SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก

      จากการศึกษาประวัติของโรคไขเลือดออก โดยฮาลสเตค ( S.B. Halstead 1980 ) กลาวโดย
สรุปวาความหมายของ “ Dengue “ ที่มีในศัพทภาษาอังกฤษมาจากภาษาสเปนในหมูเกาะอินดิส
ตะวันตก ( West indies ) ซึ่งออกเสียงเหมือนภาษาสเปนคําวา “ Kl Denga pepo ” มีความหมายวา
เปนอาการลมชักที่มีสาเหตุมาจากวิญญาณอันชั่วราย ( สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี.
2533 : 32 )
       โรคไขเลือดออก เปนกลุมอาการของผูปวย เริ่มดวยอาการมีอาการไข เลือดออกบริเวณใตพื้น
ผิวหนังและตามอวัยวะตางๆ ซึ่งมีความรุนแรงตางๆ กัน อาจมีอาการช็อกรวมดวยหรือไมมีก็ได
( ชวลิต ทัศนสวาง. 433 ) การรายงานผูปวยโรคไขเลือดออกในประเทศไทยหมายถึงโรคที่เกิดจาก
เชื้อ Dengue virus Chigkugunya Virus เทานั้น ( กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารสุข อางใน
ประหยัด แดงสุภา. 2542 : 5 )
           1.1 ระบาดวิทยา
             ไขเลือดออก พบมีการระบาดครั้งแรกในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2501 มีการระบาดครั้ง
ใหญในกรุงเทพมหานคร ประมาณ 2,500 ราย ตายกวา 200 กวาราย และมีการระบาดไปทัวทุกภาค           ่
ของประเทศไทยจนถึงปจจุบัน หมูบานที่ไมมการระบาด 3 ป ติดตอกันนาจะมีความเสี่ยงมากกวา
                                               ี
พื้นที่ทมีการระบาดใหม การระบาดมีความสัมพันธกันกับระดับภูมิคมกันของไวรัสทั้ง 4 ไทป
        ี่                                                            ุ
ชุมชน หรือ หมูบานที่หนาแนนพบอัตราปวยสูงกวาชุมชน หรือ หมูบานกระจัดกระจาย อางใน
                                                                         
