2353 ได้ทรงจัดสมณทูตจานวน 8 รู ป ออกไปยังประเทศลังกาเพื่อค้นหาพระไตรปิ ฏกซึ่ง
ชารุ ดเสียหายเมื่อครั้งเสียกรุ งศรี อยุธยามาเพิ่มเติมและตรวจสอบกับพระไตรปิ ฎกฉบับที่มการสังคายนาใหม่
                                                                                      ี
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทะยอดฟ้ าจุฬาดลก พร้อมกับดูความเป็ นไปของพระพุทธศาสนาในประเทศ
ศรี ลงกา เมื่อคณะสมณฑูตกลับมาได้นาหน่อพระศรี มหาโพธิ์ซ่ึงถือกันว่าเป็ นเชื้อสายของต้นศรี มหาโพธิ์ที่
       ั
พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ที่พระพุทธคยาในอินเดียและได้มีพระมหากรุ ณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้นาไปปลูกที่
เมืองนครศรี ธรรมราช 2 ต้น ที่วดสุทศน์เทพวราราม 1 ต้น ที่วดสระเกศ 1 ต้น และที่เมืองกลันตันอีก 1 ต้น
                                    ั ั                       ั
           การศึกษาพระปริ ยติธรรมของพระภิกษุสงฆ์ในรัชกาลนี้ทรงรุ่ งเรื องเป็ นอันมาก โดยทรงโปรดให้
                              ั
แก้ไขหลักสูตรจากปริ ญญาตรี โท เอก มาเป็ นเปรี ยญธรรม 3 ประโยค ถึง 9 ประโยค ทาให้พระภิกษุสามเณร
6
ตลอดจนนักศึกษาที่มีความรู้ภาษาบาลีแตกฉานยิงขึ้น กับได้ทรงออกพระราชกาหนดให้พลเมืองทาวิสาขบู
                                                 ่
ชา ห้ามล่าสัตว์ 3 วัน และตั้งโคมแขวนตั้งเครื่ องสักการะบูชา รักษาอุโบสถศีล ถวายอาหารบิณฑบาต ทา
ทาน ปล่อยสัตว์ สดับพระธรรมเทศนาเป็ นเวลา 3 วัน 3 คืน

ด้ านศิลปวัฒนธรรม
           ในด้านการทานุบารุ ง ศิลปวัฒนธรรมของชาติ พระองค์ทรงมีพระอัจฉริ ยภาพในงานศิลปะหลาย
สาขา ทั้งทางด้านประติมากรรม ได้ทรงร่ วมกับช่างประติมากรรมฝี มือเยียมในสมัยนั้นแกะสลักบานประตู
                                                                    ่
ไม้พระวิหารวัดสุทศน์เทพวราราม เป็ นลายเครื อเถารู ปป่ าหิมพานต์ นับเป็ นงานฝี มือชั้นเยียมเนื่องด้วยภาพที่
                       ั                                                                ่
ทรงแกะสลักนั้น ทั้งสัตว์ต่ างๆเช่น เสือ หมี ช้าง นกและพืชพรรณไม้ ดูเหมือนจะสามารถเคลื่อนไหวได้จริ ง
ๆ ได้ทรงแกะสลักศรี ษะหุ่นด้วยไม้สก 1 คู่ เรี ยกว่า พระยารักน้อยและพระยารักใหญ่ ในปัจจุบนงานศิลปะ
                                      ั                                                     ั
ทั้ง 2 ชิ้นนี้ เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร นอกจากนี้ได้ทรงปั้นหุ่นพระพักตร์พระ
ประธานวัดอรุ ณราชวรารามด้วยพระองค์เองอีกด้วย

ด้ านดนตรี

        ทรงเป็ นองค์อุปถัมภ์การดนตรี ท้งในการสร้างเครื่ องดนตรี และการเล่นพระองค์ทรงเชี่ยวชาญใน
                                         ั
การสีซอสามสาย ได้พระราชทานซอคู่พระหัตถ์ว่า ซอสายฟ้ าฟาด และได้ทรงพระราชนิพนธ์เพลง บุหลัน
ลอยเลื่อน หรื อ เรี ยกว่าเพลงพระสุบินนิมิต ซึ่งเป็ นที่ไพเราะและได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบน
                                                                                           ั
7
ด้ านวรรณคดี




