SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  73
Télécharger pour lire hors ligne
คูมือ
การแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ไปสูการปฏิบัติ
คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ
สํานักนายกรัฐมนตรี
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
คํานํา
คณะรัฐมนตรี ไดมีมติเมื่อวันอังคารที่ 6 ตุลาคม 2558 เห็นชอบและประกาศ
ใหนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เปนยุทธศาสตร
การประชาสัมพันธของประเทศ เพื่อใหหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนนําไปใชเปนแนวทาง
ในการดําเนินงานดานการประชาสัมพันธตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2559 จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2564
คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ จึงไดจัดทําคูมือการแปลงนโยบายและ
แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 –2564) ไปสูการปฏิบัติขึ้น เพื่อใหหนวยงาน
ภาครัฐทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และทองถิ่น รวมทั้งภาคีตาง ๆ ไดศึกษาและใชประกอบ
การจัดทําแผนประชาสัมพันธของหนวยงานใหเปนไปในแนวทางที่สอดคลองกับยุทธศาสตร
การประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
เพื่อรวมกันผลักดันยุทธศาสตรการประชาสัมพันธไปสูการปฏิบัติใหเกิดผลเปนที่ประจักษ
โดยกําหนดใหเปนสวนหนึ่งของแผนปฏิบัติการของกระทรวง กรม จังหวัดและกลุมจังหวัด องคกร
ปกครองสวนทองถิ่น และยุทธศาสตรในภาคเอกชน พรอมทั้งพิจารณากําหนดเปาหมาย ตัวชี้วัด
แนวทางและมาตรการที่ชัดเจนเปนกรอบในการจัดทําแผนงาน/โครงการของหนวยงานใหมี
ความสอดคลองกัน ขณะเดียวกันสามารถใชคูมือฯ เปนกรอบการกํากับดูแลและติดตาม
ประเมินผลการดําเนินงานใหบรรลุผลตามที่กําหนด
คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือฯ นี้จะเปน
ประโยชนตอทุกภาคสวนในการนําไปใชเพื่อรวมกันขับเคลื่อนการปฏิบัติตามนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ใหเปนรูปธรรมตอไป
คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ
พฤศจิกายน 2558
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
ก. 44 กวาง 5.5 หนา
บทที่ 1 การใชประโยชนจากคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
1
• เพราะเหตุใดจึงตองจัดทําคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
2
• วัตถุประสงคของคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
2
• คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติจะบอกอะไรแกเราบาง
2
• ใครควรศึกษาคูมือฯ เลมนี้ 3
• ประโยชนที่จะเกิดขึ้นจากคูมือฯ 4
• วิธีการใชคูมือฯ ใหเกิดประสิทธิภาพ 4
บทที่ 2 สาระสําคัญของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564)
5
• นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
จะพาเราไปสูจุดหมายใดในอนาคต
6
• ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธ 7
 ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธสรางความปรองดองของคนในชาติ 7
 ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธนโยบายแหงรัฐ 7
 ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในภาวะวิกฤต 8
 ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธสงเสริมภาพลักษณประเทศสูประชาคมโลก 8
 แผนภูมิที่ 1 ผังแสดงความสัมพันธของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) กับนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
9
สารบัญ
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
หนา
บทที่ 3 การแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
10
• ขั้นตอนการแปลงยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ.2559–2564)ไปสูแผนระดับตางๆ
11
• ลักษณะของแผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
12
• องคประกอบของแผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
13
• การบูรณาการแผนงาน โครงการ 14
• แนวทางการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป 15
• การติดตามประเมินผล 16
• แผนภูมิที่ 2 ผังแสดงโครงสรางการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
17
• แผนที่นําทาง (Roadmap)การขับเคลื่อนนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
18
บทที่ 4 ยุทธศาสตร มาตรการ และหนวยงานที่เกี่ยวของในการนํานโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
20
• หนวยงานรับผิดชอบยุทธศาสตรการประชาสัมพันธตามนโยบายและ
แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
21
ภาคผนวก 42
 ความสอดคลองระหวางนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) กับรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พ.ศ..... นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี
ทิศทางยุทธศาสตรชาติ และ ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
43
 แบบฟอรมที่ 1 แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธ ระยะ 6 ป
 ตัวอยางแบบฟอรมที่ 1 แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธระยะ 6 ป
48
49
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
หนา
 แบบฟอรมที่ 2
- แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธประจําป (แนวตั้ง) 51
- แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธประจําป (แนวนอน) 52
 ตัวอยางแบบฟอรมที่ 2
- แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธประจําป (แนวตั้ง) 53
- แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธประจําป (แนวนอน)
 แบบฟอรมที่ 3 รายงานผลการดําเนินงาน (รายไตรมาส)
58
60
 ตัวอยางแบบฟอรมที่ 3 รายงานผลการดําเนินงาน (รายไตรมาส) 61
 คํายอหนวยงาน 63
 รายชื่อผูจัดทําคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
65
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
1
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
1. เพราะเหตุใดจึงตองจัดทําคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
บทที่ 1
การใชประโยชนจากคูมือการแปลงนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ไปสูการปฏิบัติ
การดําเนินงานดานการประชาสัมพันธของประเทศที่ผานมา ถึงแมวาหนวยงาน
ภาครัฐและภาคเอกชนจะสามารถกําหนดทิศทาง เปาหมาย แนวทางและดําเนินการ
ประชาสัมพันธได แตการดําเนินงานประชาสัมพันธของทุกหนวยงานยังไมสอดคลองและไมเปนไป
ในทิศทางเดียวกัน การปฏิบัติงานดานการประชาสัมพันธของประเทศยังตองปรับปรุงใหเกิด
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้น กรมประชาสัมพันธในฐานะฝายเลขานุการคณะกรรมการ
ประชาสัมพันธแหงชาติ จึงกําหนดให “การขับเคลื่อนนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ”เปนกระบวนการสําคัญที่ตองผลักดันใหสังคมรับรู
เขาใจและตระหนักถึงภารกิจและความรับผิดชอบรวมกันในการใชการประชาสัมพันธ
เปนเครื่องมือในการพัฒนาประเทศ จึงไดจัดทํา “คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ” ขึ้น เพื่อใหทุกภาคสวนไดศึกษาทําความเขาใจ
วิธีการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
สูแผนระดับตาง ๆ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศใหบรรลุเปาหมายที่คาดหวังไว
กรมประชาสัมพันธในฐานะฝายเลขานุการคณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ
จัดทําคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ไปสูการปฏิบัติ เพื่อสรางความตระหนักรูแกทุกคนวา
1.1 นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
เปนแผนของคนไทยทุกคน
1.2 นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
เปนแผนที่ทุกคนไดประโยชน
1.3 นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
เปนแผนที่อยูบนพื้นฐานความจริงและแปลงสูการปฏิบัติได
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
2
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
2. วัตถุประสงคของคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
3. คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ไปสูการปฏิบัติ จะบอกอะไรแกเราบาง
2.1 คูมือฯ มุงสรางความรู ความเขาใจถึงวิธีการที่จะนําสาระสําคัญและยุทธศาสตร
การประชาสัมพันธของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ที่เปนนามธรรม ไปแปลงสูการปฏิบัติที่เปนรูปธรรมใหแกหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สื่อมวลชน
และหนวยงาน องคกรตาง ๆ ทุกระดับ ตั้งแตหนวยงานที่กํากับดูแลนโยบายของประเทศจนถึง
หนวยงานระดับปฏิบัติการ ทั้งในสวนกลาง สวนภูมิภาค องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจน
ภาคธุรกิจเอกชน ชุมชนตาง ๆ และผูที่เกี่ยวของ
2.2 คูมือฯ จะอธิบายวิธีการที่นํายุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปเชื่อมโยงกับแผนงานในความรับผิดชอบ
ของแตละหนวยงาน ไมวาจะเปนแผนยุทธศาสตรของหนวยงานดานนโยบาย แผนยุทธศาสตรของ
กระทรวง กรม รัฐวิสาหกิจ แผนพัฒนาของจังหวัด/กลุมจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถิ่น และ
ชุมชน รวมทั้งแผนปฏิบัติการ แผนงาน/โครงการของหนวยงานตาง ๆ ดวย
2.3 คูมือฯ มุงอธิบายวิธีการสรางระบบการติดตามประเมินผลสําเร็จของการดําเนินงาน
ตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ที่เปดโอกาสให
ทุกคนในสังคมมีสวนรวมอยางเต็มที่
คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ แบงการนําเสนอเปน 5 สวน ไดแก
สวนที่ 1 การใชประโยชนจากคูมือฯ
อธิบายถึงวัตถุประสงคของการจัดทําคูมือฯ เลมนี้ รวมทั้งกลุมเปาหมายและ
ประโยชนที่แตละกลุมจะไดรับและวิธีใชคูมือฯ ใหเกิดประสิทธิภาพ
สวนที่ 2 สรุปสาระสําคัญของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
3
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
4. ใครควรศึกษาคูมือฯ เลมนี้
อธิบายวา นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) จะพาเราไปสูจุดหมายใดในอนาคต ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธ
มีเรื่องใดบางที่ตองเรงผลักดันในชวง 6 ปของแผน
สวนที่ 3 การแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ แตละหนวยงานตองทําอยางไร
นําเสนอใหเห็นถึงวิธีการที่จะแปลงนโยบายและแผนฯ ใหนําไปใชไดจริง
สวนที่ 4 ยุทธศาสตร มาตรการและหนวยงานที่เกี่ยวของในการนํานโยบาย
และแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
นําเสนอใหเห็นวา ในแตละยุทธศาสตร มาตรการ มีหนวยงานใดบางที่เกี่ยวของ
และสามารถนํานโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ไปสูการปฏิบัติ
สวนที่ 5 ภาคผนวก
นําเสนอใหเห็นตัวอยางของการจัดทําแผนปฏิบัติการประชาสัมพันธระยะ 6 ป
(พ.ศ. 2559 –2564) แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธประจําป รายงานผลการดําเนินงาน (รายไตรมาส)
และแบบฟอรมตางๆที่เกี่ยวของ
4.1 หนวยงานภาครัฐ ไดแก หนวยงานราชการระดับกระทรวง ระดับกรม รัฐวิสาหกิจ
หนวยงานในสังกัดกระทรวงที่มีสํานักงานในตางจังหวัด อาทิ ประชาสัมพันธจังหวัด พาณิชยจังหวัด
หนวยงานในสวนภูมิภาค อาทิ จังหวัด/กลุมจังหวัด หนวยงานระดับอําเภอ
4.2 องคกรอิสระ องคกรมหาชน อาทิ องคกรดานการทองเที่ยว เปนตน
4.3 องคกรปกครองสวนทองถิ่น อาทิ องคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหาร
สวนตําบล เทศบาล รวมทั้งองคปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษอื่น อาทิ กรุงเทพมหานคร
เมืองพัทยา
4.3 หนวยงานดานสื่อมวลชน อาทิ สมาคม/ชมรมวิชาชีพ
4.4 หนวยงานภาควิชาการ อาทิ สถาบันการศึกษา สถาบัน/องคกรดานวิชาการตาง ๆ
4.5 หนวยงานภาคเอกชน อาทิ สภาหอการคา สมาคมธุรกิจ
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
4
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
5. ประโยชนที่จะเกิดขึ้นจากคูมือฯ
6. วิธีการใชคูมือฯ ใหเกิดประสิทธิภาพ
หนวยงานภาครัฐ สวนราชการตาง ๆ สวนทองถิ่น รวมถึงภาคธุรกิจเอกชน โรงเรียน
มหาวิทยาลัย และประชาชนทั่วไปที่สนใจ มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการที่จะนํานโยบายและ
แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ. 2559 –2564) ไปใชงานในทางปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม
สอดคลองกับบทบาทภารกิจและอํานาจหนาที่ของแตละหนวยงาน นอกจากนี้ หนวยงานขางตนยังได
ทราบถึงวิธีการวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5(พ.ศ. 2559 –2564) เพื่อที่จะสามารถคนหาปญหาอุปสรรคในกระบวนการผลักดันนโยบาย
และแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ. 2559 –2564) ไปสูการปฏิบัติและนํากลับมาใช
ในการปรับปรุงการดําเนินงานตอไป
คูมือฯ นี้จะแนะนําวิธีการแปลงยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ. 2559 –2564) รวมถึงการอธิบายวา ในแตละยุทธศาสตรมี
หนวยงานใดเกี่ยวของบาง
ดังนั้นเพื่อใหผูอานเขาใจวิธีการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติไดอยางชัดเจน จึงขอใหผูเกี่ยวของศึกษาคูมือฯ นี้ตามลําดับ ดังนี้
1. ทําความเขาใจกับสาระสําคัญของแนวคิด ทิศทางการประชาสัมพันธ วิสัยทัศน
เปาหมายพันธกิจยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) อยางถองแท
2. ตรวจสอบภารกิจที่หนวยงานของตนเองรับผิดชอบวา สอดคลองกับยุทธศาสตร
การประชาสัมพันธของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ในเรื่องใด รวมทั้งทําความเขาใจกับยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ที่ตองนําไปปฏิบัติ รวมถึงตองพิจารณาถึงความเชื่อมโยงระหวาง