ประหยัด แดงสุภา ( 2542 : 17 )
           1.2 สาเหตุและการเกิดโรค
              เชื้อที่เปนสาเหตุของการเกิดโรคไขเลือดออก คือ เชื้อไวรัส เชื้อไวรัสที่เปนสาเหตุที่
สําคัญคือ Dengue virus ซึ่งเปน RNA virus อยูในครอบครัว Family Togaviridae กลุม Subgruop
flavivirus มีอยู 4 serotype คือserotype 1, 2, 3, 4 เชื้อ Dengue virus ทั้ง 4 serotype นี้มี Antigen
บางสวนรวมกัน ดังนั้น เมื่อเชื้อตัวใดตัวหนึ่งเขาสูรางกาย จะทําใหรางกายสรางภูมิตานทานตอเชื้อ
ตัวนั้นซึ่งอยูไดถาวร และยังตอตานขามไปยังเชื้อชนิดอื่น ๆ อีก 3 ชนิด (Cross reaction) แตอยูไม
ถาวร โดยทั่วไปอยูไดนาน 6 – 12 เดือน หลังจากระยะนี้แลวคนที่เคยติดเชื้อ ไวรัส Dengue ชนิด
หนึ่งอาจติดเชื้อ Dengue ชนิดอื่นที่แตกตางไปจากครั้งแรกอีกได ถือเปนการติดเชื้อซ้ําครั้งที่ 2 การ
ติดเชื้อซ้ํานี้เปนที่เชื่อกันวา เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดโรคไขเลือดออก เชื้อไวรัสที่แยกจากผูปวย
ดังกลาวนี้ มีทั้ง 4 ชนิด แตที่พบบอยคือ Dengue 2 และ 4 ในระยะหลังเริ่มพบเชื้อชนิด Dengue 1, 3
มากขึ้น นอกจากนี้ยังพบวา ในรายที่มีอาการรุนแรงถึงขั้นช็อก Dengue Shock Syndrome มักตรวจ
พบเปนรายที่มีภูมิตานทานอยูกอนในระดับที่ไมสามารถปองกันโรคได และถา มีอาการติดเชื้อซ้ํา
ดวย Dengue 2 จะตรวจพบอาการรุนแรงได อางใน ชวลิต ทัศนสวาง ( 2536 : 433 ) และ กรม
ควบคุมโรคติดตอ ( 2537. : 59 )
         1.3 การติดตอ
          โรคไขเลือดออกติดตอโดยยุงลายเปนพาหะนําโรค การติดตอเกิดจากการที่ยุงลายไปดูดกิน
เลือดจากผูปวยที่มีเชื้อไวรัส Dengue จากนั้นเชื้อไวรัสจะลงสูกระเพาะยุงลาย ฝงตัวในผนังกระเพาะ
ยุง เพิ่มแบงจํานวนตัวมันเอง แลวเดินทางไปยังสวนหัวของยุงลายเขาสูตอมน้ําลาย เมือยุงลายบินไป
                                                                                           ่
กัดดูดเลือดคนใหมก็จะปลอยเชื้อไวรัส Dengue เขาสูกระแสเลือดของคนที่ถูกยุงลายกัด แลวเชื้อจะ
เพิ่มจํานวนมากขึ้น จนทําใหเกิดอาการปวยเปน โรค ระยะเวลาที่เชื้อไวรัส Dengue เดินทางจาก
กระเพาะยุงลายถึงตอมน้ําลายยุงลาย ใชเวลาประมาณ 8 – 12 วัน ระยะที่เชื้อไวรัส Dengue เขาสู
กระแสเลือดของคนที่ถูกกัดดูดเลือดใหม แลวเพิ่มจํานวนจนทําใหเกิดอาการปวยขึ้น เรียกวาระยะ
ฟกตัวของโรค ใชเวลา 3 – 14 วัน โดยทั่วไปใชเวลา 7 – 10 วัน
         1.4 สถานที่และเวลาในการระบาดของโรคไขเลือดออก
             สวนมากจะพบการระบาดในฤดูฝน เกิดจากความถี่ในการกัดและการเจริญเติบโตของ
ไวรัสในตัวยุง ในฤดูฝนมีมากกวาในฤดูหนาวและฤดูรอน และพบวาถาพบผูปวยในชวงฤดูหนาว    
และฤดูรอนปใดจะมีอัตราปวยดวยโรคไขเลือดออก มากกวาปกติในชวงฤดูฝนของปนนจะเกิดการ         ั้
ระบาดดังกลาว อางใน ประหยัด แดงสุภา ( 2542 : 16 –20 )
         1.5 กลุมอายุ
พบในทุกกลุมอายุ ทุกเพศ ในอดีตพบมากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ในปจจุบันพบในกลุม
อายุ 5 –9 ป และมีผูปวยผูใหญมากขึ้น เด็กผูหญิงและแมบานที่ใชชีวิตประจําวันในบานเสี่ยงตอ
การเกิดโรคมากกวาเด็กชายที่ชอบวิ่งเลนนอกบาน และพอบานซึ่งมีการประกอบอาชีพนอกบาน
เชนกัน อางใน ประหยัด แดงสุภา ( 2542 : 16 )
       1.6 พาหะนําโรค
           ยุงเปนพาหะนําโรคจัดอยูใน Class Insecta (Hexapoda), Order Diptera, Family Culicidae
จะวางไขบนผิวน้ํา หรือตามขอบภาชนะที่มีน้ําขัง 1 – 5 วันก็จะกลายเปนตัวออน (Larva) ซึ่งเรียกวา
ลูกน้ํา (Instar) และมีการลอกคราบถึง 4 ครั้ง เปนลูกน้ําระยะที่ 1, 2, 3 และ 4 ใชระยะเวลาประมาณ
7 – 10 วัน ในชวงเปนลูกน้ําจะกินอาหารเกง เมื่อลอกคราบครั้งสุดทายจะเปนตัวโมง (Pupa) ใน
ระยะตัวโมงจะเคลื่อนไหวชาลงหรือไมเคลื่อนไหวเลย ระยะนี้จะไมกินอาหาร ประมาณ 1 – 2 วัน
จะลอกคราบเปนตัวเต็มวัย (Adult) เมื่อออกจากคราบตัวโมงใหม ๆ จะไมสามารถบินไดทันที ตอง
รอเวลาระยะหนึ่ง เพื่อใหเลือดฉีดเลี้ยงเขาเสนปก ทําใหเสนปกแข็งจึงจะบินได ระยะนี้ใชเวลา 1 – 2
ชั่วโมง พอบินไดก็พรอมที่จะหาอาหารและผสมพันธุ โดยปกติยุงตัวผูจะเกิดกอนยุงตัวเมีย 1 – 2 วัน
ยุงตัวผูจะกินน้ําหวาน และตัวเมียจะกินน้ําหวานเพื่อใชเปนพลังงานในการบิน หลังจากผสมพันธุ
แลว ตัวเมียจะหาอาหารเลือดซึ่งเปนเลือดคนหรือสัตว ขึ้นอยูกับชนิดของยุง ยุงกินเลือดทําใหไขสุก
พรอมที่จะวางไข ยุงตัวเมียจะผสมพันธุเพียงครั้งเดียว และสามารถวางไขไดตลอดชีวิต ระยะการ
เจริญเติบโตของยุงขึ้นอยูกับอาหาร อุณหภูมิ และความชื้น ยุงลาย เปนพาหะนําโรคไขเลือดออก มี
ลักษณะโดยทั่วไปคือ เปนยุงที่มีขนาดปานกลาง ลําตัวและขามีสีดําสลับขาวเปนปลอง ๆ ขาหลัง
ปลายปลองสุดทายขาวหมด ยุงพวกนี้หากินเวลากลางวัน ชวงเวลาที่พบมากที่สุดคือเวลา 09.00 –
11.00 น. และเวลา 13.00 – 14.30 น. ยุงลายจะพบมากในฤดูฝนชวงหลังฝนตกชุก เพราะอุณหภูมิ
และความชื้นเหมาะแกการแพรพันธุ สวนในฤดูอื่น ๆ พบวาความชุกชุมของยุงลายจะลดลงเล็กนอย
            1.7 แหลงเพาะพันธุ
               ยุงลายจะวางไขตามภาชนะขังน้ําที่มีน้ํานิ่ง ใส สะอาด โดยเฉพาะน้าฝน เปนน้าทียงลาย
                                                                                ํ          ํ ุ่
ชอบวางไขมากที่สุด ดังนั้น แหลงเพาะพันธุของยุงลายจึงมักอยูตามโองน้ํากินน้ําใชที่ไมปดฝาทั้ง
ภายในและภายนอกบาน นอกจากโองน้ําแลวยังมีภาชนะอื่น ๆ เชน ถังซีเมนต จานรองขาตูกับขาว
กัน มด จานรองกระถางตนไม แจกัน อางลางเท า ยางรถยนต ไห เศษภาชนะ เชน โองแตก เศษ
กระปอง กะลา กาบใบของพืชพวกมะพราว กลวย พลับพลึง ตนบอน แหลงเพาะพันธุที่พบภายใน
บาน สวนใหญจะเปนโองน้ําใช ถังซีเมนตในหองน้ํา จานรองขาตูกับขาวกันมด เปนตน
            1.8 วงจรชีวิตของยุงลาย
                ยุงตัวเมียจะกัดและดูดเลือดคน โดยเฉลี่ยยุงลาย 1 ตัว สามารถกัดคนได 100 กวาคน
( 1 : 100 ) บินไดไกล 50 เมตร จะออกไขทุก 15 วัน ยุงตัวเมียจะมีอายุเฉลี่ย 45 วัน ชวงชีวิตยุงลายตัว
เมียสามารถวางไข 3 รอบ ๆ ละ ประมาณ 150 ฟอง ซึ่งจะไดไขยุงประมาณ 3 ลานฟอง/ยุงตัวเมีย 1
ตัว ดังนี้ อางใน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา ( 2542 : 35 )
                      15 วัน รอบที่ 1 = 1 X 150 =      150 ฟอง
                     15 วัน รอบที่ 2 = 151 X 150 = 22,650 ฟอง
                     15 วัน รอบที่ 3 = 22,650 X 150 = 3,397,500 ฟอง
                     และจะเขาสูวงจรชีวิตของยุงลาย ตามรูปภาพ
                                