          อาจกล่าวได้ว่า รัชสมัยของพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเป็ นยุคทองของวรรณคดีไทยสมัยกรุ ง
รัตนโกสินทร์ ละครรารุ่ งเรื องถึงขีดสุด ด้วยพระองค์ทรงกวีเอก ได้ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีไว้หลายเล่ม
เป็ นต้นว่า รามเกียรติ์ ตอนลักสีดา จนถึงวานรถวายพล ตอนพิเภกสวามิภกดิ์ ตอนนางลีดาลุยไฟ ได้ทรง
                                                                            ั
ปรับปรุ งจากบทความเดิมให้มีความไดเราะเหมาะสาหรับการแสดงดขน และได้ทรงพระราชนิพนบทพากย์
โขน เรื่ องรามเกียรติ์ ตอนนางลอย ตอนศึกอินทรชิตหักคอช้างเอราวัณ เป็ นบทเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน
ตอนพลายแก้วพบนางพิมพ์ ตอนขุนแผนขึ้นเรื อนขุนช้าง
ส่วนพระราชนิพนธ์ เรื่ อง อิเหนา นั้นทรงได้รับการยกย่องจากวรรณคดีใสโมสรในรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวว่าเป็ นยอกของกลอนบทละครรา ด้วยเป็ นเนื้อเรื่ องที่ดีท้งเนื้อความและทานอง
                         ่ ั                                                  ั
กลอน
          ส่วนบทละครนอก ทรงพระราชนิพนธ์ข้ ึนมาด้วยกัน 1 เรื่ อง ได้แก่
          1.ไชยเชษฐ์ เป็ นเรื่ องราวเสียดสีในราชสานัก
          2. สังข์ทอง เค้าเรื่ องเกี่ยวกับการเสียดสี่เรื่ องราวในพระราชสานัก
          3. มณี พิชยั
          4. ไกรทอง เดิมเป็ นนิทานพื้น
          5. คาวี มีเนื้อเรื่ องเหมือนกับเสือโคคาฉันท์
8
          นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทเห่เรื อ เรื่ อง กาพย์เห่
เรื อขมเครื่ องคาวหวาน ซึ่งมีความไพเราะและแปลงใหม่ไม่ซ้ าแบบกวีท่านใด เนื้อเรื่ องแบ่งออกเป็ น 58 ตอน
คือเห่ชมเครื่ องคาว เห่ชมผลไม้ เห่ชมเครื่ องหวาน เห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ และบทเจ้าเซ็นบทเห่น้ ีเข้าใน
กันว่าเป็ นการชมฝี พระหัตถ์ของสมเด็จพระศรี สุริเยนทรา บรมราชินี ในเรื่ องการทาอาหาร
องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติได้ยกย่อง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
นภาลัยว่าทรงเป็ นบุคคลสาคัญของโลก เนื่องด้วยทรงสร้างสรรค์วรรณคดีที่ทรงคุณค่าทางวัฒนธรรมไว้เป็ น
มรดกของชาติจานวนมาก และรวมถึงทรงปกครองบ้านเมืองให้ราษฎรได้อยูเ่ ย็นเป็ นสุขอยูภายใต้พระบรม
                                                                                      ่
โพธิสมภาร
          และเนื่องด้วยในรัชกาลนี้ มีชางเผือกมาสู่พระบารมีถึง 3 เชือก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
                                      ้
นภาลัย จึงทรงมีพระราชดาริ ให้แก้ไขธงชาติไทยจากที่เคยใช้ธงแดงมาตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช ให้ทาเป็ นรู ปช้างเผือกอยูในวงจักรติดในธงพื้นแดง ซึ่งใช้เป็ นธงชาติสืบต่อกันมาจนถึงรัชกาลที่ 6
                                  ่
9
                                     ความสั มพันธ์ กับต่างประเทศ
         พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงดาเนินนโยบายการบริ หารประเทศแบบผ่อนสั้นผ่อน
ยาว เป็ นมิตรไมตรี กบประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆ ทาให้ในรัชสมัยของพรองค์ปราศจากสงครามประชาชน
                     ั
สามารถประกอบอาชีพได้อย่างสุขสงบ และในรัชสมัยนี้มีการติดต่อค้าขายกับชาวต่างประเทศส่งผลให้
สภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะนั้นมีความมันคงและเจริ ญขึ้นเป็ นอย่างดี
                                                   ่
         ในปี พ.ศ. 2352 เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาดลกมหาราช ทรงเสด็จสวรรคตพระเจ้าเยีย
ลอง พระเจ้าแผ่นดินญวน ได้ส่งทูตเข้ามาถวายบังคมพระบรมศพ พร้อมกับมีพระราชสาสน์มาขอเมืองพุท
ไธมาศคืน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเห็นว่าไทยมิได้ส่งทหารไปดูแลเลยจึงทรงตกลงคืน
ให้ ทาให้สมพันธภาพกับญวนเป็ นไปได้ดวยดี
             ั                            ้
         สมเด็จพระอุทยราชาเจ้าเขมร ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชทรงให้การ
                          ั
อุปถัมภ์น้ น เกิดผูกใจเจ็บกับไทยตั้งแต่ถกติเตียนเรื่ อง ที่อุกอาจเข้าเฝ้ าโดยพลการ จึงมีความคิดที่จะกระด้าง
           ั                            ู
กระเดื่องต่อประเทศไทย โดยเริ่ มจากการไม่เข้าพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาดลกมหา
ราชด้วยตนเอง และเมื่อคราวกรุ งเทพฯ มีศึกกับพม่าก็ไม่ยอมยกทัพมาช่วยเหลือ แลละสมเด็จพระอุทยราชาก็      ั
หันไปพึ่งอานาจจากญวนแทน โดยแม้จะส่งเครื่ องราชบรรณาการมายังไทย แต่อานาจของไทยในเขมรก็เสื่อ
ถอยลงตามลาดับเป็ นต้นมา
         เจ้าอนุวงศ์ผครองเมืองเวียงจันทน์ ซึ่งเป็ นเมืองขึ้นของไทยมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ
                       ู้
ยอดฟ้ าจุฬาโลกมาหาราช ได้แสดงความจงรักภักดีตลอดรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ด้วยดี โดยช่วยเป็ นหูเป็ นตาดูแลหัวเมืองของไทยในแถบนั้นจนสิ้นรัชกาลที่ 2 เพื่อให้การติดต่อค้าขายกับ
ประเทศจีนเป็ นไปได้โดยสะดวก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงแต่งตั้งทูตอัญเชิญพระ

ราชสาสน์และเครื่ องราชบรรณาการ ไปเจริ ญพระราชไมตรี กบพระเจ้าเจี่ยเข่ง พระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ 5
                                                             ั
แห่งราชวงศ์เซ็ง ณ กรุ งปักกิ่ง ต่อมาพระเจ้าเจี่ยเข่งสิ้นพระชนม์ ก็ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ส่งราชทูตไทยไป
เคารพพระบรมศพ และเจริ ญพระราชไมตรี ต่อพระเจ้าตากวางได้สืบราชสมบัติแทน โปรตุเกสกับไทยได้
เคยมีการติดต่อค้าขายกันมาตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา และเมื่อบ้านเมืองเกิดสงครามกับพม่า โปรตุเกสก็พากัน
ออกไปค้าขายที่เมืองอื่น ๆ ต่อมาในปี พ.ศ. 2363 พระเจ้าแผ่นดินโปรตุเกสก็ได้ส่งทูตเข้ามาขอทาสัญญาทาง
พระราชไมตรี เพื่อความสะดวกในการติดต่อค้าขาย
10
              มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย




         เนื่องในมหามงคลสมัยครบรอบ 200 ปี แห่งการเสด็จพระราชสมภพในปี พ.ศ. 2310 มูลนิธิ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ก่อสร้างอุทยานพระบรมราชานุสรณ์ข้ ึนที่ อ.อัมพวา จ.
สมุทรสงคราม เพื่อเป็ นศูนย์กลางศิลปวัฒนธรรมในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจุดเด่นของ
อุทยานแห่งนี้ คือ เรื อนไทยภาคกลางขนาดกลาง 5 หลัง เป็ นแบบเรื อนไทยสมัยต้นกรุ งรัตนโกสินทร์ ใช้เป็ น
พิพิธภัณฑ์และหอสมุด เรื อนไทยที่เป็ นพิพิธภัณฑ์แบบชาติพนธุวิทยา แสดงความเป็ นอยูของคนไทยในสมัย
                                                           ั ์                      ่
ต้นกรุ งรัตนโกสินทร์ เรื อนไทยแฝดหลังกลางเป็ นเรื อนประธานจัดแสดงศิลปวัตถุที่นิยมกันในสมัยนั้น
โดยเฉพาะสมัยรัชกาลที่ 2 เช่น เครื่ องเบญจรงค์ หัวโขน ตัวหุ่นกระบอกนางผีเสื้อสมุทร เป็ นต้น เครื่ องใช้
ประจาวัน เช่น โม่หินใช้สาหรับโม่แป้ ง หินบดยา ขันสาคร เป็ นต้น
         เรื อนต่อมาได้จดแสดงตูหุ่นวรรณคดีตามบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
                         ั     ้
นภาลัย แต่ละตูมีความสวยงามและประณีต บทละครที่นามาจัดแสดง ได้แก่ สังข์ทอง ตอนพระสังข์เที่ยวชม
                 ้
ปราสาทนางพันธุรัตน์ ในขณะที่นางยักษ์ไม่อยูได้พบบ่อเงินบ่อทองจึงลองเอกนิ้วจุ่มดู ตูบทละครนอก เรื่ อง
                                             ่                                    ้
11
มณี พิชย จัดทาตอน พระอินทร์แปลงนางยอพระกลิ่นให้เป็ นพราหมณ์ พระมณี พิชยต้องตามนางยอพระกลิ่น
        ั                                                                           ั
เข้าไปอยูในป่ า เพื่อลองในพระสวามี พราหมณ์จึงแปลงร่ างเป็ นผูหญิงสาวออกมาเดินให้พระมณี พิชยเห็น
          ่                                                      ้                                   ั
ส่วนเรื อนไทย 2 หลัง ทางปี กขวาจัดเป็ นห้องผูชายไทย มีเตียงนอน อุปกรณ์เขียนอ่าน พระพุทธรู ปบูชา ฉาก
                                                 ้
ลายจีน อาวุธ เช่น โล่ เขน เป็ นต้น ปี กซ้ายจัดเป็ นห้องผูหญิงไทย มีเตียงนอนเครื่ องเย็บปักถักร้ อย เครื่ องอัด
                                                         ้
กลีบผ้า คันฉ่อง เป็ นต้น ที่ชานเรื อนจัดไม้กระถางไม้ดอก อ่างบัว แบบเรื อนไทยในเรื่ องขุนช้างขุนแผน
เรื อนไทยอีกหลังหนึ่งจัดเป็ นหอสมุด สร้างในน้ าตามแบบหอไตรสมัยโบราณตามวัดต่าง ๆ ซึ่งเป็ นการ
ป้ องกันปลวก แมลงและอัศคีภย และเพื่อให้ความเย็นรักษาหนังสือหอสมุดแห่งนี้ได้รวบรวมหนังสือพระ
                                ั
ราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและผลงานของกวีร่วมสมัย เช่น สมเด็จพระมหาสมณ
เจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร นายริ นทร์ธิเบศร์ สุนทรภู่
เป็ นต้น อุทยานแห่งนี้จึงนับว่าเป็ นสถานที่ที่มคุณค่าทางวัฒนธรรมของไทยอย่างยิง
                                               ี                                  ่

บทสรุป
        ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ถือว่าเป็ นแผ่นดินทองแห่งวรรณกรรมด้วยทรง
มีพระปรี ชาสามารถอย่างยิงในด้านศิลปะ ไม่ว่าจะเป็ นทางด้านสถาปัตยกรรม วรรณกรรรม รวมถึง
                          ่
นาฎกรรม ดังจะเห็นได้จากมรดกทางวัฒนธรรมที่พระองค์เป็ นผูสร้างไว้ให้กบอนุชนรุ่ นหลัง อุทยานพระ
                                                              ้         ั
บรมราชานุสาวรี ยเื ป็ นสถานที่ที่แสดงให้เห็นพระปรี ชาสามารถในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ได้อย่างชัดเจนที่สุด และในอุทยานพระบรมราชานุสาวรี ย ์ เป็ นที่ต้งของ พระบรมราชานุสาวรี ยของ
                                                                ั                       ์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประดิษฐานอยู่ ณ ที่น้ นด้วย
                                                           ั
12
                                         บรรณานุกรม
       ศิวรรณ คุมโห.// “ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเลิศหล้านภาลัย,”/พระราชประวัติ พระ
                ้
มหากษัตย์ 9 รัชกาล.// 13 กรกฏาคม 2546.//<http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/พระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย> //20 มิถุนายน 2554.

Contenu connexe

Tendances

นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับnuttawon
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย009kkk
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 

Tendances (20)

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
Sss
SssSss
Sss
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราชสมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 

En vedette

อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okอนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okPatpong Lohapibool
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณKornnicha Wonglai
 
วิเคราะห์เรื่องสั้น
วิเคราะห์เรื่องสั้นวิเคราะห์เรื่องสั้น
วิเคราะห์เรื่องสั้นFluofern
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642Jainn JNz
 

En vedette (6)

อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okอนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 
วิเคราะห์เรื่องสั้น
วิเคราะห์เรื่องสั้นวิเคราะห์เรื่องสั้น
วิเคราะห์เรื่องสั้น
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคมศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
 
THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642
 

Similaire à พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรีSumintra Boonsri
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติสุรพล ศรีบุญทรง
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copyKittayaporn Changpan
 
9789740335542
97897403355429789740335542
9789740335542CUPress
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similaire à พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (20)

กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
1.12 สังคมไทย
1.12 สังคมไทย1.12 สังคมไทย
1.12 สังคมไทย
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
9789740335542
97897403355429789740335542
9789740335542
 
Tonburi
TonburiTonburi
Tonburi
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