ภารกิจของหนวยงานตนเองกับหนวยงานอื่นควบคูไปดวยโดยตองตระหนักอยูเสมอวา“การประชาสัมพันธ
ที่จะเปนประโยชนกับทุกคน คือการประชาสัมพันธที่ตองมองทุกอยางเกี่ยวของกัน”
3. ทําความเขาใจกับขั้นตอน วิธีการและบทบาทของหนวยงานตาง ๆ เพื่อนําไปใช
ประกอบการจัดทําแผนในความรับผิดชอบ ไมวาจะเปนแผนปฏิบัติการ แผนงาน/โครงการ รวมทั้ง
ทําความเขาใจวิธีการติดตามและประเมินผลนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ดวย
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
5
 คูมือแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไปสูการปฏิบัติ
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
บทที่ 2
สาระสําคัญของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เปน
แผนยุทธศาสตรการประชาสัมพันธของประเทศที่กําหนดทิศทางการประชาสัมพันธในระยะปานกลาง
ในชวงเวลา 6 ป คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติไดกําหนดนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ขึ้นภายใตการบริหารประเทศของคณะรักษาความสงบแหงชาติ
(คสช.) โดยใชนโยบายของคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) นโยบายรัฐบาล พลเอก ประยุทธ
จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีที่ไดแถลงตอสภานิติบัญญัติแหงชาติ เมื่อวันศุกรที่ 12 กันยายน 2557
ประเด็นการปฏิรูปของสภาปฏิรูปแหงชาติ 11 ดานตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว
(พ.ศ. 2557) ทิศทางยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป และทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เปนกรอบแนวทางในการจัดทํายุทธศาสตรการประชาสัมพันธ
และไดใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสื่อมวลชน เพื่อรวมกัน
กําหนดวิสัยทัศนและทิศทางการประชาสัมพันธ รวมทั้งรวมจัดทํารายละเอียดของนโยบายและ
แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เพื่อมุงสูวิสัยทัศนรวมกัน ดังนี้
การจัดทํานโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ.2559–2564) ไดยึดวิสัยทัศนนี้
เปนหลักควบคูไปกับหลักการสําคัญ ประกอบดวย
 การพัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและขับเคลื่อนให
เกิดผลในทางปฏิบัติ
 ใหความสําคัญกับการเปดโอกาสใหทุกภาคสวนไดมีสวนรวม
“การประชาสัมพันธที่ทุกภาคสวนมีสวนรวม ไดรับขอมูลขาวสารอยางทั่วถึง เพื่อใหเกิด
ความเขาใจและทัศนคติที่ดีตอกัน สรางสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรูและ
สรางภาพลักษณที่ดีของชาติในสายตาของประชาคมโลก”
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
6
 คูมือแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไปสูการปฏิบัติ
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
1. นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
จะพาเราไปสูจุดหมายใดในอนาคต
 ประชาชนไดรับขอมูลขาวสารที่ถูกตอง รวดเร็ว ทันตอเหตุการณและ
สามารถนําไปเปนแนวทางปฏิบัติไดจริง
 ใหความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่รวดเร็ว
การพัฒนาประเทศสูความสมดุลและยั่งยืนโดยใชการประชาสัมพันธเปนเครื่องมือ
ในระยะ 6 ป ของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
จําเปนตองกําหนดวิสัยทัศน เปาหมาย และพันธกิจ เพื่อใหทุกภาคสวนที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน
ประชาสัมพันธสามารถสงเสริมสนับสนุนและเปนแรงผลักดันใหการพัฒนาประเทศบรรลุเปาหมาย
ที่กําหนดไวได
1.1 วิสัยทัศน “การประชาสัมพันธที่ทุกภาคสวนมีสวนรวม ไดรับขอมูลขาวสารอยางทั่วถึง
เพื่อใหเกิดความเขาใจและทัศนคติที่ดีตอกัน สรางสังคมแหงภูมิปญญาและ
การเรียนรู และสรางภาพลักษณที่ดีของชาติในสายตาของประชาคมโลก”
1.2 เปาหมาย  ประชาชนเกิดความเขาใจ ยอมรับ ใหความรวมมือในการสรางความปรองดอง
ของคนในชาติ
 หนวยงานและภาคสวนที่เกี่ยวของรวมทั้งประชาชน ไดรับขอมูลขาวสารที่
ถูกตอง และเกิดทัศนคติที่ดี โดยใหความรวมมือกับหนวยงานของรัฐ
 ประชาชนไดรับขอมูลขาวที่ถูกตอง รวดเร็ว ทันตอเหตุการณ เมื่อเกิด
สถานการณฉุกเฉินหรือภาวะวิกฤตและสามารถนําไปเปนแนวทางปฏิบัติไดจริง
 ประเทศไทยมีภาพลักษณที่ดีและไดรับการยอมรับจากประชาคมโลก
1.3 พันธกิจ กําหนดนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ และขับเคลื่อนสูการปฏิบัติ
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
7
 คูมือแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไปสูการปฏิบัติ
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
2.1 ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธสรางความปรองดองของคนในชาติ
2. ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธแหงชาติ
2.2 ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธนโยบายแหงรัฐ
ธศาสตร์การประชาสัมพันธ์
การพัฒนาประเทศโดยใชการประชาสัมพันธเปนเครื่องมือภายใตกระแสการเปลี่ยนแปลง
ทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ปรับเปลี่ยนอยางรวดเร็ว คาดการณไดยากและซับซอนมากยิ่งขึ้น
จําเปนที่จะตองกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการประชาสัมพันธที่เหมาะสม โดยเรงสราง
ภูมิคุมกันเพื่อปองกันปจจัยเสี่ยง และเสริมรากฐานของประเทศในดานตางๆ ใหเขมแข็ง สรางโอกาส
ใหประชาชนไดเขาถึงและไดรับประโยชนจากขอมูลขาวสารอยางเทาเทียมและเปนธรรม สงเสริม
กระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน บนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล นําไปสูการพัฒนา
ประเทศใหบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไว ซึ่งยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและ
แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) มีดังนี้
มุงสรางความรู ความเขาใจ และรับรูเปาหมายของการพัฒนาชาติ มองเห็นหลักชัย
หรือจุดหมายปลายทางของประเทศรวมกัน ยอมรับความคิดเห็นที่แตกตาง คิดอยางมีเหตุผล ยึดหลัก
ผลประโยชนของชาติเปนสําคัญ โดยใชวิธีการสันติ หลีกเลี่ยงการใชความรุนแรง รวมทั้งฟนฟูระเบียบ
สังคมและเปนธรรมแกทุกฝาย ตลอดจนสนับสนุนองคกรตามรัฐธรรมนูญใหมีสวนรวมในการสราง
ความปรองดองสมานฉันทภายใตกรอบของบทบาทอํานาจหนาที่ขององคกร
มุงประชาสัมพันธใหประชาชนรับรู เขาใจและใหความรวมมือกับรัฐบาลในการบริหารประเทศ
ตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ รวมทั้งเรื่องที่เปนวาระแหงชาติ โดยแสวงหาความรวมมือจากสื่อมวลชน
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อสรางและพัฒนาเครือขายประชาสัมพันธทุกระดับ
ทั้งนี้ เพื่อนําไปสูความรวมมือในการพัฒนาประเทศรวมกัน
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
8
 คูมือแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไปสูการปฏิบัติ
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
2.3 ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในภาวะวิกฤต
2.4 ยุทธศาสตรประชาสัมพันธสงเสริมภาพลักษณประเทศสูประชาคมโลก
มุงเตรียมประชาชนใหพรอมรับการเผชิญกับวิกฤตการณตาง ๆ ทั้งดานการเมือง
ความมั่นคง เศรษฐกิจ สาธารณภัย ภัยจากธรรมชาติ ภัยจากการกอการราย การกอวินาศกรรม
การชุมนุมประทวง กอการจลาจล เปนตน โดยใหความสําคัญกับการบริหารจัดการขอมูลขาวสาร
ที่ถูกตอง รวดเร็ว ประชาชนมีความเทาทันตอขาวสารและเหตุการณที่เกิดขึ้น สามารถแยกแยะ
ขอเท็จจริงออกจากความคิดเห็นหรืออารมณที่อาจไมสะทอนสถานการณจริง รวมทั้งมุงการพัฒนาและ
เสริมสรางการบริหารจัดการขอมูลขาวสารของหนวยงานรัฐ ในหวงสถานการณฉุกเฉินหรือภาวะวิกฤต
ไดอยางมีเอกภาพ
มุงสงเสริมความรวมมือระหวางหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสวนที่เกี่ยวของ
ในการสรางภาพลักษณที่ดีของประเทศไทยสูประชาคมโลกโดยเนนการสรางความเปนมิตรกับทุกประเทศ
เสริมสรางความสัมพันธและความรวมมือกับกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งใหความสําคัญ
กับการเสริมสรางการรับรูขาวสารที่ถูกตอง เพื่อสรางภาพลักษณที่ดีของประเทศใหเปนที่ยอมรับใน
ประชาคมโลก
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
9
 คูมือแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไปสูการปฏิบัติ
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
แผนภูมิที่ 1 : ผังแสดงความสัมพันธของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560 - 2564) กับนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 - 2564) และแผนปฏิบัติการในระดับตางๆ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
นโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผน
แมบทกระทรวง
แผนปฏิบัติการกระทรวง
แผนปฏิบัติการกรม
แผนปฏิบัติการระดับจังหวัด
แผนปฏิบัติการระดับพื้นที่
แผนปฏิบัติการระดับชุมชน
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
10
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
บทที่ 3
การแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
เปนแผนยุทธศาสตรการประชาสัมพันธของประเทศที่เปนจุดเปลี่ยนสําคัญในการดําเนินงาน
เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่รวดเร็ว ซึ่งทําใหเกิดชองทาง
การสื่อสารรูปแบบใหม ๆ ดังนั้น จึงตองขับเคลื่อนนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ใหเกิดประสิทธิภาพโดยใชโอกาสของการเปลี่ยนแปลงดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศที่สอดคลองกับวิถีชีวิตของประชาชนในปจจุบันและความรวมมือจากทุกฝาย
ที่เกี่ยวของ ซึ่งการนํานโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ไปดําเนินการใหเกิดผลเปนรูปธรรมตองยึดหลักการ ดังนี้
ความสอดคลองกับสภาพสังคม หลักการพัฒนาพื้นที่ ภารกิจของหนวยงานและ
การมีสวนรวม
ใชความรู เทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสรางสรรคเปนเครื่องมือในการดําเนินการ
1.
2.
ใชจังหวัดเปนหนวยงานกลางดําเนินการประชาสัมพันธในระดับพื้นที่และเปนจุด
เชื่อมโยงการประชาสัมพันธจากสวนกลางสูสวนภูมิภาคเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและ
แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ในระดับพื้นที่
เนนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน สรางกระบวนการทํางานรวมกันในรูปแบบเครือขาย
3.
4.
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
11
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
ขั้นตอนการแปลงยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูแผนระดับตาง ๆ
1. ศึกษารวบรวมขอมูลเพื่อวิเคราะหสถานการณการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่เกี่ยวของกับ
ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธเฉพาะที่อยูในความรับผิดชอบ เพื่อนําผลการวิเคราะหมากําหนด
รายละเอียดในการดําเนินงาน
2. เชื่อมโยงรายละเอียดกับทิศทางการประชาสัมพันธ วิสัยทัศน เปาหมายและรายละเอียด
มาตรการของยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
3. หนวยงานเจาภาพยุทธศาสตร ประสานหนวยงานรวมรับผิดชอบจัดทําแผนปฏิบัติการรวม
เพื่อเปนแนวทางการผลักดันยุทธศาสตรการประชาสัมพันธไปปฏิบัติ โดยกําหนดวัตถุประสงค
เปาหมาย กิจกรรม ตัวชี้วัด งบประมาณ ระยะเวลาดําเนินการและระบุหนวยงานรับผิดชอบที่ชัดเจน
4. หนวยงานรวมรับผิดชอบยุทธศาสตร นําประเด็นที่รับผิดชอบภายใตแผนปฏิบัติการรวม
แปลงสูแผนปฏิบัติราชการของหนวยงาน แผนพัฒนาจังหวัด/กลุมจังหวัด แผนทองถิ่น
แผนชุมชน แผนธุรกิจ โดยใชแผนปฏิบัติการรวมเปนกรอบในการกําหนดแผนงาน โครงการ
ที่มีเปาหมายและตัวชี้วัดความสําเร็จ พรอมทั้งกําหนดผูรับผิดชอบใหชัดเจน
5. กําหนดแนวทางการติดตามประเมินผลการดําเนินงานภายใตแผนปฏิบัติการรวม โดยยึดเปาหมาย
ผลผลิต ผลลัพธ ตลอดจนตัวชี้วัดความสําเร็จเปนกรอบในการติดตามประเมินผล
6. หนวยงานรวมรับผิดชอบยุทธศาสตร
ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการของหนวยงาน
7. รายงานผลการดําเนินงานตอหนวยงานเจาภาพ
8. หนวยงานเจาภาพประมวลภาพรวม
11. ปรับปรุงการดําเนินงาน
9. สงใหกรมประชาสัมพันธเสนอ
คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ (กปช.)10. เสนอคณะรัฐมนตรี
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
12
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
ลักษณะของแผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
แผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) จะตองเปนไปตามแนวคิดและทิศทางการประชาสัมพันธที่กําหนดไว
ในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ซึ่งใหความสําคัญ
กับการเตรียมพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศที่มีผลกระทบตอ
ประเทศไทยเพื่อสรางภูมิคุมกันของประเทศใหเขมแข็งภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยมีทิศทางการประชาสัมพันธ เพื่อสรางความปรองดองของคนในชาติมุงประชาสัมพันธให
ประชาชนรับรู เขาใจและใหความรวมมือกับรัฐบาล ในการบริหารประเทศ ประชาชนมีความเทาทันตอ
ขาวสารในภาวะวิกฤต รวมทั้งการประชาสัมพันธบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลก
จากแนวคิดและทิศทางการประชาสัมพันธดังกลาว สามารถนํามาใชในการแปลงนโยบาย
และแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการจัดทําแผนปฏิบัติการ
หรือโครงการของแตละหนวยงานใหสอดคลองกับยุทธศาสตรการประชาสัมพันธที่กําหนดไว
โดยแผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) มีลักษณะ ดังนี้
1. แผนปฏิบัติการหรือโครงการที่เกี่ยวของกับการประชาสัมพันธตามยุทธศาสตร
ในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ที่แตละหนวยงาน
มีการดําเนินการอยูแลวในปจจุบัน