                                วงจรชีวิตยุงลาย ( Aedes aegypti)

                                      ลูกน้ํา        Golden period 8-12 วัน หรือ 10 วัน

                 ยุง                                        ไข            อายุ 1 ป
                                                                       1-2 วัน แตกตัว      เปน
                                                                       ลูกน้า
                                                                            ํ
                                       ยุงตัวเมีย
ยุงตัวผู                        - กัด/ดูดเลือดคน
                -      ไมกัดคน                        - ไขทุก 15 วัน
                -      กินน้าหวาน
                            ํ                          - วางไข 3 รอบ 450 ฟอง
                -      อายุ 7- 15 วัน
                - บินไกล 50 เมตร

       ที่มา : วงจรชีวิตยุงลาย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. ( 2542 : 21 )

         1.9 การควบคุมและปองกันโรคไขเลือดออก
             1.9.1 กําจัดยุงลายโดยตรง ซึ่งอาจใชยาฆายุงทีขายกันตามทองตลาดซึ่งมีทงชนิดน้าและ
                                                             ่                      ั้        ํ
ชนิดสเปรยพนไปที่ตัวยุงลาย และแหลงเกาะพักยุง เชน ใตตู ใตเตียง ซอกโตะ ตูตาง ๆ โดยอาน
วิธีใชใหเขาใจและปฏิบัติตามใหถูกตอง
              1.9.2 กําจัดลูกน้ํายุงลาย โดย ใชสารเคมี เชน ทรายอะเบท ใสลงในภาชนะใสน้ําทุกชนิด
ขนาด 1 ชอนโตะ ตอน้ํา 8 ปบ จะตองใสทุกครั้งที่ตรวจพบลูกน้ํา ถาไมพบใหใส 3 ครั้ง/ป ถาใสตม
                                                                                                  ุ
น้ําดืม ควรเปดฝาตุมไว 1-2 วัน จะทําใหนาไมมีกลิ่น ขัด ถู ลางภาชนะใสนาทุกชนิดที่พบ
      ่                                      ้ํ                           ้ํ
ลูกน้ํายุงลาย ใชตะแกรงกรองลูกน้ํา หรือใชสวิงชอนลูกน้ําออก และ ปลอยปลากินลูกน้ําในภาชนะ
ใสน้ํา เชน ปลาหางนกยูง ปลาหัวตะกัว 1-2 ตัว ใชนาเดือดเทลงในจานรองตูกับขาว และใสเกลือ
                                          ่               ้ํ                     
แกง 3-4 ชอนชาลงในน้า      ํ
           1.9.3 ปองกันไมใหเกิดลูกน้ํายุงลาย เชน ทําลายหรือลดแหลงเพาะพันธุยุงลาย ภาชนะ
ตาง ๆ ที่ไมใชแลวควรตัดใจทําลายเสีย หรือเก็บคว่ําไวใหเปนทีไมใหมีนาขัง การปองกันไมให
                                                                    ่         ้ํ
ยุงลายวางไขในภาชนะใสน้ํา เชน โองน้าดื่ม น้าใช ควรมีฝาปดใหมิดชิด
                                            ํ    ํ