  • 1.
  • 2. พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย จัดทาโดย นางสาว กิตยา เชิงหอม เลขที่ 6 ิ นางสาว จิตราพร อาษาจิตร เลขที่ 7 นางสาว นภลดา กล้ าหาญ เลขที่ 20 นางสาว สุ พรรณี งามเกลียง เลขที่ 22 ้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เสนอ คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้ อยเอ็ด
  • 3. คานา รายงานเรื่ องนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ พระราช ประวัติ พระราชกรณียกิจ ความสัมพันธ์ กับต่างประเทศ การได้รับยกย่องจางองค์การ UNESCO ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเพื่อ ประโยชน์สูงสุดในการศึกษาเกี่ยวกับประวัติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ จัดทารายงานเล่มนี้ข้ ึนและกลุ่มของข้าพเจ้าหวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานเล่มนี้จะมี ประโยชน์แก่ผอ่าน และผูที่ ่ ู้ ้ ศึกษา ถ้ารายงานเล่มนี้มีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ดวย ้ ้ คณะผู้จดทา ั
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้ า พระราชประวัติ 1-2 พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 3-8 ความสัมพันธ์กบต่างประเทศ ั 9 มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 10-11 บทสรุป 11 บรรณานุกรม 11
  • 5. 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็ นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า จุฬาโลกมหาราช และสมเด็จพระอมริ นทราบรมราชินี ทรงมีพระนามเดิมว่า ฉิม พระราชสมภพเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2311 ณ ตาบลอัมพวา เมืองสมุทรสาคร ในขณะนั้นพระราชบิดายังทรงดารงพระยศเป็ น หลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี ต่อมาพระราชบิดาได้เข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุณในสมเด็จพระ เจ้าตากสิน แห่งกรุ งธนบุรี จึงได้ยายครอบครัวเข้ามาอยู่ ณ บริ เวณด้านใต้ของวัดระฆังโฆษิตาราม บ้านเดิมที่ ้ อัมพวาจึงว่างลง เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จขึ้นครองราชสมบัติแล้วนั้น ทรงพระ กรุ ณาโปรดเกล้าฯ อุทิศที่ดินบริ เวณบ้านเดิมนั้น สร้างเป็ นวัด ชื่อ วัดอัมพวันเจดิยาร ต่อมาในปี พ.ศ. 2521 ด้วยสานึกในพระมหากรุ ณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวันเจติยาราม พระคุณเจ้าพระราชสมุทรเมธี ได้อุทิศที่ดินบริ เวณวัดจานวน 10 ไร่ ให้กบมูลนิธิพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ให้ดาเนินการก่อสร้างอุทยานพระบรมราชานุสรณ์ ั รัชกาลที่ 2 ขึ้น เพื่อเป็ นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม ในสมัยรัชกาลที่ 2 โดยมีพระเทพรัตนราชสุดาฯ เป็ นองค์ ประธานมูลนิธิฯ เมื่อพระราชบิดาย้ายเข้ามารับราชการ ทรงได้เข้ารับการศึกษาจากวัดระฆังโฆษิตาราม โดย ฝากตัวเป็ นศิษย์กบพระวันรัต (ทองอยู) เมื่อครั้งพระชนมายุได้ 8 พรรษา ได้โดยเสด็จพระราชบิดา ไป ั ่ ราชการสงครามด้วย เมื่อพระชนมายุได้ 16 พรรษา พระราชบิดาได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็ นพระมหากษัตริ ย ์ พระนาว่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก” จึงได้รับการสถาปนาพระยศขึ้นเป็ น สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอิสรสุนทร เมื่อประชนมายุครบ 22 พรรษา ทรงผนวช ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม
  • 6. 2 ในพระบรมมหาราชวัง และเสด็จไปจาพรรษาที่วดสมอราย (วัดราชาธิวาส) ทรงจาพรรษาอยูนาน 3 เดือน (1 ั ่ พรรษา) จึงทรงลาผนวช ต่อมาทรงได้รับการสถาปนาเลื่อนยศขึ้นเป็ น กรมพระราชวังบวรสถานมงคล เมื่อปี พ.ศ. 2349 หลังจากนั้นอีกเพียง 2 ปี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช เสด็จสวรรคต กรมพระราชวัง บวรสถานมงคลซึ่งในขณะนั้นมีพระชนมายุได้ 42 พรรษา จึงได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็ น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวรัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์จกร ทรงมีพระนามว่า “พระบาทสมเด็จพระบรม ่ ั ั ราชาธิราช รามาธิบดีศรี สุนทรบรมมหาจักรพรรดิ ราชาธิบดินทร์ ธรณิณทราธิราช วัฒนากาศวราชวงศ์ สมุทยโรมนต์ สากลจักรวาฬาธิเบนทร์ สุริเยนทราธิบดินทร์ธาดาธิบดีศรี สุวิบูลย์คุณอกนิฐฤทธิราเมศวรหันต์ ั บรมธรามิกราชาธิเบศร์ โลกเชษฐวิสุทธิรัตนมกุฎ ประเทศคตามหาพุทยางกูรบรมบพิตร” หรื อ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อวันที่ 7 กันยาน พ.