2. แผนปฏิบัติการหรือโครงการที่เปนภารกิจปกติของหนวยงานโดยมีการบูรณาการ
มิติการประชาสัมพันธตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เพิ่มเติม
3. แผนปฏิบัติการหรือโครงการริเริ่มใหม ซึ่งเปนแผนปฏิบัติการหรือโครงการ
เพื่อขับเคลื่อนและผลักดันงานประชาสัมพันธของชาติตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ทั้งนี้ แผนปฏิบัติการหรือโครงการของแตละหนวยงานตองใหความสําคัญ ดังนี้
1. การใชโอกาสของการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่สอดคลองกับวิถี
ชีวิตของประชาชนในปจจุบันเปนชองทางการเผยแพรขอมูลขาวสารและบริการของภาครัฐ อาทิ
รูปแบบของ Mobile Applications และศูนยกลางแอปพลิเคชั่นภาครัฐ (Government Application
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
13
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
องคประกอบของแผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
Center : GAC) ซึ่งสามารถดาวนโหลด GAC ไดจากอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ ซึ่งอาจแตกตางกันไป
ในแตละระบบปฏิบัติการ
2. ใหความสําคัญกับการกําหนดงบประมาณใหสอดคลองกับแผนงาน โครงการ
กิจกรรม โดยพิจารณาเสนอขอตั้งงบประมาณรายจายประจําปตอสํานักงบประมาณตามความ
จําเปนและเหมาะสม สําหรับการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ซึ่งเปนปแรกของ
การดําเนินงานตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
สํานักงบประมาณไดขอใหกระทรวงหรือหนวยงานพิจารณาปรับแผนการปฏิบัติงานและ
แผนการใชจายงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ของกระทรวงหรือหนวยงาน
มาดําเนินการ
แผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ประกอบดวยสาระสําคัญ ดังนี้
1. หลักการและเหตุผลในการจัดทําแผนปฏิบัติการหรือโครงการ
2. วัตถุประสงคของแผนปฏิบัติการหรือโครงการ
3. ภารกิจหลักของหนวยงาน ซึ่งเปนภารกิจที่ตองดําเนินการตามหนาที่ความรับผิดชอบ
ของกระทรวงและภารกิจที่เกี่ยวของกับยุทธศาสตรในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
4. ตัวชี้วัดความสําเร็จของแผนปฏิบัติการหรือโครงการ
5. กิจกรรมและงบประมาณ
6. ระยะเวลาดําเนินการ
7. กลุมเปาหมาย
8. การติดตาม ประเมินผล โดยระบุวิธีดําเนินการเพื่อใหทราบถึงความกาวหนา ปญหา
อุปสรรคของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการหรือโครงการ
9. ผลที่คาดวาจะไดรับ
10. หนวยงานรับผิดชอบ
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
14
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
การบูรณาการแผนงาน โครงการ
1. ระดับสวนกลาง
คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ (กปช.) สนับสนุนใหหนวยงานระดับ
กระทรวงนํายุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) ไปเปนกรอบแนวทางการจัดทําแผนยุทธศาสตรกระทรวง ซึ่งยุทธศาสตร
กระทรวงจะเปนกรอบสําหรับการจัดทําแผนปฏิบัติการของหนวยงานระดับกรม รวมทั้งหนวยงาน
ของกระทรวงในภูมิภาคดวยเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปในทิศทางเดียวกัน
2. ระดับจังหวัด
การบูรณาการในระดับจังหวัด ใหแตงตั้งคณะกรรมการประชาสัมพันธ
แหงชาติระดับจังหวัด (กปช.จังหวัด) ประกอบดวยผูวาราชการจังหวัดเปนประธาน โดยมีหัวหนา
สวนราชการหรือผูแทนจากกระทรวงหรือหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่
ของจังหวัด เปนกรรมการ ประชาสัมพันธจังหวัดเปนเลขานุการ ผูชวยประชาสัมพันธจังหวัด
เปนผูชวยเลขานุการ โดยมีอํานาจหนาที่จัดทํา บูรณาการ ประสานงาน และดําเนินการตาม
แผนงาน โครงการของจังหวัดใหสอดคลองกับยุทธศาสตรในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) และจัดทํารายงานผลการดําเนินงานสงใหฝายเลขานุการ
คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ (สํานักพัฒนานโยบายและแผนการประชาสัมพันธ
กรมประชาสัมพันธ) เพื่อนําเสนอคณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติตอไป
3. ระดับพื้นที่
การบูรณาการในระดับพื้นที่ การจัดทําแผนปฏิบัติการในระดับพื้นที่หรือ
ทองถิ่นนั้น หนวยงานในระดับพื้นที่สามารถจัดทําแผนปฏิบัติการหรือโครงการตามแนวทาง
การจัดการแบบพื้นที่โดยคํานึงถึงความตองการของพื้นที่ ภารกิจและสรางการมีสวนรวมของ
ประชาชน โดยสามารถจัดตั้งคณะทํางานระดับทองถิ่นเพื่อทําหนาที่ประสานการดําเนินงานให
เชื่อมโยงสอดคลองกับแผนปฏิบัติการของจังหวัดและกระทรวงตอไป
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
15
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
แนวทางการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป
การเสนองบประมาณประจําปของสวนราชการเพื่อใหสามารถขับเคลื่อน
ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564) ไดสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว สวนราชการทุกกระทรวงตองจัดทําแผน
ยุทธศาสตรกระทรวงโดยเชื่อมโยงยุทธศาสตรการประชาสัมพันธใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ
ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2558 – 2577) นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560 – 2564) โดยมีแนวทาง ดังนี้
1. ใหความสําคัญกับการจัดทํางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร
ที่สอดคลอง เชื่อมโยง สนับสนุนซึ่งกันและกัน เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ คุมคาและไมซ้ําซอนกัน
2. ใหกําหนดเปาหมาย กลยุทธ ผลผลิต กิจกรรม และตัวชี้วัดความสําเร็จ ที่ชัดเจน
สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ นโยบายรัฐบาล ภารกิจของหนวยงาน
3. ใหจัดทําแผนปฏิบัติการและแผนการใชจายงบประมาณที่ชัดเจนในขั้นตอน
การจัดทําคําของบประมาณโดยพิจารณาถึงความพรอม ขีดความสามารถในการใชจายงบประมาณ
และแหลงเงินเพื่อใหสามารถดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว
4. ใหมีการบูรณาการงบประมาณในระดับพื้นที่ โดยสวนราชการและหนวยงานที่
เกี่ยวของตองมีการบูรณาการการจัดทํางบประมาณรวมกับจังหวัด กลุมจังหวัด เพื่อใหมีความสอดคลอง
กับแผนพัฒนาจังหวัด กลุมจังหวัด
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
16
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
การติดตามประเมินผล
การติดตามประเมินผลเปนขั้นตอนที่สําคัญในกระบวนการวางแผน กระทรวงและ
หนวยงานที่เปนหนวยงานรับผิดชอบหลักตองติดตามประมินผลสําเร็จในการนํานโยบายและ
แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. กําหนดกรอบการติดตามประเมินผล โดยสรางความเขาใจในสาระสําคัญของ
แนวทางการผลักดันนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ไปสูการปฏิบัติ เปาหมายตัวชี้วัดและแนวทางการดําเนินงานแลวกําหนดประเด็นและตัวชี้วัดการประเมิน
แหลงขอมูล และเกณฑการเปรียบเทียบเพื่อใชในการวิเคราะหประเมินผลใหสะทอนกระบวน
การดําเนินงาน ผลผลิต และผลลัพธ
2. รวบรวมขอมูลภายใตกรอบการประเมินผล
2.1 ขอมูลปฐมภูมิที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม การระดมความคิดเห็น
การประชุมกลุมยอย การสัมภาษณเชิงลึกและกําหนดเครื่องมือการประเมิน อาทิ แบบสอบถาม
แบบบันทึกกิจกรรม แบบสัมภาษณ รวมทั้งกําหนดกลุมเปาหมายและพื้นที่จัดเก็บขอมูล ทั้งนี้ ตองมี
การทดสอบเครื่องมือกอนนําไปใชจริง
2.2 ขอมูลทุติยภูมิที่ไดจากเอกสารรายงานผลการดําเนินงานของหนวยงาน
และงานวิจัยประเมินผลที่เกี่ยวของ
3. ประมวลและวิเคราะหขอมูล
3.1 ประมวลและวิเคราะหผลภาคสนามจากการสํารวจหรือสอบถาม
3.2 สังเคราะหผลจากขอมูลทุติยภูมิ
4. จัดทํารายงานวิเคราะหผลจากการประมวลและวิเคราะหขอมูลในขั้นตอนที่ 3
จากนั้นสรุปเปนผลการประเมินและขอเสนอแนะ
5. นําเสนอรายงานผลการประเมินใหผูบริหารพิจารณาใหความเห็นชอบ
6. นําผลการประเมินไปปรับปรุงแนวทางการดําเนินงาน
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
17
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
แผนภูมิที่ 2 : ผังแสดงโครงสรางการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
โครงการที่เปนภารกิจปกติของหนวยงาน
โดยมีการบูรณาการมิติการประชาสัมพันธตาม
ยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5
เพิ่มเติม
แผนปฏิบัติการหรือโครงการริเริ่มใหม ซึ่งเปน
การขับเคลื่อนและผลักดันงานประชาสัมพันธของชาติ
ตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5
ยุทธศาสตร/มาตรการ
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564)
โครงการที่เกี่ยวของกับการประชาสัมพันธ
ตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5
หนวยงานกลาง
หนวยงานจังหวัด
หนวยงานพื้นที่
แผนปฏิบัติการกระทรวง
โครงการแผนงาน กิจกรรม
การติดตามประเมินผล
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
16
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
การติดตามประเมินผล
การติดตามประเมินผลเปนขั้นตอนที่สําคัญในกระบวนการวางแผน กระทรวงและ
หนวยงานที่เปนหนวยงานรับผิดชอบหลักตองติดตามประมินผลสําเร็จในการนํานโยบายและ
แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. กําหนดกรอบการติดตามประเมินผล โดยสรางความเขาใจในสาระสําคัญของ
แนวทางการผลักดันนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
ไปสูการปฏิบัติ เปาหมายตัวชี้วัดและแนวทางการดําเนินงานแลวกําหนดประเด็นและตัวชี้วัดการประเมิน
แหลงขอมูล และเกณฑการเปรียบเทียบเพื่อใชในการวิเคราะหประเมินผลใหสะทอนกระบวน
การดําเนินงาน ผลผลิต และผลลัพธ
2. รวบรวมขอมูลภายใตกรอบการประเมินผล
2.1 ขอมูลปฐมภูมิที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม การระดมความคิดเห็น
การประชุมกลุมยอย การสัมภาษณเชิงลึกและกําหนดเครื่องมือการประเมิน อาทิ แบบสอบถาม
แบบบันทึกกิจกรรม แบบสัมภาษณ รวมทั้งกําหนดกลุมเปาหมายและพื้นที่จัดเก็บขอมูล ทั้งนี้ ตองมี
การทดสอบเครื่องมือกอนนําไปใชจริง
2.2 ขอมูลทุติยภูมิที่ไดจากเอกสารรายงานผลการดําเนินงานของหนวยงาน
และงานวิจัยประเมินผลที่เกี่ยวของ
3. ประมวลและวิเคราะหขอมูล
3.1 ประมวลและวิเคราะหผลภาคสนามจากการสํารวจหรือสอบถาม
3.2 สังเคราะหผลจากขอมูลทุติยภูมิ
4. จัดทํารายงานวิเคราะหผลจากการประมวลและวิเคราะหขอมูลในขั้นตอนที่ 3
จากนั้นสรุปเปนผลการประเมินและขอเสนอแนะ
5. นําเสนอรายงานผลการประเมินใหผูบริหารพิจารณาใหความเห็นชอบ
6. นําผลการประเมินไปปรับปรุงแนวทางการดําเนินงาน
 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี 
17
 คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ 
แผนภูมิที่ 2 : ผังแสดงโครงสรางการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
โครงการที่เปนภารกิจปกติของหนวยงาน
โดยมีการบูรณาการมิติการประชาสัมพันธตาม
ยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5
เพิ่มเติม
แผนปฏิบัติการหรือโครงการริเริ่มใหม ซึ่งเปน
การขับเคลื่อนและผลักดันงานประชาสัมพันธของชาติ
ตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5
ยุทธศาสตร/มาตรการ
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559 – 2564)
โครงการที่เกี่ยวของกับการประชาสัมพันธ
ตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5
หนวยงานกลาง
หนวยงานจังหวัด
หนวยงานพื้นที่
แผนปฏิบัติการกระทรวง
โครงการแผนงาน กิจกรรม
การติดตามประเมินผล
คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติสํานักนายกรัฐมนตรี
18
แนวทางการขับเคลื่อน 2559 2560 2561 2562 2563 2564
1. สรางความรูความเขาใจใหทุกภาคสวน
ตระหนัก ถึงความสําคัญและพรอม
เขารวมในการผลักดันนโยบายและ
แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559-2564) สูการปฏิบัติ
3. สรางสภาพแวดลอมใหเอื้อตอ
การขับเคลื่อนนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559-2564) ของภาคี
การประชาสัมพันธและสื่อสารมวลชน
(6) จัดสัมมนาสรางและพัฒนาเครือขายประชาสัมพันธภาครัฐและภาคเอกชน
(7) ศึกษาวิจัยเพื่อสรางองคความรู
และนําการวิจัยมาใชเปนเครื่องมือ
ในการพัฒนางานประชาสัมพันธและ
สื่อสารมวลชน
(7) ศึกษาวิจัยเพื่อสรางองคความรู
และนําการวิจัยมาใชเปนเครื่องมือ
ในการพัฒนางานประชาสัมพันธและ
สื่อสารมวลชน
(5) สงเสริมใหมีการนําการดําเนินงานตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปจัดทําตัวชี้วัดคํารับรองการปฏิบัติราชการระดับกระทรวง
2. สรางความเชื่อมโยงระหวางนโยบาย
และแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564)
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
นโยบายรัฐบาล และแผนระดับอื่นๆ
(4)ประสานการดําเนินงานเพื่อรวบรวมแผนปฏิบัติการประชาสัมพันธระดับกระทรวง กรม ที่สอดคลองกับนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
4. เสริมสรางบทบาทของทุกภาคสวนให
สามารถขับเคลื่อนนโยบายและแผน
การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2559-2564) ไดอยางมีประสิทธิภาพ
(2) จัดพิมพเพื่อเผยแพรนโยบาย
และแผนฯพรอมคูมือ
(3) จัดประชุมชี้แจงนโยบาย
และแผนฯ
(1) จัดทําคูมือการแปลง
นโยบายและแผนฯ
(11) จัดตั้งคณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ ระดับจังหวัด เพื่อจัดทําแผนประชาสัมพันธใหเหมาะสมกับแตและพื้นที่
และสอดคลองกับนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
(8)ปรับปรุงกฎหมายกฎระเบียบที่เกี่ยวของใหเอื้อตอการขับเคลื่อนนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2559-2564)
(9) จัดทําและพัฒนาระบบรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
(10) จัดฝกอบรมเพื่อใหความรูทางวิชาการและเสริมสรางทักษะใหกับผูปฏิบัติงานดานการประชาสัมพันธ
แผนที่นําทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5