ตารางที่ 1 ธรรมชาติของยุง ระยะเวลา และการการควบคุมลูกน้ํายุงลายไดดงนี้
                                                                   ั
    ธรรมชาติของยุงลาย       ระยะเวลา               การควบคุมยุงลาย
1. อายุยง
        ุ             30 –50 วัน          ควบคุมจํานวนประชากรยุงตอเนื่อง
2. จํานวนไข                 140- 150 ฟอง            ทําลายแหลงเพาะพันธุยุง โดยการใส
                                                                           
                                                     ทราย
                                                     อะเบท 1 ชอนชา ตอน้า 5 ปป ทุก 2
                                                                         ํ
                                                     สัปดาห และมีการถายเปลี่ยนน้าอยาง
                                                                                   ํ
3. คาเฉลี่ยตอการไขตอตัว
                            3 รอบ ชอบวางไข         ตอเนื่อง
แมยุงวางไขตลอดชีวิต        กอนตะวันตกดิน
และผสมพันธุครังเดียว
                  ้
ออกไขไดตลอดชีวิต
4. ระยะเวลาที่เปนตัวโมง    ½ - 1 ชั่วโมง ( ถามี   สํารวจความชุกชุมของลุกน้ํายุงลาย
และลูกน้ายุงลาย
           ํ                 น้ําบริบูรณ )และ 1-    โดย BI / CI
                             3 วัน(ถามีนาเพียง
                                          ้ํ         และกําหนดความถี่ของการทําลาย
                             เล็กนอย                ลูกน้ายุงลายใหเหมาะสม
                                                           ํ
5. ระยะเวลาที่เปนตัวโมง    5 – 10 วัน              ฆาลูกน้ํายุงทุก 7 วัน โดยใชปลากิน
และลูกน้าจนเปนยุง
        ํ                                            ลูกน้า  ํ
                                                     ทรายอะเบท หรือสารเคมีอื่นๆ และ
                                                     สํารวจคา
                                                     BI / CI ทุก 7 วัน
6. อายุลกน้าโดยเฉลี่ย
        ู ํ            6 - 8 วัน                     เปนแนวทางของการกําหนดความถี่
                       ( ลอกคราบ 4                   เพื่อการทําลายลูกน้ําและยุงตัวแก
                       ครั้ง )
7. ระยะลอกคาบจนเปนตัว 24 ชั่วโมง         พนทําลายยุงตัวแกทก 7 วัน
                                                             ุ
ยุง
เต็มวัย
8. การดูดเลือด         กัดไมอมครั้งเดียว พนทําลายยุง
                                ิ่
                       สามารถกัดไดสูงสุด
                       วันละ 8 ครั้ง ชอบ
เกาะผากัดไมอม ิ่
                            ครั้งเดียว กัดมาก
                            ชวง 9.00 – 10.00
                            น. และ 16.00 –
                            17.00 น.
9. ลักษณะพิเศษที่เอื้อตอ                        ตองทําลายยุงตัวแกทกตัวทันทีเพราะ
                                                                     ุ
การระบาด                                         อาจ
   9.1 มี Viral                                  มีเชื้อไวรัส
Transmission ไปยังไข กัด
3 ชม. จะวางไข                                   พนยุงในบริเวณที่มืด ทึบ และอบปด
  9.2 ชอบเกาะและอยูในที่
                                                ไวไมนอยกวา 1 –2 ชั่วโมง
มืด
ออกบินเมื่อตองการดูด                            ระวังไมใหยงกัดตอนกลางวัน
                                                             ุ
เลือด
  9.3 ถามีไฟนีออนตอน
กลางคืนก็ออกบินดูดเลือด
ได

10. ระยะฟกตัวของไวรัส       7-10 วัน            ออกทําลายลูกน้ําและยุงลายตัวแก ใน
ในคนหลังจากถูกยุงกัด                             รัศมี
                                                 วงกลม 50 เมตร รอบ ๆ บานผูปวย
                                                                              