ศ. 2352 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระอัครมเหสีพระนามว่า “สมเด็จพระศรี สุริเยนท รา บรมราชินี” ทรงพระนามเดิมว่า บุญรอด พระธิดาในพระเจ้าพี่นางเธอสมเด็จเจ้าฟ้ ากรมพระศรี สุดารักษ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระราชโอรสและพระธิดารวม 73 พระองค์ โดยประสูติใน พระมเหสี 3 พระองค์ ได้แก่ 1. เจ้าฟ้ าชายราชกุมาร สิ้นพระชนม์ในวันประสูติ 2. สมเด็จเจ้าฟ้ าชายมงกุฎ ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็ น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว ่ ั รัชกาลที่4 3. สมเด็จเจ้าฟ้ าชายจุฑามณี ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็ น พระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกล้า เจ้าอยูหว พระมหาอุปราชาใน รัชกาลที่ 4 และได้ประสูติในเจ้าจอมมารดาเรี ยม พระสนมเอก 3 พระองค์ ่ ั ได้แก่ - พระองค์เจ้าชายทับ ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็ น พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาล ่ ่ ั ที่ 3 - พระองค์เจ้าชายป้ อม สิ้นพระชนม์ต้งแต่ทรงพระเยาว์ ั - พระองค์เจ้าชายหนูดา สิ้นพระชนม์ต้งแต่ทรงพระเยาว์ ั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเสด็จครองราชสมบัติอยูจน พ.ศ. 2367 รวมครองอยู่ ่ ในสิริราชสมบัตินาน 15 ปี ก็ทรงพระประชวรด้วยพิษไข้ มิได้รู้สึกพระองค์จึงไม่ได้ทรงพระราชทานราช สมบัติให้แก่ผใด ทรงพระประชวรด้วยพิษไข้อยู่ 3 วัน ก็เสด็จสวรรคต ู้
  • 7. 3 พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย การทานุบารุงประเทศ ด้วยในระยะแรกของการก่อตั้งกรุ งรัตนโกสินทร์ พม่ายังคงรุ กรานประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองและป้ อมปราการต่าง ๆ ขึ้น เพื่อให้ เป็ นเมืองหน้าด่านคอยป้ องกันข้าศึกที่จะยกเข้ามาทางทะเล ที่เมืองสมุทรปราการ และที่เมืองปากลัดโดยทรง มีพระราชบัญชาให้กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ เป็ นแม่กองสร้าง เมืองนครเขื่อนขันธ์ข้ ึนที่ปากลัด (ปัจจุบน คือ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ) พร้อมป้ อมปี ศาจผีสิง ป้ อมราหู และป้ อมศัตรู พินาศ แล้ว ั โปรดเกล้าฯ ให้อพยพครอบครัวชาวมอญจากปทุมธานีมาอยูที่นครเขื่อนขันธ์ นอกจากนี้ยงทรงให้กรมหมืน ่ ั ่ มหาเจษฏาบดินทร์เป็ นแม่กองจัดสร้าง ป้ อมผีเสื้อสมุทร ป้ อมประโคนชัย ป้ อมนารายณ์ปราศึก ป้ อมปราการ ป้ อมกายสิทธิ์ ขึ้นที่เมืองสมุทรปราการ และโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นศักดิพลเสพย์ไปคุม งานก่อสร้างป้ อมเพชรหึงส์เพิ่มเติม ที่เมืองนครเขื่อนขันธ์ การสร้างเมืองหน้าด่านและป้ อมปราการต่าง ๆ ขึ้นมามากมาย ด้วยการที่จะป้ องกันมิให้ขาศึกเข้ามาถึงพระนครได้โดยง่าย ถือว่าทรงมีสายพระเนตรที่ยาว ้ ไกล ด้ านการปองกันประเทศ ้ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พม่าได้ยกทัพเข้ามาตีไทยหลายครั้งเริ่ ม ตั้งแต่เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จเสวยราชย์ได้เพียง 2 เดือน ในขณะนั้นกาตริ ยพม่า ์ พระเจ้าปดุงได้แต่งตั้งแม่ทพพม่า 2 นาย คือ แม่ทพเรื ออะเติ้งหงุ่นยกทัพเรื อเข้ามาตีประเทศไทยทางหัวเมือง ั ั ชายทะเลทางด้านตะวันตก และสามารถตีได้เมืองตะกัวทุ่งและตะกัวป่ า และได้ลอมเมืองถลางไว้ก่อนที่ ่ ่ ้ กองทัพไทยจะยกลงไปช่วย แต่เมื่อกองทัพไทยได้ยกลงไปช่วยก็สามารถพม่าแตกพ่ายไป ส่วนทางด้านทัพ บก พระเจ้าปดุงได้แต่งตั้งแม่ทพสุเรี ยงสาระยอ ยกกาลังมาทางบก เพื่อเข้าตีหวเมืองทางด้านทิศใต้ของไทย ั ั และสามารถตีได้เมืองมะลิวน ระนองและกระบี่ พระบาทสมเด้จพระพุทะเลิศหล้านภาลัยได้ส่งกองทัพและ ั เกิดปะทะกับกองทัพที่ยกลงไปช่วย ทหารพม่าสูกาลังฝ่ ายไทยไม่ได้ก็แตกถอยหนีกลับไป ้ ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2363 พระเจ้าปดุงกษัตริ ยได้เสด็จสวรรคต พระเจ้าจักกายแมงได้สืบราชสมบัติต่อ ์ จากพระเจ้าปดุง ก็คิดจะยกทัพมาตีไทยอีกโดยสมคบกับพระยาไทรบุรี ซึ่งเปลี่ยนใจไปเข้ากับฝ่ ายพม่า แต่ เมี่อทราบว่าฝ่ ายไทยจัดกาลังทัพไปเตรี ยมรับศึกอย่างแข็งขันตามช่องทางที่พม่ายกเข้ามาพม่าเกิดกลัวว่าจะ รบแพ้ไทย จึงยุติไม่ยกทัพเข้ามา พอดีกบพม่าติดการสงครามกับอังกฤษจึงหมดโอกาสที่จะมาตีไทยอีก ั