Contenu connexe

Similaire à คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ร่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2574
ร่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2574ร่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2574
ร่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2574Boonlert Aroonpiboon
 
นโยบาย ภ.4
นโยบาย ภ.4นโยบาย ภ.4
นโยบาย ภ.4solomolree
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...Kosin Jind
 
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...Kanjana thong
 
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentเล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
ยุทธศาสตร์ฯ 55 59 [ฉบับผ่านบอร์ด]
ยุทธศาสตร์ฯ 55 59 [ฉบับผ่านบอร์ด]ยุทธศาสตร์ฯ 55 59 [ฉบับผ่านบอร์ด]
ยุทธศาสตร์ฯ 55 59 [ฉบับผ่านบอร์ด]สปสช นครสวรรค์
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
เทคนิคการวิเคราะห์เพื่อการอธิบายภาพรวมของเมือง
เทคนิคการวิเคราะห์เพื่อการอธิบายภาพรวมของเมืองเทคนิคการวิเคราะห์เพื่อการอธิบายภาพรวมของเมือง
เทคนิคการวิเคราะห์เพื่อการอธิบายภาพรวมของเมืองSarit Tiyawongsuwan
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-landps-most
 
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)Kanjana thong
 

Similaire à คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 (20)

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
 
ร่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2574
ร่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2574ร่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2574
ร่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2574
 