                                                 โดยการลงทรายอะเบท และพน
                                                 สารเคมีโดยดวนที่สุด
11. รัศมีการบิน             50 เมตร ถากระแส
                            ลม
                            แรง อาจบินได 100
เมตร
12. การปองกันที่ดีที่สุด                              ใชยาทากันยุง เด็กนอนกลางวันให
                                                       กางมุง ซื้อยาฉีดยุงมาฆายุงในอาคาร
                                                       บานเรือน หองเรียน
ที่มา : สํานักงานตรวจราชการสาธารณสุขเขต 5 อางใน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
( 2542. : 33-34 )
         1.10 มาตรการการควบคุมโรคไขเลือดออกในชุมชน
             1.10.1 เรงรัดกําจัดแหลงเพาะพันธยุงลาย ใหมความครอบคลุม ตอเนืองและ
                                                               ี                     ่
สม่ําเสมอ โดยปฏิบัตการทุก 7 วัน หรือ ทุกบายวันศุกร
                       ิ
             1.10.2 มีการควบคุมแหลงเพาะพันธุยุงโดย
                 -       ทางกายภาพ เชน การสํารวจและทําลายแหลงเพาะพันธยง ทําความ ุ
สะอาดภายในและนอกอาคาร
                 -       ทางชีวภาพ โดยใชปลากินลูกน้า เชน ปลาหางนกยูง เปนตน
                                                         ํ
                  - ทางเคมี การใชสารทรายอะเบท เครื่องพนสารเคมี
             1.10.3 การประสานผูนําชุมชน เพื่อใหมีบทบาทและมีสวนรวมในการควบคุม
                                                                        