  • 8. 4 ด้ านการปกครอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงบริ หารบ้านเมือง โดยการให้เจ้านายรับหน้าที่ในการ บริ หารงานราชการในกรมกองต่าง ๆ เท่ากับเป็ นการให้เสนาบดีได้มการปรึ กษาข้อราชการก่อนที่จะนาความ ี ขึ้นกราบบังคมทูล ทั้งยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้ผอนผันการเข้ารับราชการของพลเมืองชาย เหลือเพียงปี ละ 3 ่ เดือน (เข้ารับราชการ 1 เดือน แล้วไปพักประกอบอาชีพส่วนตัวอีก 3 เดือน สลับกันไป) นอกจากนี้ยงทรง ั รวบรวมพลเมืองให้เป็ นปึ กแผ่นมีหน่วยราชการสังกัดแน่นอก โดยพระราชทานโอกาสให้ประชาชน สามารถเลือกหน่วยราชการที่สงกัดได้ พระองค์ยงได้ทรงทานุบารุ งส่งเสริ มข้าราชการที่มความรู้ ั ั ี ความสามารถได้มีโอกาสปฏิบติหน้าที่ราชการที่ตนถนัด ในรัชกาลนี้จึงปรากฎพระนามและนามข้าราชการ ั ที่มีชื่อเสียงหลายท่าน เช่น สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ เจ้าฟ้ ากรมหลวงพิทกษ์มนตรี กกรมหมืน ั ่ เจษฎาบดินทร์ เจ้าพระยาศรี ธรรมาโศกราช (น้อย ณ นคร) ขุนสุนทรโวหาร (ภู่) เป็ นต้น และด้วยทรงมีพระราชประสงค์ให้พลเรื อนของพระองค์เป็ นคนดี มีคุณภาพ จึงได้ทรงออก พระราชบัญญัติ เรื่ อง ห้างเลี้ยงไก่ นก ปลากัด ไว้ชนและกัดเพื่อการพนัน กับออกพระราชกาหนดห้าสูบฝิ่ น ขายฝิ่ น ซื้อฝิ่ น พร้อมทรงกาหนดบทลงโทษผูฝ่าฝื น ทาให้ประเทศไทยไม่เกิดสงครามฝิ่ นแบบต่างชาติ ้ ในช่วงที่ทรงขึ้นครองราชสมบัติใหม่ ๆ นั้น สมเด็จเจ้าฟ้ าชายสุพนธุวงศ์ กรมขุนกษัตรานุชิต ราชโอรสใน ั พระเจ้าตากสินมหาราชกับพวก ซึ่งได้แก่ เจ้าพระยาพนเทพ บุนนาค) โอรสทั้ง 6 พระองค์ของกรมขุน กษัตรานุชิต รวมทั้งพระราชโอรส กับพระราชธิดาอีกหลายพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คิด กบฎชิงราชสมบัติ ทรงโปรดให้ทาการสอบสวนเมื่อปรากฎว่ามีความผิดจริ ง จึงรับสังให้ประหารชีวิตเสีย ่ ทั้งหมด
  • 9. 5 ด้ านการบารุงพระศาสนา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงฟื้ นฟูพระพุทธศาสนาอย่างมากมายหลายด้าน โดยเฉพาะด้านการก่อสร้างศาสนาสถาน ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างวัดขึ้นมาใหม่หลายวัด ได้แก่ วัด สุทศน์เทพวราราม วัดชัยพฤกษ์มาลา วัดโมฬีโลก วัดหงสาราม และวัดพระพุทธบาทที่สระบุรี ที่สร้างค้างไว้ ั ตั้งแต่เมื่อรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก รวมทั้งโปรดเกล้าฯ ให้ทาการบูรณะปฏิสงขรณ์ ั วัดอรุ ณราชวราราม โดยสร้างพระอุโบสถ พระปรางค์ พร้อมทั้งพระวิหารขึ้นใหม่ เพื่อเป็ นพระอารามประจา รัชกาล ในปี พ.ศ. 2353 ได้ทรงจัดสมณทูตจานวน 8 รู ป ออกไปยังประเทศลังกาเพื่อค้นหาพระไตรปิ ฏกซึ่ง ชารุ ดเสียหายเมื่อครั้งเสียกรุ งศรี อยุธยามาเพิ่มเติมและตรวจสอบกับพระไตรปิ ฎกฉบับที่มการสังคายนาใหม่ ี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทะยอดฟ้ าจุฬาดลก พร้อมกับดูความเป็ นไปของพระพุทธศาสนาในประเทศ ศรี ลงกา เมื่อคณะสมณฑูตกลับมาได้นาหน่อพระศรี มหาโพธิ์ซ่ึงถือกันว่าเป็ นเชื้อสายของต้นศรี มหาโพธิ์ที่ ั พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ที่พระพุทธคยาในอินเดียและได้มีพระมหากรุ ณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้นาไปปลูกที่ เมืองนครศรี ธรรมราช 2 ต้น ที่วดสุทศน์เทพวราราม 1 ต้น ที่วดสระเกศ 1 ต้น และที่เมืองกลันตันอีก 1 ต้น ั ั ั การศึกษาพระปริ ยติธรรมของพระภิกษุสงฆ์ในรัชกาลนี้ทรงรุ่ งเรื องเป็ นอันมาก โดยทรงโปรดให้ ั แก้ไขหลักสูตรจากปริ ญญาตรี โท เอก มาเป็ นเปรี ยญธรรม 3 ประโยค ถึง 9 ประโยค ทาให้พระภิกษุสามเณร
  • 10. 6 ตลอดจนนักศึกษาที่มีความรู้ภาษาบาลีแตกฉานยิงขึ้น กับได้ทรงออกพระราชกาหนดให้พลเมืองทาวิสาขบู ่ ชา ห้ามล่าสัตว์ 3 วัน และตั้งโคมแขวนตั้งเครื่ องสักการะบูชา รักษาอุโบสถศีล ถวายอาหารบิณฑบาต ทา ทาน ปล่อยสัตว์ สดับพระธรรมเทศนาเป็ นเวลา 3 วัน 3 คืน ด้ านศิลปวัฒนธรรม ในด้านการทานุบารุ ง ศิลปวัฒนธรรมของชาติ พระองค์ทรงมีพระอัจฉริ ยภาพในงานศิลปะหลาย สาขา ทั้งทางด้านประติมากรรม ได้ทรงร่ วมกับช่างประติมากรรมฝี มือเยียมในสมัยนั้นแกะสลักบานประตู ่ ไม้พระวิหารวัดสุทศน์เทพวราราม เป็ นลายเครื อเถารู ปป่ าหิมพานต์ นับเป็ นงานฝี มือชั้นเยียมเนื่องด้วยภาพที่ ั ่ ทรงแกะสลักนั้น ทั้งสัตว์ต่ างๆเช่น เสือ หมี ช้าง นกและพืชพรรณไม้ ดูเหมือนจะสามารถเคลื่อนไหวได้จริ ง ๆ ได้ทรงแกะสลักศรี ษะหุ่นด้วยไม้สก 1 คู่ เรี ยกว่า พระยารักน้อยและพระยารักใหญ่ ในปัจจุบนงานศิลปะ ั ั ทั้ง 2 ชิ้นนี้ เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร นอกจากนี้ได้ทรงปั้นหุ่นพระพักตร์พระ ประธานวัดอรุ ณราชวรารามด้วยพระองค์เองอีกด้วย ด้ านดนตรี ทรงเป็ นองค์อุปถัมภ์การดนตรี ท้งในการสร้างเครื่ องดนตรี และการเล่นพระองค์ทรงเชี่ยวชาญใน ั การสีซอสามสาย ได้พระราชทานซอคู่พระหัตถ์ว่า ซอสายฟ้ าฟาด และได้ทรงพระราชนิพนธ์เพลง บุหลัน ลอยเลื่อน หรื อ เรี ยกว่าเพลงพระสุบินนิมิต ซึ่งเป็ นที่ไพเราะและได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบน ั