นโยบาย ภ.4
นโยบาย ภ.4นโยบาย ภ.4
นโยบาย ภ.4
 
Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8
 
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
 
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
 
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentเล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
 
ยุทธศาสตร์ฯ 55 59 [ฉบับผ่านบอร์ด]
ยุทธศาสตร์ฯ 55 59 [ฉบับผ่านบอร์ด]ยุทธศาสตร์ฯ 55 59 [ฉบับผ่านบอร์ด]
ยุทธศาสตร์ฯ 55 59 [ฉบับผ่านบอร์ด]
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
เทคนิคการวิเคราะห์เพื่อการอธิบายภาพรวมของเมือง
เทคนิคการวิเคราะห์เพื่อการอธิบายภาพรวมของเมืองเทคนิคการวิเคราะห์เพื่อการอธิบายภาพรวมของเมือง
เทคนิคการวิเคราะห์เพื่อการอธิบายภาพรวมของเมือง
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
 
Focus group-research experience
Focus group-research experienceFocus group-research experience
Focus group-research experience
 
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
 
แผนการดำเนินงาน2559
แผนการดำเนินงาน2559แผนการดำเนินงาน2559
แผนการดำเนินงาน2559
 
แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57
 

Plus de Satapon Yosakonkun

กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 Satapon Yosakonkun
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓Satapon Yosakonkun
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย ExcelSatapon Yosakonkun
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นSatapon Yosakonkun
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...Satapon Yosakonkun
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...Satapon Yosakonkun
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯSatapon Yosakonkun
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลSatapon Yosakonkun
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...Satapon Yosakonkun
 
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zoteroการทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : ZoteroSatapon Yosakonkun
 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...Satapon Yosakonkun
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่Satapon Yosakonkun
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsSatapon Yosakonkun
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardSatapon Yosakonkun
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์Satapon Yosakonkun
 
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zoteroการจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย ZoteroSatapon Yosakonkun
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social MediaSatapon Yosakonkun
 
NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013Satapon Yosakonkun
 

Plus de Satapon Yosakonkun (20)

กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
 
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zoteroการทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standards
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forward
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
 
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zoteroการจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
 
NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013
 
10 Technologies to Watch
10 Technologies to Watch 10 Technologies to Watch
10 Technologies to Watch
 

คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5

  • 1. คูมือ การแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี
  • 2.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี   คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  คํานํา คณะรัฐมนตรี ไดมีมติเมื่อวันอังคารที่ 6 ตุลาคม 2558 เห็นชอบและประกาศ ใหนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เปนยุทธศาสตร การประชาสัมพันธของประเทศ เพื่อใหหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนนําไปใชเปนแนวทาง ในการดําเนินงานดานการประชาสัมพันธตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2559 จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ จึงไดจัดทําคูมือการแปลงนโยบายและ แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 –2564) ไปสูการปฏิบัติขึ้น เพื่อใหหนวยงาน ภาครัฐทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และทองถิ่น รวมทั้งภาคีตาง ๆ ไดศึกษาและใชประกอบ การจัดทําแผนประชาสัมพันธของหนวยงานใหเปนไปในแนวทางที่สอดคลองกับยุทธศาสตร การประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เพื่อรวมกันผลักดันยุทธศาสตรการประชาสัมพันธไปสูการปฏิบัติใหเกิดผลเปนที่ประจักษ โดยกําหนดใหเปนสวนหนึ่งของแผนปฏิบัติการของกระทรวง กรม จังหวัดและกลุมจังหวัด องคกร ปกครองสวนทองถิ่น และยุทธศาสตรในภาคเอกชน พรอมทั้งพิจารณากําหนดเปาหมาย ตัวชี้วัด แนวทางและมาตรการที่ชัดเจนเปนกรอบในการจัดทําแผนงาน/โครงการของหนวยงานใหมี ความสอดคลองกัน ขณะเดียวกันสามารถใชคูมือฯ เปนกรอบการกํากับดูแลและติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานใหบรรลุผลตามที่กําหนด คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือฯ นี้จะเปน ประโยชนตอทุกภาคสวนในการนําไปใชเพื่อรวมกันขับเคลื่อนการปฏิบัติตามนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ใหเปนรูปธรรมตอไป คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ พฤศจิกายน 2558
  • 3.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี   คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  ก. 44 กวาง 5.5 หนา บทที่ 1 การใชประโยชนจากคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ 1 • เพราะเหตุใดจึงตองจัดทําคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ 2 • วัตถุประสงคของคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ 2 • คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติจะบอกอะไรแกเราบาง 2 • ใครควรศึกษาคูมือฯ เลมนี้ 3 • ประโยชนที่จะเกิดขึ้นจากคูมือฯ 4 • วิธีการใชคูมือฯ ใหเกิดประสิทธิภาพ 4 บทที่ 2 สาระสําคัญของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) 5 • นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) จะพาเราไปสูจุดหมายใดในอนาคต 6 • ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธ 7  ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธสรางความปรองดองของคนในชาติ 7  ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธนโยบายแหงรัฐ 7  ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในภาวะวิกฤต 8  ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธสงเสริมภาพลักษณประเทศสูประชาคมโลก 8  แผนภูมิที่ 1 ผังแสดงความสัมพันธของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) กับนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) 9 สารบัญ
  • 4.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี   คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  หนา บทที่ 3 การแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ 10 • ขั้นตอนการแปลงยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ.2559–2564)ไปสูแผนระดับตางๆ 11 • ลักษณะของแผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) 12 • องคประกอบของแผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) 13 • การบูรณาการแผนงาน โครงการ 14 • แนวทางการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป 15 • การติดตามประเมินผล 16 • แผนภูมิที่ 2 ผังแสดงโครงสรางการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ 17 • แผนที่นําทาง (Roadmap)การขับเคลื่อนนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) 18 บทที่ 4 ยุทธศาสตร มาตรการ และหนวยงานที่เกี่ยวของในการนํานโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ 20 • หนวยงานรับผิดชอบยุทธศาสตรการประชาสัมพันธตามนโยบายและ แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) 21 ภาคผนวก 42  ความสอดคลองระหวางนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) กับรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ..... นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ทิศทางยุทธศาสตรชาติ และ ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 43  แบบฟอรมที่ 1 แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธ ระยะ 6 ป  ตัวอยางแบบฟอรมที่ 1 แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธระยะ 6 ป 48 49
  • 5.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี   คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  หนา  แบบฟอรมที่ 2 - แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธประจําป (แนวตั้ง) 51 - แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธประจําป (แนวนอน) 52  ตัวอยางแบบฟอรมที่ 2 - แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธประจําป (แนวตั้ง) 53 - แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธประจําป (แนวนอน)  แบบฟอรมที่ 3 รายงานผลการดําเนินงาน (รายไตรมาส) 58 60  ตัวอยางแบบฟอรมที่ 3 รายงานผลการดําเนินงาน (รายไตรมาส) 61  คํายอหนวยงาน 63  รายชื่อผูจัดทําคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ 65
  • 6.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  1  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  1. เพราะเหตุใดจึงตองจัดทําคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ บทที่ 1 การใชประโยชนจากคูมือการแปลงนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ การดําเนินงานดานการประชาสัมพันธของประเทศที่ผานมา ถึงแมวาหนวยงาน ภาครัฐและภาคเอกชนจะสามารถกําหนดทิศทาง เปาหมาย แนวทางและดําเนินการ ประชาสัมพันธได แตการดําเนินงานประชาสัมพันธของทุกหนวยงานยังไมสอดคลองและไมเปนไป ในทิศทางเดียวกัน การปฏิบัติงานดานการประชาสัมพันธของประเทศยังตองปรับปรุงใหเกิด ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้น กรมประชาสัมพันธในฐานะฝายเลขานุการคณะกรรมการ ประชาสัมพันธแหงชาติ จึงกําหนดให “การขับเคลื่อนนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ”เปนกระบวนการสําคัญที่ตองผลักดันใหสังคมรับรู เขาใจและตระหนักถึงภารกิจและความรับผิดชอบรวมกันในการใชการประชาสัมพันธ เปนเครื่องมือในการพัฒนาประเทศ จึงไดจัดทํา “คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ” ขึ้น เพื่อใหทุกภาคสวนไดศึกษาทําความเขาใจ วิธีการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) สูแผนระดับตาง ๆ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศใหบรรลุเปาหมายที่คาดหวังไว กรมประชาสัมพันธในฐานะฝายเลขานุการคณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ จัดทําคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ เพื่อสรางความตระหนักรูแกทุกคนวา 1.1 นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เปนแผนของคนไทยทุกคน 1.2 นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เปนแผนที่ทุกคนไดประโยชน 1.3 นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เปนแผนที่อยูบนพื้นฐานความจริงและแปลงสูการปฏิบัติได
  • 7.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  2  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  2. วัตถุประสงคของคูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ 3. คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ จะบอกอะไรแกเราบาง 2.1 คูมือฯ มุงสรางความรู ความเขาใจถึงวิธีการที่จะนําสาระสําคัญและยุทธศาสตร การประชาสัมพันธของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ที่เปนนามธรรม ไปแปลงสูการปฏิบัติที่เปนรูปธรรมใหแกหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สื่อมวลชน และหนวยงาน องคกรตาง ๆ ทุกระดับ ตั้งแตหนวยงานที่กํากับดูแลนโยบายของประเทศจนถึง หนวยงานระดับปฏิบัติการ ทั้งในสวนกลาง สวนภูมิภาค องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจน ภาคธุรกิจเอกชน ชุมชนตาง ๆ และผูที่เกี่ยวของ 2.2 คูมือฯ จะอธิบายวิธีการที่นํายุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปเชื่อมโยงกับแผนงานในความรับผิดชอบ ของแตละหนวยงาน ไมวาจะเปนแผนยุทธศาสตรของหนวยงานดานนโยบาย แผนยุทธศาสตรของ กระทรวง กรม รัฐวิสาหกิจ แผนพัฒนาของจังหวัด/กลุมจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถิ่น และ ชุมชน รวมทั้งแผนปฏิบัติการ แผนงาน/โครงการของหนวยงานตาง ๆ ดวย 2.3 คูมือฯ มุงอธิบายวิธีการสรางระบบการติดตามประเมินผลสําเร็จของการดําเนินงาน ตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ที่เปดโอกาสให ทุกคนในสังคมมีสวนรวมอยางเต็มที่ คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ แบงการนําเสนอเปน 5 สวน ไดแก สวนที่ 1 การใชประโยชนจากคูมือฯ อธิบายถึงวัตถุประสงคของการจัดทําคูมือฯ เลมนี้ รวมทั้งกลุมเปาหมายและ ประโยชนที่แตละกลุมจะไดรับและวิธีใชคูมือฯ ใหเกิดประสิทธิภาพ สวนที่ 2 สรุปสาระสําคัญของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)
  • 8.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  3  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  4. ใครควรศึกษาคูมือฯ เลมนี้ อธิบายวา นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) จะพาเราไปสูจุดหมายใดในอนาคต ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธ มีเรื่องใดบางที่ตองเรงผลักดันในชวง 6 ปของแผน สวนที่ 3 การแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ แตละหนวยงานตองทําอยางไร นําเสนอใหเห็นถึงวิธีการที่จะแปลงนโยบายและแผนฯ ใหนําไปใชไดจริง สวนที่ 4 ยุทธศาสตร มาตรการและหนวยงานที่เกี่ยวของในการนํานโยบาย และแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ นําเสนอใหเห็นวา ในแตละยุทธศาสตร มาตรการ มีหนวยงานใดบางที่เกี่ยวของ และสามารถนํานโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ สวนที่ 5 ภาคผนวก นําเสนอใหเห็นตัวอยางของการจัดทําแผนปฏิบัติการประชาสัมพันธระยะ 6 ป (พ.ศ. 2559 –2564) แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธประจําป รายงานผลการดําเนินงาน (รายไตรมาส) และแบบฟอรมตางๆที่เกี่ยวของ 4.1 หนวยงานภาครัฐ ไดแก หนวยงานราชการระดับกระทรวง ระดับกรม รัฐวิสาหกิจ หนวยงานในสังกัดกระทรวงที่มีสํานักงานในตางจังหวัด อาทิ ประชาสัมพันธจังหวัด พาณิชยจังหวัด หนวยงานในสวนภูมิภาค อาทิ จังหวัด/กลุมจังหวัด หนวยงานระดับอําเภอ 4.2 องคกรอิสระ องคกรมหาชน อาทิ องคกรดานการทองเที่ยว เปนตน 4.3 องคกรปกครองสวนทองถิ่น อาทิ องคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหาร สวนตําบล เทศบาล รวมทั้งองคปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษอื่น อาทิ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา 4.3 หนวยงานดานสื่อมวลชน อาทิ สมาคม/ชมรมวิชาชีพ 4.4 หนวยงานภาควิชาการ อาทิ สถาบันการศึกษา สถาบัน/องคกรดานวิชาการตาง ๆ 4.5 หนวยงานภาคเอกชน อาทิ สภาหอการคา สมาคมธุรกิจ
  • 9.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  4  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  5. ประโยชนที่จะเกิดขึ้นจากคูมือฯ 6. วิธีการใชคูมือฯ ใหเกิดประสิทธิภาพ หนวยงานภาครัฐ สวนราชการตาง ๆ สวนทองถิ่น รวมถึงภาคธุรกิจเอกชน โรงเรียน มหาวิทยาลัย และประชาชนทั่วไปที่สนใจ มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการที่จะนํานโยบายและ แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ. 2559 –2564) ไปใชงานในทางปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม สอดคลองกับบทบาทภารกิจและอํานาจหนาที่ของแตละหนวยงาน นอกจากนี้ หนวยงานขางตนยังได ทราบถึงวิธีการวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ. 2559 –2564) เพื่อที่จะสามารถคนหาปญหาอุปสรรคในกระบวนการผลักดันนโยบาย และแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ. 2559 –2564) ไปสูการปฏิบัติและนํากลับมาใช ในการปรับปรุงการดําเนินงานตอไป คูมือฯ นี้จะแนะนําวิธีการแปลงยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ. 2559 –2564) รวมถึงการอธิบายวา ในแตละยุทธศาสตรมี หนวยงานใดเกี่ยวของบาง ดังนั้นเพื่อใหผูอานเขาใจวิธีการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติไดอยางชัดเจน จึงขอใหผูเกี่ยวของศึกษาคูมือฯ นี้ตามลําดับ ดังนี้ 1. ทําความเขาใจกับสาระสําคัญของแนวคิด ทิศทางการประชาสัมพันธ วิสัยทัศน เปาหมายพันธกิจยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) อยางถองแท 2. ตรวจสอบภารกิจที่หนวยงานของตนเองรับผิดชอบวา สอดคลองกับยุทธศาสตร การประชาสัมพันธของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ในเรื่องใด รวมทั้งทําความเขาใจกับยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ที่ตองนําไปปฏิบัติ รวมถึงตองพิจารณาถึงความเชื่อมโยงระหวาง ภารกิจของหนวยงานตนเองกับหนวยงานอื่นควบคูไปดวยโดยตองตระหนักอยูเสมอวา“การประชาสัมพันธ ที่จะเปนประโยชนกับทุกคน คือการประชาสัมพันธที่ตองมองทุกอยางเกี่ยวของกัน” 3. ทําความเขาใจกับขั้นตอน วิธีการและบทบาทของหนวยงานตาง ๆ เพื่อนําไปใช ประกอบการจัดทําแผนในความรับผิดชอบ ไมวาจะเปนแผนปฏิบัติการ แผนงาน/โครงการ รวมทั้ง ทําความเขาใจวิธีการติดตามและประเมินผลนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ดวย