ปองกันโรคไขเลือดออกอยางตอเนื่อง จริงจัง และเปนรูปธรรม
             1.10.4 การแจงสถานการณโรค และแนวโนมการเกิดโรคใหผนําชุมชน และประชา
                                                                              ู
ชนทราบเพื่อใหตื่นตัว และรณรงคในการควบคุมปองกันโรคอยางตอเนื่อง
             1.10.5 ใหสุขศึกษาประชาสัมพันธทกรูปแบบในการควบคุมปองกันโรคไขเลือดออก
                                                    ุ
         ลักษณะทางคลินิก
             องคการอนามัยโลกไดจัดแบงลักษณะทางคลินิกออกเปน 3 รูปแบบตามความรุนแรง
ของโรค (กระทรวงสาธารณสุข 2542 : 4) ดังนี้
              1) Undifferentiated Fever (UF) หรือ Viral Syndrome มักพบในทารกหรือเด็ก
เล็กที่มีอาการ ติดเชื้อเดงกี่เปนครั้งแรก ผูปวยจะมีเพียงอาการไข บางครั้งอาจมีผื่น Maculopapular
ซึ่งแยกจากไขออกผื่นจากไวรัสอื่น ๆ ไมได แตจะวินิจฉัยไดจากการตรวจทาง                   ไวรัส และ
Serology
2) ไขเดงกี่ (Dengue Fever หรือ DF) มักเปนในเด็กโตหรือผูใหญ ผูใหญอาจมี
อาการไมรุนแรง มีเพียงไข รวมกับปวดศรีษะ เมื่อยตามตัว หรือมีไขสูงเฉียบพลัน ปวดศรีษะ ปวด
รอบกระบอกตา ปวดกลามเนื้อ และปวดกระดูก(Breakbone Fever) และอาจมีผื่น บางรายอาจมีจุด
เลือด (Petechiae) ที่ผิวหนัง และมีเสนเลือดเปราะแตกงาย(การทดสอบ Tourniquet ใหผลบวก หรือ
Petechiae >10 จุด/ตารางนิ้ว)บางรายมีอาการเบื่ออาหาร อาเจียน ปวดทองรวมดวย ผูปวยสวนใหญ
จะมีเม็ดเลือดขาวต่ํา บางรายอาจมีเกล็ดเลือดต่ําดวย
             3) ไขเลือดออกเดงกี่ (DHF) โรคนี้มีลักษณะเฉพาะ นอกจากมีไขสูงและมีอาการ
คลา ยกับไขเดงกี่ ในระยะแรกแลว ผูปวยจะมี Hemorrhagic Manifestation และมีเกร็ดเลือดต่ํา
รวมกับมีการรั่วของพลาสมา ซึ่งถาพลาสมารั่วออกมากก็จะทําใหเกิดภาวะช็อกที่เรียกวา Dengue
Shock Syndrome (DSS) การรั่วของพลาสมาสามารถตรวจพบไดจากการมีระดับHematocrit สูงขึ้น
มีสารน้ําในชองเยื่อหุมปอดและชองทอง
             สําหรับความแตกตางระหวางไขเลือดออกเดงกี่และไขเดงกี่ ที่ชัดเจนคือ ในไขเลือด
ออกเดงกี่ จะมีเกร็ดเลือดต่ํารวมกับการรั่วของพลาสมา และในไขเลือดออกเดงกี่ จะมีภาวะช็อ ก
เกิดขึ้น ทําใหถึงตายได อายุของผูปว ยไขเลือดออกเดงกี่ จะเปน เด็กอายุต่ํากวา 16 ปม ากกวา
ผูใหญ สวนไขเดงกี่ มีอาการมากแบบ Breakbone Fever นั้นจะพบในผูใหญมากกวาเด็ก การเกิดโรค
เปนแบบใดขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ปจจัยที่สําคัญคือ อายุ ภาวะภูมิคุมกันของผูปวย และชนิด
ของไวรัสเดงกี่ที่มีในขณะ นั้น
        2.1.3 อาการทางคลินิกของโรคไขเลือดออกเดงกี่
                   หลังจากไดรับเชื้อจากยุงประมาณ 5 - 8 วัน (ระยะฟกตัว) ผูปวยจะเริ่มมีอาการ
ของโรคซึ่งมีความรุนแรงแตกตางกันได ตั้งแตมีอาการคลายไขเดงกี่ ไปจนถึงมีอ าการรุน แรงมาก
จนถึงช็อกและถึงเสียชีวิตได สวนโรคไขเลือดออกเดงกี่มีอาการสําคัญที่เปนรูปแบบคอนขางเฉพาะ
4 ประการ เรียงตามลําดับการเกิดกอนหลังดังนี้
                   1) ไขสูงลอย 2 – 7 วัน
                   2) มีอาการเลือดออก สวนใหญจะพบที่ผิวหนัง
                   3) มีตับโต กดเจ็บ
                   4) มีภาวะการไหลเวียนลมเหลว/ภาวะช็อก
2.1.4 การตรวจทางหองปฏิบัติการ
                    1) เลือดขนขึ้นดูจากการเพิ่มขึ้นของ Hct เทากับหรือมากกวา 20 % เมื่อเทียบ
กับ Hct เดิม หรือมีหลักฐานการรั่วของพลาสมา เชน มี Pleural effusion หรือ Ascites
                    2) เกร็ดเลือดนอยกวา 100,000 เซล/ลบ.ซม.
           2.1.5 ความแรงของโรคไขเลือดออกแบงไดเปน 4 เกรด (Grade ) ดังนี้
                    เกรด 1 ( Grade l ) ผูปวยไมมีช็อก มีแต Positive Tourniquet Test
                    เกรด 2 (Grade 2 ) ผูปวยไมมีช็อกแตมีเลือดออกที่อื่น เชน เลือดกําเดา อาเจียน
เปนเลือด อุจจาระเปนเลือด
                    เกรด 3 (Grade 3 ) ผูปวยช็อก
                    เกรด 4 (Grade 4 ) ผูปวยที่ช็อกนาน วัดความดันและ/จับชีพจรไมได
           2.1.6 การดําเนินโรคของโรคไขเลือดออก การดําเนินโรคของโรคไขเลือดออกแบงเปน 3
ระยะ ดังตอไปนี้ คือ
                    1) ระยะไขสูง ลักษณะเปนไขสูงเฉียบพลัน 39 – 41 °C เปนเวลา 2 – 7 วัน
ซึ่งผูปวยอาจมีอาการชักได มักมีอาการหนาแดง ไมมีน้ํามูกหรือไอ ในเด็กโตอาจบนปวดศรีษะ ปวด
กลามเนื้อ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดทอง เลือดออก ตับโตและกดเจ็บแตตัวไมเหลือง มีผื่นตามตัว
(ผูปวยที่มีไขสูงลอยเกิน 7 วัน มีรอยละ 15)
                    2) ระยะวิกฤตหรือระยะช็อก มักเกิดขึ้นพรอม ๆ กับมีไขลง ในรายที่ไมรุน
แรงผูปวยจะดีขึ้น บางรายอาจมีเหงื่อออก มือเทาเย็น ชีพจรเบาเร็ว ความดันเลือดเปลี่ยนแปลง
เล็กนอยในชวงสั้น ๆ แลวกลับเปนปกติ ในรายที่รุนแรงอาการจะเลวลง ผูปวยจะกระสับกระสาย
มือเทาเย็น ช็อกถาใหการรักษาไมทัน ผูปวยจะช็อกนาน เลือดออกรุนแรงและเสียชีวิตได
                    3) ระยะพักฟน ผูปวยเริ่มอยากรับประทานอาหาร เริ่มมีปสสาวะมาก
อาจพบมีผื่นเปนวงสีขาวกระจายอยูทามกลางผื่นจุด เลือดออกตามแขนขา ชีพจรเตนชา
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ

Contenu connexe

Tendances

คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใสDbeat Dong
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนKornnicha Wonglai
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว techno UCH
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)chalunthorn teeyamaneerat
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 