  • 11. 7 ด้ านวรรณคดี อาจกล่าวได้ว่า รัชสมัยของพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเป็ นยุคทองของวรรณคดีไทยสมัยกรุ ง รัตนโกสินทร์ ละครรารุ่ งเรื องถึงขีดสุด ด้วยพระองค์ทรงกวีเอก ได้ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีไว้หลายเล่ม เป็ นต้นว่า รามเกียรติ์ ตอนลักสีดา จนถึงวานรถวายพล ตอนพิเภกสวามิภกดิ์ ตอนนางลีดาลุยไฟ ได้ทรง ั ปรับปรุ งจากบทความเดิมให้มีความไดเราะเหมาะสาหรับการแสดงดขน และได้ทรงพระราชนิพนบทพากย์ โขน เรื่ องรามเกียรติ์ ตอนนางลอย ตอนศึกอินทรชิตหักคอช้างเอราวัณ เป็ นบทเสภาเรื่ อง ขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วพบนางพิมพ์ ตอนขุนแผนขึ้นเรื อนขุนช้าง ส่วนพระราชนิพนธ์ เรื่ อง อิเหนา นั้นทรงได้รับการยกย่องจากวรรณคดีใสโมสรในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวว่าเป็ นยอกของกลอนบทละครรา ด้วยเป็ นเนื้อเรื่ องที่ดีท้งเนื้อความและทานอง ่ ั ั กลอน ส่วนบทละครนอก ทรงพระราชนิพนธ์ข้ ึนมาด้วยกัน 1 เรื่ อง ได้แก่ 1.ไชยเชษฐ์ เป็ นเรื่ องราวเสียดสีในราชสานัก 2. สังข์ทอง เค้าเรื่ องเกี่ยวกับการเสียดสี่เรื่ องราวในพระราชสานัก 3. มณี พิชยั 4. ไกรทอง เดิมเป็ นนิทานพื้น 5. คาวี มีเนื้อเรื่ องเหมือนกับเสือโคคาฉันท์
  • 12. 8 นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทเห่เรื อ เรื่ อง กาพย์เห่ เรื อขมเครื่ องคาวหวาน ซึ่งมีความไพเราะและแปลงใหม่ไม่ซ้ าแบบกวีท่านใด เนื้อเรื่ องแบ่งออกเป็ น 58 ตอน คือเห่ชมเครื่ องคาว เห่ชมผลไม้ เห่ชมเครื่ องหวาน เห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ และบทเจ้าเซ็นบทเห่น้ ีเข้าใน กันว่าเป็ นการชมฝี พระหัตถ์ของสมเด็จพระศรี สุริเยนทรา บรมราชินี ในเรื่ องการทาอาหาร องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติได้ยกย่อง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัยว่าทรงเป็ นบุคคลสาคัญของโลก เนื่องด้วยทรงสร้างสรรค์วรรณคดีที่ทรงคุณค่าทางวัฒนธรรมไว้เป็ น มรดกของชาติจานวนมาก และรวมถึงทรงปกครองบ้านเมืองให้ราษฎรได้อยูเ่ ย็นเป็ นสุขอยูภายใต้พระบรม ่ โพธิสมภาร และเนื่องด้วยในรัชกาลนี้ มีชางเผือกมาสู่พระบารมีถึง 3 เชือก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า ้ นภาลัย จึงทรงมีพระราชดาริ ให้แก้ไขธงชาติไทยจากที่เคยใช้ธงแดงมาตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ให้ทาเป็ นรู ปช้างเผือกอยูในวงจักรติดในธงพื้นแดง ซึ่งใช้เป็ นธงชาติสืบต่อกันมาจนถึงรัชกาลที่ 6 ่
  • 13. 9 ความสั มพันธ์ กับต่างประเทศ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงดาเนินนโยบายการบริ หารประเทศแบบผ่อนสั้นผ่อน ยาว เป็ นมิตรไมตรี กบประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆ ทาให้ในรัชสมัยของพรองค์ปราศจากสงครามประชาชน ั สามารถประกอบอาชีพได้อย่างสุขสงบ และในรัชสมัยนี้มีการติดต่อค้าขายกับชาวต่างประเทศส่งผลให้ สภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะนั้นมีความมันคงและเจริ ญขึ้นเป็ นอย่างดี ่ ในปี พ.ศ. 2352 เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาดลกมหาราช ทรงเสด็จสวรรคตพระเจ้าเยีย ลอง พระเจ้าแผ่นดินญวน ได้ส่งทูตเข้ามาถวายบังคมพระบรมศพ พร้อมกับมีพระราชสาสน์มาขอเมืองพุท ไธมาศคืน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเห็นว่าไทยมิได้ส่งทหารไปดูแลเลยจึงทรงตกลงคืน ให้ ทาให้สมพันธภาพกับญวนเป็ นไปได้ดวยดี ั ้ สมเด็จพระอุทยราชาเจ้าเขมร ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชทรงให้การ ั อุปถัมภ์น้ น เกิดผูกใจเจ็บกับไทยตั้งแต่ถกติเตียนเรื่ อง ที่อุกอาจเข้าเฝ้ าโดยพลการ จึงมีความคิดที่จะกระด้าง ั ู กระเดื่องต่อประเทศไทย โดยเริ่ มจากการไม่เข้าพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาดลกมหา ราชด้วยตนเอง และเมื่อคราวกรุ งเทพฯ มีศึกกับพม่าก็ไม่ยอมยกทัพมาช่วยเหลือ แลละสมเด็จพระอุทยราชาก็ ั หันไปพึ่งอานาจจากญวนแทน โดยแม้จะส่งเครื่ องราชบรรณาการมายังไทย แต่อานาจของไทยในเขมรก็เสื่อ ถอยลงตามลาดับเป็ นต้นมา เจ้าอนุวงศ์ผครองเมืองเวียงจันทน์ ซึ่งเป็ นเมืองขึ้นของไทยมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ ู้ ยอดฟ้ าจุฬาโลกมาหาราช