  • 10.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  5  คูมือแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไปสูการปฏิบัติ  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  บทที่ 2 สาระสําคัญของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เปน แผนยุทธศาสตรการประชาสัมพันธของประเทศที่กําหนดทิศทางการประชาสัมพันธในระยะปานกลาง ในชวงเวลา 6 ป คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติไดกําหนดนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ขึ้นภายใตการบริหารประเทศของคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) โดยใชนโยบายของคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) นโยบายรัฐบาล พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีที่ไดแถลงตอสภานิติบัญญัติแหงชาติ เมื่อวันศุกรที่ 12 กันยายน 2557 ประเด็นการปฏิรูปของสภาปฏิรูปแหงชาติ 11 ดานตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว (พ.ศ. 2557) ทิศทางยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป และทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เปนกรอบแนวทางในการจัดทํายุทธศาสตรการประชาสัมพันธ และไดใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสื่อมวลชน เพื่อรวมกัน กําหนดวิสัยทัศนและทิศทางการประชาสัมพันธ รวมทั้งรวมจัดทํารายละเอียดของนโยบายและ แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เพื่อมุงสูวิสัยทัศนรวมกัน ดังนี้ การจัดทํานโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5(พ.ศ.2559–2564) ไดยึดวิสัยทัศนนี้ เปนหลักควบคูไปกับหลักการสําคัญ ประกอบดวย  การพัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและขับเคลื่อนให เกิดผลในทางปฏิบัติ  ใหความสําคัญกับการเปดโอกาสใหทุกภาคสวนไดมีสวนรวม “การประชาสัมพันธที่ทุกภาคสวนมีสวนรวม ไดรับขอมูลขาวสารอยางทั่วถึง เพื่อใหเกิด ความเขาใจและทัศนคติที่ดีตอกัน สรางสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรูและ สรางภาพลักษณที่ดีของชาติในสายตาของประชาคมโลก”
  • 11.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  6  คูมือแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไปสูการปฏิบัติ  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  1. นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) จะพาเราไปสูจุดหมายใดในอนาคต  ประชาชนไดรับขอมูลขาวสารที่ถูกตอง รวดเร็ว ทันตอเหตุการณและ สามารถนําไปเปนแนวทางปฏิบัติไดจริง  ใหความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่รวดเร็ว การพัฒนาประเทศสูความสมดุลและยั่งยืนโดยใชการประชาสัมพันธเปนเครื่องมือ ในระยะ 6 ป ของนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) จําเปนตองกําหนดวิสัยทัศน เปาหมาย และพันธกิจ เพื่อใหทุกภาคสวนที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน ประชาสัมพันธสามารถสงเสริมสนับสนุนและเปนแรงผลักดันใหการพัฒนาประเทศบรรลุเปาหมาย ที่กําหนดไวได 1.1 วิสัยทัศน “การประชาสัมพันธที่ทุกภาคสวนมีสวนรวม ไดรับขอมูลขาวสารอยางทั่วถึง เพื่อใหเกิดความเขาใจและทัศนคติที่ดีตอกัน สรางสังคมแหงภูมิปญญาและ การเรียนรู และสรางภาพลักษณที่ดีของชาติในสายตาของประชาคมโลก” 1.2 เปาหมาย  ประชาชนเกิดความเขาใจ ยอมรับ ใหความรวมมือในการสรางความปรองดอง ของคนในชาติ  หนวยงานและภาคสวนที่เกี่ยวของรวมทั้งประชาชน ไดรับขอมูลขาวสารที่ ถูกตอง และเกิดทัศนคติที่ดี โดยใหความรวมมือกับหนวยงานของรัฐ  ประชาชนไดรับขอมูลขาวที่ถูกตอง รวดเร็ว ทันตอเหตุการณ เมื่อเกิด สถานการณฉุกเฉินหรือภาวะวิกฤตและสามารถนําไปเปนแนวทางปฏิบัติไดจริง  ประเทศไทยมีภาพลักษณที่ดีและไดรับการยอมรับจากประชาคมโลก 1.3 พันธกิจ กําหนดนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ และขับเคลื่อนสูการปฏิบัติ
  • 12.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  7  คูมือแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไปสูการปฏิบัติ  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  2.1 ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธสรางความปรองดองของคนในชาติ 2. ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธแหงชาติ 2.2 ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธนโยบายแหงรัฐ ธศาสตร์การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาประเทศโดยใชการประชาสัมพันธเปนเครื่องมือภายใตกระแสการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ปรับเปลี่ยนอยางรวดเร็ว คาดการณไดยากและซับซอนมากยิ่งขึ้น จําเปนที่จะตองกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการประชาสัมพันธที่เหมาะสม โดยเรงสราง ภูมิคุมกันเพื่อปองกันปจจัยเสี่ยง และเสริมรากฐานของประเทศในดานตางๆ ใหเขมแข็ง สรางโอกาส ใหประชาชนไดเขาถึงและไดรับประโยชนจากขอมูลขาวสารอยางเทาเทียมและเปนธรรม สงเสริม กระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน บนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล นําไปสูการพัฒนา ประเทศใหบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไว ซึ่งยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและ แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) มีดังนี้ มุงสรางความรู ความเขาใจ และรับรูเปาหมายของการพัฒนาชาติ มองเห็นหลักชัย หรือจุดหมายปลายทางของประเทศรวมกัน ยอมรับความคิดเห็นที่แตกตาง คิดอยางมีเหตุผล ยึดหลัก ผลประโยชนของชาติเปนสําคัญ โดยใชวิธีการสันติ หลีกเลี่ยงการใชความรุนแรง รวมทั้งฟนฟูระเบียบ สังคมและเปนธรรมแกทุกฝาย ตลอดจนสนับสนุนองคกรตามรัฐธรรมนูญใหมีสวนรวมในการสราง ความปรองดองสมานฉันทภายใตกรอบของบทบาทอํานาจหนาที่ขององคกร มุงประชาสัมพันธใหประชาชนรับรู เขาใจและใหความรวมมือกับรัฐบาลในการบริหารประเทศ ตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ รวมทั้งเรื่องที่เปนวาระแหงชาติ โดยแสวงหาความรวมมือจากสื่อมวลชน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อสรางและพัฒนาเครือขายประชาสัมพันธทุกระดับ ทั้งนี้ เพื่อนําไปสูความรวมมือในการพัฒนาประเทศรวมกัน
  • 13.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  8  คูมือแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไปสูการปฏิบัติ  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  2.3 ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในภาวะวิกฤต 2.4 ยุทธศาสตรประชาสัมพันธสงเสริมภาพลักษณประเทศสูประชาคมโลก มุงเตรียมประชาชนใหพรอมรับการเผชิญกับวิกฤตการณตาง ๆ ทั้งดานการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ สาธารณภัย ภัยจากธรรมชาติ ภัยจากการกอการราย การกอวินาศกรรม การชุมนุมประทวง กอการจลาจล เปนตน โดยใหความสําคัญกับการบริหารจัดการขอมูลขาวสาร ที่ถูกตอง รวดเร็ว ประชาชนมีความเทาทันตอขาวสารและเหตุการณที่เกิดขึ้น สามารถแยกแยะ ขอเท็จจริงออกจากความคิดเห็นหรืออารมณที่อาจไมสะทอนสถานการณจริง รวมทั้งมุงการพัฒนาและ เสริมสรางการบริหารจัดการขอมูลขาวสารของหนวยงานรัฐ ในหวงสถานการณฉุกเฉินหรือภาวะวิกฤต ไดอยางมีเอกภาพ มุงสงเสริมความรวมมือระหวางหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสวนที่เกี่ยวของ ในการสรางภาพลักษณที่ดีของประเทศไทยสูประชาคมโลกโดยเนนการสรางความเปนมิตรกับทุกประเทศ เสริมสรางความสัมพันธและความรวมมือกับกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งใหความสําคัญ กับการเสริมสรางการรับรูขาวสารที่ถูกตอง เพื่อสรางภาพลักษณที่ดีของประเทศใหเปนที่ยอมรับใน ประชาคมโลก
  • 14.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  9  คูมือแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไปสูการปฏิบัติ  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  แผนภูมิที่ 1 : ผังแสดงความสัมพันธของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) กับนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) และแผนปฏิบัติการในระดับตางๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) นโยบายและแผน แมบทกระทรวง แผนปฏิบัติการกระทรวง แผนปฏิบัติการกรม แผนปฏิบัติการระดับจังหวัด แผนปฏิบัติการระดับพื้นที่ แผนปฏิบัติการระดับชุมชน
  • 15.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  10  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  บทที่ 3 การแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เปนแผนยุทธศาสตรการประชาสัมพันธของประเทศที่เปนจุดเปลี่ยนสําคัญในการดําเนินงาน เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่รวดเร็ว ซึ่งทําใหเกิดชองทาง การสื่อสารรูปแบบใหม ๆ ดังนั้น จึงตองขับเคลื่อนนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ใหเกิดประสิทธิภาพโดยใชโอกาสของการเปลี่ยนแปลงดาน เทคโนโลยีสารสนเทศที่สอดคลองกับวิถีชีวิตของประชาชนในปจจุบันและความรวมมือจากทุกฝาย ที่เกี่ยวของ ซึ่งการนํานโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปดําเนินการใหเกิดผลเปนรูปธรรมตองยึดหลักการ ดังนี้ ความสอดคลองกับสภาพสังคม หลักการพัฒนาพื้นที่ ภารกิจของหนวยงานและ การมีสวนรวม ใชความรู เทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสรางสรรคเปนเครื่องมือในการดําเนินการ 1. 2. ใชจังหวัดเปนหนวยงานกลางดําเนินการประชาสัมพันธในระดับพื้นที่และเปนจุด เชื่อมโยงการประชาสัมพันธจากสวนกลางสูสวนภูมิภาคเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและ แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ในระดับพื้นที่ เนนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน สรางกระบวนการทํางานรวมกันในรูปแบบเครือขาย 3. 4.
  • 16.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  11  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  ขั้นตอนการแปลงยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูแผนระดับตาง ๆ 1. ศึกษารวบรวมขอมูลเพื่อวิเคราะหสถานการณการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่เกี่ยวของกับ ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธเฉพาะที่อยูในความรับผิดชอบ เพื่อนําผลการวิเคราะหมากําหนด รายละเอียดในการดําเนินงาน 2. เชื่อมโยงรายละเอียดกับทิศทางการประชาสัมพันธ วิสัยทัศน เปาหมายและรายละเอียด มาตรการของยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) 3. หนวยงานเจาภาพยุทธศาสตร ประสานหนวยงานรวมรับผิดชอบจัดทําแผนปฏิบัติการรวม เพื่อเปนแนวทางการผลักดันยุทธศาสตรการประชาสัมพันธไปปฏิบัติ โดยกําหนดวัตถุประสงค เปาหมาย กิจกรรม ตัวชี้วัด งบประมาณ ระยะเวลาดําเนินการและระบุหนวยงานรับผิดชอบที่ชัดเจน 4. หนวยงานรวมรับผิดชอบยุทธศาสตร นําประเด็นที่รับผิดชอบภายใตแผนปฏิบัติการรวม แปลงสูแผนปฏิบัติราชการของหนวยงาน แผนพัฒนาจังหวัด/กลุมจังหวัด แผนทองถิ่น แผนชุมชน แผนธุรกิจ โดยใชแผนปฏิบัติการรวมเปนกรอบในการกําหนดแผนงาน โครงการ ที่มีเปาหมายและตัวชี้วัดความสําเร็จ พรอมทั้งกําหนดผูรับผิดชอบใหชัดเจน 5. กําหนดแนวทางการติดตามประเมินผลการดําเนินงานภายใตแผนปฏิบัติการรวม โดยยึดเปาหมาย ผลผลิต ผลลัพธ ตลอดจนตัวชี้วัดความสําเร็จเปนกรอบในการติดตามประเมินผล 6. หนวยงานรวมรับผิดชอบยุทธศาสตร ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการของหนวยงาน 7. รายงานผลการดําเนินงานตอหนวยงานเจาภาพ 8. หนวยงานเจาภาพประมวลภาพรวม 11. ปรับปรุงการดําเนินงาน 9. สงใหกรมประชาสัมพันธเสนอ คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ (กปช.)10. เสนอคณะรัฐมนตรี
  • 17.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  12  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  ลักษณะของแผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) แผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) จะตองเปนไปตามแนวคิดและทิศทางการประชาสัมพันธที่กําหนดไว ในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ซึ่งใหความสําคัญ กับการเตรียมพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศที่มีผลกระทบตอ ประเทศไทยเพื่อสรางภูมิคุมกันของประเทศใหเขมแข็งภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีทิศทางการประชาสัมพันธ เพื่อสรางความปรองดองของคนในชาติมุงประชาสัมพันธให ประชาชนรับรู เขาใจและใหความรวมมือกับรัฐบาล ในการบริหารประเทศ ประชาชนมีความเทาทันตอ ขาวสารในภาวะวิกฤต รวมทั้งการประชาสัมพันธบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลก จากแนวคิดและทิศทางการประชาสัมพันธดังกลาว สามารถนํามาใชในการแปลงนโยบาย และแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการจัดทําแผนปฏิบัติการ หรือโครงการของแตละหนวยงานใหสอดคลองกับยุทธศาสตรการประชาสัมพันธที่กําหนดไว โดยแผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) มีลักษณะ ดังนี้ 1. แผนปฏิบัติการหรือโครงการที่เกี่ยวของกับการประชาสัมพันธตามยุทธศาสตร ในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ที่แตละหนวยงาน มีการดําเนินการอยูแลวในปจจุบัน 2. แผนปฏิบัติการหรือโครงการที่เปนภารกิจปกติของหนวยงานโดยมีการบูรณาการ มิติการประชาสัมพันธตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) เพิ่มเติม 3. แผนปฏิบัติการหรือโครงการริเริ่มใหม ซึ่งเปนแผนปฏิบัติการหรือโครงการ เพื่อขับเคลื่อนและผลักดันงานประชาสัมพันธของชาติตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ทั้งนี้ แผนปฏิบัติการหรือโครงการของแตละหนวยงานตองใหความสําคัญ ดังนี้ 1. การใชโอกาสของการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่สอดคลองกับวิถี ชีวิตของประชาชนในปจจุบันเปนชองทางการเผยแพรขอมูลขาวสารและบริการของภาครัฐ อาทิ รูปแบบของ Mobile Applications และศูนยกลางแอปพลิเคชั่นภาครัฐ (Government Application
  • 18.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  13  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  องคประกอบของแผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) Center : GAC) ซึ่งสามารถดาวนโหลด GAC ไดจากอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ ซึ่งอาจแตกตางกันไป ในแตละระบบปฏิบัติการ 2. ใหความสําคัญกับการกําหนดงบประมาณใหสอดคลองกับแผนงาน โครงการ กิจกรรม โดยพิจารณาเสนอขอตั้งงบประมาณรายจายประจําปตอสํานักงบประมาณตามความ จําเปนและเหมาะสม สําหรับการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ซึ่งเปนปแรกของ การดําเนินงานตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) สํานักงบประมาณไดขอใหกระทรวงหรือหนวยงานพิจารณาปรับแผนการปฏิบัติงานและ แผนการใชจายงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ของกระทรวงหรือหนวยงาน มาดําเนินการ แผนปฏิบัติการหรือโครงการภายใตนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ประกอบดวยสาระสําคัญ ดังนี้ 1. หลักการและเหตุผลในการจัดทําแผนปฏิบัติการหรือโครงการ 2. วัตถุประสงคของแผนปฏิบัติการหรือโครงการ 3. ภารกิจหลักของหนวยงาน ซึ่งเปนภารกิจที่ตองดําเนินการตามหนาที่ความรับผิดชอบ ของกระทรวงและภารกิจที่เกี่ยวของกับยุทธศาสตรในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) 4. ตัวชี้วัดความสําเร็จของแผนปฏิบัติการหรือโครงการ 5. กิจกรรมและงบประมาณ 6. ระยะเวลาดําเนินการ 7. กลุมเปาหมาย 8. การติดตาม ประเมินผล โดยระบุวิธีดําเนินการเพื่อใหทราบถึงความกาวหนา ปญหา อุปสรรคของการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการหรือโครงการ 9. ผลที่คาดวาจะไดรับ 10. หนวยงานรับผิดชอบ
  • 19.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  14  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  การบูรณาการแผนงาน โครงการ 1. ระดับสวนกลาง คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ (กปช.) สนับสนุนใหหนวยงานระดับ กระทรวงนํายุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปเปนกรอบแนวทางการจัดทําแผนยุทธศาสตรกระทรวง ซึ่งยุทธศาสตร กระทรวงจะเปนกรอบสําหรับการจัดทําแผนปฏิบัติการของหนวยงานระดับกรม รวมทั้งหนวยงาน ของกระทรวงในภูมิภาคดวยเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปในทิศทางเดียวกัน 2. ระดับจังหวัด การบูรณาการในระดับจังหวัด ใหแตงตั้งคณะกรรมการประชาสัมพันธ แหงชาติระดับจังหวัด (กปช.จังหวัด) ประกอบดวยผูวาราชการจังหวัดเปนประธาน โดยมีหัวหนา สวนราชการหรือผูแทนจากกระทรวงหรือหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่ ของจังหวัด เปนกรรมการ ประชาสัมพันธจังหวัดเปนเลขานุการ ผูชวยประชาสัมพันธจังหวัด เปนผูชวยเลขานุการ โดยมีอํานาจหนาที่จัดทํา บูรณาการ ประสานงาน และดําเนินการตาม แผนงาน โครงการของจังหวัดใหสอดคลองกับยุทธศาสตรในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ แหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) และจัดทํารายงานผลการดําเนินงานสงใหฝายเลขานุการ คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ (สํานักพัฒนานโยบายและแผนการประชาสัมพันธ กรมประชาสัมพันธ) เพื่อนําเสนอคณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติตอไป 3. ระดับพื้นที่ การบูรณาการในระดับพื้นที่ การจัดทําแผนปฏิบัติการในระดับพื้นที่หรือ ทองถิ่นนั้น หนวยงานในระดับพื้นที่สามารถจัดทําแผนปฏิบัติการหรือโครงการตามแนวทาง การจัดการแบบพื้นที่โดยคํานึงถึงความตองการของพื้นที่ ภารกิจและสรางการมีสวนรวมของ ประชาชน โดยสามารถจัดตั้งคณะทํางานระดับทองถิ่นเพื่อทําหนาที่ประสานการดําเนินงานให เชื่อมโยงสอดคลองกับแผนปฏิบัติการของจังหวัดและกระทรวงตอไป
  • 20.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  15  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  แนวทางการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป การเสนองบประมาณประจําปของสวนราชการเพื่อใหสามารถขับเคลื่อน ยุทธศาสตรการประชาสัมพันธในนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไดสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว สวนราชการทุกกระทรวงตองจัดทําแผน ยุทธศาสตรกระทรวงโดยเชื่อมโยงยุทธศาสตรการประชาสัมพันธใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2558 – 2577) นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) โดยมีแนวทาง ดังนี้ 1. ใหความสําคัญกับการจัดทํางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร ที่สอดคลอง เชื่อมโยง สนับสนุนซึ่งกันและกัน เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ คุมคาและไมซ้ําซอนกัน 2. ใหกําหนดเปาหมาย กลยุทธ ผลผลิต กิจกรรม และตัวชี้วัดความสําเร็จ ที่ชัดเจน สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ นโยบายรัฐบาล ภารกิจของหนวยงาน 3. ใหจัดทําแผนปฏิบัติการและแผนการใชจายงบประมาณที่ชัดเจนในขั้นตอน การจัดทําคําของบประมาณโดยพิจารณาถึงความพรอม ขีดความสามารถในการใชจายงบประมาณ และแหลงเงินเพื่อใหสามารถดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว 4. ใหมีการบูรณาการงบประมาณในระดับพื้นที่ โดยสวนราชการและหนวยงานที่ เกี่ยวของตองมีการบูรณาการการจัดทํางบประมาณรวมกับจังหวัด กลุมจังหวัด เพื่อใหมีความสอดคลอง กับแผนพัฒนาจังหวัด กลุมจังหวัด
  • 21.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  16  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผลเปนขั้นตอนที่สําคัญในกระบวนการวางแผน กระทรวงและ หนวยงานที่เปนหนวยงานรับผิดชอบหลักตองติดตามประมินผลสําเร็จในการนํานโยบายและ แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. กําหนดกรอบการติดตามประเมินผล โดยสรางความเขาใจในสาระสําคัญของ แนวทางการผลักดันนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ เปาหมายตัวชี้วัดและแนวทางการดําเนินงานแลวกําหนดประเด็นและตัวชี้วัดการประเมิน แหลงขอมูล และเกณฑการเปรียบเทียบเพื่อใชในการวิเคราะหประเมินผลใหสะทอนกระบวน การดําเนินงาน ผลผลิต และผลลัพธ 2. รวบรวมขอมูลภายใตกรอบการประเมินผล 2.1 ขอมูลปฐมภูมิที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม การระดมความคิดเห็น การประชุมกลุมยอย การสัมภาษณเชิงลึกและกําหนดเครื่องมือการประเมิน อาทิ แบบสอบถาม แบบบันทึกกิจกรรม แบบสัมภาษณ รวมทั้งกําหนดกลุมเปาหมายและพื้นที่จัดเก็บขอมูล ทั้งนี้ ตองมี การทดสอบเครื่องมือกอนนําไปใชจริง 2.2 ขอมูลทุติยภูมิที่ไดจากเอกสารรายงานผลการดําเนินงานของหนวยงาน และงานวิจัยประเมินผลที่เกี่ยวของ 3. ประมวลและวิเคราะหขอมูล 3.1 ประมวลและวิเคราะหผลภาคสนามจากการสํารวจหรือสอบถาม 3.2 สังเคราะหผลจากขอมูลทุติยภูมิ 4. จัดทํารายงานวิเคราะหผลจากการประมวลและวิเคราะหขอมูลในขั้นตอนที่ 3 จากนั้นสรุปเปนผลการประเมินและขอเสนอแนะ 5. นําเสนอรายงานผลการประเมินใหผูบริหารพิจารณาใหความเห็นชอบ 6. นําผลการประเมินไปปรับปรุงแนวทางการดําเนินงาน
  • 22.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  17  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  แผนภูมิที่ 2 : ผังแสดงโครงสรางการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ โครงการที่เปนภารกิจปกติของหนวยงาน โดยมีการบูรณาการมิติการประชาสัมพันธตาม ยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5 เพิ่มเติม แผนปฏิบัติการหรือโครงการริเริ่มใหม ซึ่งเปน การขับเคลื่อนและผลักดันงานประชาสัมพันธของชาติ ตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5 ยุทธศาสตร/มาตรการ นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) โครงการที่เกี่ยวของกับการประชาสัมพันธ ตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5 หนวยงานกลาง หนวยงานจังหวัด หนวยงานพื้นที่ แผนปฏิบัติการกระทรวง โครงการแผนงาน กิจกรรม การติดตามประเมินผล
  • 23.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  16  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผลเปนขั้นตอนที่สําคัญในกระบวนการวางแผน กระทรวงและ หนวยงานที่เปนหนวยงานรับผิดชอบหลักตองติดตามประมินผลสําเร็จในการนํานโยบายและ แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. กําหนดกรอบการติดตามประเมินผล โดยสรางความเขาใจในสาระสําคัญของ แนวทางการผลักดันนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ เปาหมายตัวชี้วัดและแนวทางการดําเนินงานแลวกําหนดประเด็นและตัวชี้วัดการประเมิน แหลงขอมูล และเกณฑการเปรียบเทียบเพื่อใชในการวิเคราะหประเมินผลใหสะทอนกระบวน การดําเนินงาน ผลผลิต และผลลัพธ 2. รวบรวมขอมูลภายใตกรอบการประเมินผล 2.1 ขอมูลปฐมภูมิที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม การระดมความคิดเห็น การประชุมกลุมยอย การสัมภาษณเชิงลึกและกําหนดเครื่องมือการประเมิน อาทิ แบบสอบถาม แบบบันทึกกิจกรรม แบบสัมภาษณ รวมทั้งกําหนดกลุมเปาหมายและพื้นที่จัดเก็บขอมูล ทั้งนี้ ตองมี การทดสอบเครื่องมือกอนนําไปใชจริง 2.2 ขอมูลทุติยภูมิที่ไดจากเอกสารรายงานผลการดําเนินงานของหนวยงาน และงานวิจัยประเมินผลที่เกี่ยวของ 3. ประมวลและวิเคราะหขอมูล 3.1 ประมวลและวิเคราะหผลภาคสนามจากการสํารวจหรือสอบถาม 3.2 สังเคราะหผลจากขอมูลทุติยภูมิ 4. จัดทํารายงานวิเคราะหผลจากการประมวลและวิเคราะหขอมูลในขั้นตอนที่ 3 จากนั้นสรุปเปนผลการประเมินและขอเสนอแนะ 5. นําเสนอรายงานผลการประเมินใหผูบริหารพิจารณาใหความเห็นชอบ 6. นําผลการประเมินไปปรับปรุงแนวทางการดําเนินงาน
  • 24.  คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี  17  คูมือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) ไปสูการปฏิบัติ  แผนภูมิที่ 2 : ผังแสดงโครงสรางการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ โครงการที่เปนภารกิจปกติของหนวยงาน โดยมีการบูรณาการมิติการประชาสัมพันธตาม ยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5 เพิ่มเติม แผนปฏิบัติการหรือโครงการริเริ่มใหม ซึ่งเปน การขับเคลื่อนและผลักดันงานประชาสัมพันธของชาติ ตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5 ยุทธศาสตร/มาตรการ นโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) โครงการที่เกี่ยวของกับการประชาสัมพันธ ตามยุทธศาสตรในนโยบายและแผนฯ ฉบับที่ 5 หนวยงานกลาง หนวยงานจังหวัด หนวยงานพื้นที่ แผนปฏิบัติการกระทรวง โครงการแผนงาน กิจกรรม การติดตามประเมินผล
  • 25. คณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติสํานักนายกรัฐมนตรี 18 แนวทางการขับเคลื่อน 2559 2560 2561 2562 2563 2564 1. สรางความรูความเขาใจใหทุกภาคสวน ตระหนัก ถึงความสําคัญและพรอม เขารวมในการผลักดันนโยบายและ แผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) สูการปฏิบัติ 3. สรางสภาพแวดลอมใหเอื้อตอ การขับเคลื่อนนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ของภาคี การประชาสัมพันธและสื่อสารมวลชน (6) จัดสัมมนาสรางและพัฒนาเครือขายประชาสัมพันธภาครัฐและภาคเอกชน (7) ศึกษาวิจัยเพื่อสรางองคความรู และนําการวิจัยมาใชเปนเครื่องมือ ในการพัฒนางานประชาสัมพันธและ สื่อสารมวลชน (7) ศึกษาวิจัยเพื่อสรางองคความรู และนําการวิจัยมาใชเปนเครื่องมือ ในการพัฒนางานประชาสัมพันธและ สื่อสารมวลชน (5) สงเสริมใหมีการนําการดําเนินงานตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ไปจัดทําตัวชี้วัดคํารับรองการปฏิบัติราชการระดับกระทรวง 2. สรางความเชื่อมโยงระหวางนโยบาย และแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย นโยบายรัฐบาล และแผนระดับอื่นๆ (4)ประสานการดําเนินงานเพื่อรวบรวมแผนปฏิบัติการประชาสัมพันธระดับกระทรวง กรม ที่สอดคลองกับนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) 4. เสริมสรางบทบาทของทุกภาคสวนให สามารถขับเคลื่อนนโยบายและแผน การประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559-2564) ไดอยางมีประสิทธิภาพ (2) จัดพิมพเพื่อเผยแพรนโยบาย และแผนฯพรอมคูมือ (3) จัดประชุมชี้แจงนโยบาย และแผนฯ (1) จัดทําคูมือการแปลง นโยบายและแผนฯ (11) จัดตั้งคณะกรรมการประชาสัมพันธแหงชาติ ระดับจังหวัด เพื่อจัดทําแผนประชาสัมพันธใหเหมาะสมกับแตและพื้นที่ และสอดคลองกับนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) (8)ปรับปรุงกฎหมายกฎระเบียบที่เกี่ยวของใหเอื้อตอการขับเคลื่อนนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2559-2564) (9) จัดทําและพัฒนาระบบรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564) (10) จัดฝกอบรมเพื่อใหความรูทางวิชาการและเสริมสรางทักษะใหกับผูปฏิบัติงานดานการประชาสัมพันธ แผนที่นําทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนนโยบายและแผนการประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564)