ได้แสดงความจงรักภักดีตลอดรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ด้วยดี โดยช่วยเป็ นหูเป็ นตาดูแลหัวเมืองของไทยในแถบนั้นจนสิ้นรัชกาลที่ 2 เพื่อให้การติดต่อค้าขายกับ ประเทศจีนเป็ นไปได้โดยสะดวก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงแต่งตั้งทูตอัญเชิญพระ ราชสาสน์และเครื่ องราชบรรณาการ ไปเจริ ญพระราชไมตรี กบพระเจ้าเจี่ยเข่ง พระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ 5 ั แห่งราชวงศ์เซ็ง ณ กรุ งปักกิ่ง ต่อมาพระเจ้าเจี่ยเข่งสิ้นพระชนม์ ก็ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ส่งราชทูตไทยไป เคารพพระบรมศพ และเจริ ญพระราชไมตรี ต่อพระเจ้าตากวางได้สืบราชสมบัติแทน โปรตุเกสกับไทยได้ เคยมีการติดต่อค้าขายกันมาตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา และเมื่อบ้านเมืองเกิดสงครามกับพม่า โปรตุเกสก็พากัน ออกไปค้าขายที่เมืองอื่น ๆ ต่อมาในปี พ.ศ. 2363 พระเจ้าแผ่นดินโปรตุเกสก็ได้ส่งทูตเข้ามาขอทาสัญญาทาง พระราชไมตรี เพื่อความสะดวกในการติดต่อค้าขาย
  • 14. 10 มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย เนื่องในมหามงคลสมัยครบรอบ 200 ปี แห่งการเสด็จพระราชสมภพในปี พ.ศ. 2310 มูลนิธิ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ก่อสร้างอุทยานพระบรมราชานุสรณ์ข้ ึนที่ อ.อัมพวา จ. สมุทรสงคราม เพื่อเป็ นศูนย์กลางศิลปวัฒนธรรมในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจุดเด่นของ อุทยานแห่งนี้ คือ เรื อนไทยภาคกลางขนาดกลาง 5 หลัง เป็ นแบบเรื อนไทยสมัยต้นกรุ งรัตนโกสินทร์ ใช้เป็ น พิพิธภัณฑ์และหอสมุด เรื อนไทยที่เป็ นพิพิธภัณฑ์แบบชาติพนธุวิทยา แสดงความเป็ นอยูของคนไทยในสมัย ั ์ ่ ต้นกรุ งรัตนโกสินทร์ เรื อนไทยแฝดหลังกลางเป็ นเรื อนประธานจัดแสดงศิลปวัตถุที่นิยมกันในสมัยนั้น โดยเฉพาะสมัยรัชกาลที่ 2 เช่น เครื่ องเบญจรงค์ หัวโขน ตัวหุ่นกระบอกนางผีเสื้อสมุทร เป็ นต้น เครื่ องใช้ ประจาวัน เช่น โม่หินใช้สาหรับโม่แป้ ง หินบดยา ขันสาคร เป็ นต้น เรื อนต่อมาได้จดแสดงตูหุ่นวรรณคดีตามบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า ั ้ นภาลัย แต่ละตูมีความสวยงามและประณีต บทละครที่นามาจัดแสดง ได้แก่ สังข์ทอง ตอนพระสังข์เที่ยวชม ้ ปราสาทนางพันธุรัตน์ ในขณะที่นางยักษ์ไม่อยูได้พบบ่อเงินบ่อทองจึงลองเอกนิ้วจุ่มดู ตูบทละครนอก เรื่ อง ่ ้
  • 15. 11 มณี พิชย จัดทาตอน พระอินทร์แปลงนางยอพระกลิ่นให้เป็ นพราหมณ์ พระมณี พิชยต้องตามนางยอพระกลิ่น ั ั เข้าไปอยูในป่ า เพื่อลองในพระสวามี พราหมณ์จึงแปลงร่ างเป็ นผูหญิงสาวออกมาเดินให้พระมณี พิชยเห็น ่ ้ ั ส่วนเรื อนไทย 2 หลัง ทางปี กขวาจัดเป็ นห้องผูชายไทย มีเตียงนอน อุปกรณ์เขียนอ่าน พระพุทธรู ปบูชา ฉาก ้ ลายจีน อาวุธ เช่น โล่ เขน เป็ นต้น ปี กซ้ายจัดเป็ นห้องผูหญิงไทย มีเตียงนอนเครื่ องเย็บปักถักร้ อย เครื่ องอัด ้ กลีบผ้า คันฉ่อง เป็ นต้น ที่ชานเรื อนจัดไม้กระถางไม้ดอก อ่างบัว แบบเรื อนไทยในเรื่ องขุนช้างขุนแผน เรื อนไทยอีกหลังหนึ่งจัดเป็ นหอสมุด สร้างในน้ าตามแบบหอไตรสมัยโบราณตามวัดต่าง ๆ ซึ่งเป็ นการ ป้ องกันปลวก แมลงและอัศคีภย และเพื่อให้ความเย็นรักษาหนังสือหอสมุดแห่งนี้ได้รวบรวมหนังสือพระ ั ราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและผลงานของกวีร่วมสมัย เช่น สมเด็จพระมหาสมณ เจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร นายริ นทร์ธิเบศร์ สุนทรภู่ เป็ นต้น อุทยานแห่งนี้จึงนับว่าเป็ นสถานที่ที่มคุณค่าทางวัฒนธรรมของไทยอย่างยิง ี ่ บทสรุป ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ถือว่าเป็ นแผ่นดินทองแห่งวรรณกรรมด้วยทรง มีพระปรี ชาสามารถอย่างยิงในด้านศิลปะ ไม่ว่าจะเป็ นทางด้านสถาปัตยกรรม วรรณกรรรม รวมถึง ่ นาฎกรรม ดังจะเห็นได้จากมรดกทางวัฒนธรรมที่พระองค์เป็ นผูสร้างไว้ให้กบอนุชนรุ่ นหลัง อุทยานพระ ้ ั บรมราชานุสาวรี ยเื ป็ นสถานที่ที่แสดงให้เห็นพระปรี ชาสามารถในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้อย่างชัดเจนที่สุด และในอุทยานพระบรมราชานุสาวรี ย ์ เป็ นที่ต้งของ พระบรมราชานุสาวรี ยของ ั ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประดิษฐานอยู่ ณ ที่น้ นด้วย ั
  • 16. 12 บรรณานุกรม ศิวรรณ คุมโห.// “ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเลิศหล้านภาลัย,”/พระราชประวัติ พระ ้ มหากษัตย์ 9 รัชกาล.// 13 กรกฏาคม 2546.//<http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย> //20 มิถุนายน 2554.