Tendances (20)

คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Hdc ncd2561 goal
Hdc ncd2561 goalHdc ncd2561 goal
Hdc ncd2561 goal
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 

Similaire à มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ

ไล่ยุง
ไล่ยุงไล่ยุง
ไล่ยุงStamp Tamp
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...MukMik Melody
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขต๊อบ แต๊บ
 
ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54SkyPrimo
 
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartokpitsanu duangkartok
 
Ic update 2012
Ic  update 2012Ic  update 2012
Ic update 2012techno UCH
 

Similaire à มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ (20)

แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
ไล่ยุง
ไล่ยุงไล่ยุง
ไล่ยุง
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Con19
Con19Con19
Con19
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
 
ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54
 
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
 
Minibook animal
Minibook animalMinibook animal
Minibook animal
 
Ic update 2012
Ic  update 2012Ic  update 2012
Ic update 2012
 

Plus de Panda Jing

จิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกจิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกPanda Jing
 
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทอีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทPanda Jing
 
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cFile 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cPanda Jing
 
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011Panda Jing
 
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011Panda Jing
 
Way toteacher001
Way toteacher001Way toteacher001
Way toteacher001Panda Jing
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมPanda Jing
 
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนักอีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนักPanda Jing
 
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011Panda Jing
 
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011Panda Jing
 
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรนสาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรนPanda Jing
 
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนาอีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนาPanda Jing
 
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์Panda Jing
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวPanda Jing
 
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาคอีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาคPanda Jing
 
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมารอีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมารPanda Jing
 
ศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทยศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทยPanda Jing
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)Panda Jing
 
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1Panda Jing
 
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริงพญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริงPanda Jing
 

Plus de Panda Jing (20)

จิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกจิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลก
 
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทอีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
 
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cFile 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
 
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
 
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
 
Way toteacher001
Way toteacher001Way toteacher001
Way toteacher001
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
 
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนักอีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
 
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
 
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
 
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรนสาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
 
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนาอีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
 
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
 
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาคอีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
 
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมารอีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
 
ศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทยศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทย
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
 
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริงพญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
 

มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ

  • 1.
  • 2. ความรูทั่วไปเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก จากการศึกษาประวัติของโรคไขเลือดออก โดยฮาลสเตค ( S.B. Halstead 1980 ) กลาวโดย สรุปวาความหมายของ “ Dengue “ ที่มีในศัพทภาษาอังกฤษมาจากภาษาสเปนในหมูเกาะอินดิส ตะวันตก ( West indies ) ซึ่งออกเสียงเหมือนภาษาสเปนคําวา “ Kl Denga pepo ” มีความหมายวา เปนอาการลมชักที่มีสาเหตุมาจากวิญญาณอันชั่วราย ( สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี. 2533 : 32 ) โรคไขเลือดออก เปนกลุมอาการของผูปวย เริ่มดวยอาการมีอาการไข เลือดออกบริเวณใตพื้น ผิวหนังและตามอวัยวะตางๆ ซึ่งมีความรุนแรงตางๆ กัน อาจมีอาการช็อกรวมดวยหรือไมมีก็ได ( ชวลิต ทัศนสวาง. 433 ) การรายงานผูปวยโรคไขเลือดออกในประเทศไทยหมายถึงโรคที่เกิดจาก เชื้อ Dengue virus Chigkugunya Virus เทานั้น ( กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารสุข อางใน ประหยัด แดงสุภา. 2542 : 5 ) 1.1 ระบาดวิทยา ไขเลือดออก พบมีการระบาดครั้งแรกในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2501 มีการระบาดครั้ง ใหญในกรุงเทพมหานคร ประมาณ 2,500 ราย ตายกวา 200 กวาราย และมีการระบาดไปทัวทุกภาค ่ ของประเทศไทยจนถึงปจจุบัน หมูบานที่ไมมการระบาด 3 ป ติดตอกันนาจะมีความเสี่ยงมากกวา ี พื้นที่ทมีการระบาดใหม การระบาดมีความสัมพันธกันกับระดับภูมิคมกันของไวรัสทั้ง 4 ไทป ี่ ุ ชุมชน หรือ หมูบานที่หนาแนนพบอัตราปวยสูงกวาชุมชน หรือ หมูบานกระจัดกระจาย อางใน   ประหยัด แดงสุภา ( 2542 : 17 ) 1.2 สาเหตุและการเกิดโรค เชื้อที่เปนสาเหตุของการเกิดโรคไขเลือดออก คือ เชื้อไวรัส เชื้อไวรัสที่เปนสาเหตุที่ สําคัญคือ Dengue virus ซึ่งเปน RNA virus อยูในครอบครัว Family Togaviridae กลุม Subgruop flavivirus มีอยู 4 serotype คือserotype 1, 2, 3, 4 เชื้อ Dengue virus ทั้ง 4 serotype นี้มี Antigen
  • 3. บางสวนรวมกัน ดังนั้น เมื่อเชื้อตัวใดตัวหนึ่งเขาสูรางกาย จะทําใหรางกายสรางภูมิตานทานตอเชื้อ ตัวนั้นซึ่งอยูไดถาวร และยังตอตานขามไปยังเชื้อชนิดอื่น ๆ อีก 3 ชนิด (Cross reaction) แตอยูไม ถาวร โดยทั่วไปอยูไดนาน 6 – 12 เดือน หลังจากระยะนี้แลวคนที่เคยติดเชื้อ ไวรัส Dengue ชนิด หนึ่งอาจติดเชื้อ Dengue ชนิดอื่นที่แตกตางไปจากครั้งแรกอีกได ถือเปนการติดเชื้อซ้ําครั้งที่ 2 การ ติดเชื้อซ้ํานี้เปนที่เชื่อกันวา เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดโรคไขเลือดออก เชื้อไวรัสที่แยกจากผูปวย ดังกลาวนี้ มีทั้ง 4 ชนิด แตที่พบบอยคือ Dengue 2 และ 4 ในระยะหลังเริ่มพบเชื้อชนิด Dengue 1, 3 มากขึ้น นอกจากนี้ยังพบวา ในรายที่มีอาการรุนแรงถึงขั้นช็อก Dengue Shock Syndrome มักตรวจ พบเปนรายที่มีภูมิตานทานอยูกอนในระดับที่ไมสามารถปองกันโรคได และถา มีอาการติดเชื้อซ้ํา ดวย Dengue 2 จะตรวจพบอาการรุนแรงได อางใน ชวลิต ทัศนสวาง ( 2536 : 433 ) และ กรม ควบคุมโรคติดตอ ( 2537. : 59 ) 1.3 การติดตอ โรคไขเลือดออกติดตอโดยยุงลายเปนพาหะนําโรค การติดตอเกิดจากการที่ยุงลายไปดูดกิน เลือดจากผูปวยที่มีเชื้อไวรัส Dengue จากนั้นเชื้อไวรัสจะลงสูกระเพาะยุงลาย ฝงตัวในผนังกระเพาะ ยุง เพิ่มแบงจํานวนตัวมันเอง แลวเดินทางไปยังสวนหัวของยุงลายเขาสูตอมน้ําลาย เมือยุงลายบินไป ่ กัดดูดเลือดคนใหมก็จะปลอยเชื้อไวรัส Dengue เขาสูกระแสเลือดของคนที่ถูกยุงลายกัด แลวเชื้อจะ เพิ่มจํานวนมากขึ้น จนทําใหเกิดอาการปวยเปน โรค ระยะเวลาที่เชื้อไวรัส Dengue เดินทางจาก กระเพาะยุงลายถึงตอมน้ําลายยุงลาย ใชเวลาประมาณ 8 – 12 วัน ระยะที่เชื้อไวรัส Dengue เขาสู กระแสเลือดของคนที่ถูกกัดดูดเลือดใหม แลวเพิ่มจํานวนจนทําใหเกิดอาการปวยขึ้น เรียกวาระยะ ฟกตัวของโรค ใชเวลา 3 – 14 วัน โดยทั่วไปใชเวลา 7 – 10 วัน 1.4 สถานที่และเวลาในการระบาดของโรคไขเลือดออก สวนมากจะพบการระบาดในฤดูฝน เกิดจากความถี่ในการกัดและการเจริญเติบโตของ ไวรัสในตัวยุง ในฤดูฝนมีมากกวาในฤดูหนาวและฤดูรอน และพบวาถาพบผูปวยในชวงฤดูหนาว  และฤดูรอนปใดจะมีอัตราปวยดวยโรคไขเลือดออก มากกวาปกติในชวงฤดูฝนของปนนจะเกิดการ ั้ ระบาดดังกลาว อางใน ประหยัด แดงสุภา ( 2542 : 16 –20 ) 1.5 กลุมอายุ
  • 4. พบในทุกกลุมอายุ ทุกเพศ ในอดีตพบมากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ในปจจุบันพบในกลุม อายุ 5 –9 ป และมีผูปวยผูใหญมากขึ้น เด็กผูหญิงและแมบานที่ใชชีวิตประจําวันในบานเสี่ยงตอ การเกิดโรคมากกวาเด็กชายที่ชอบวิ่งเลนนอกบาน และพอบานซึ่งมีการประกอบอาชีพนอกบาน เชนกัน อางใน ประหยัด แดงสุภา ( 2542 : 16 ) 1.6 พาหะนําโรค ยุงเปนพาหะนําโรคจัดอยูใน Class Insecta (Hexapoda), Order Diptera, Family Culicidae จะวางไขบนผิวน้ํา หรือตามขอบภาชนะที่มีน้ําขัง 1 – 5 วันก็จะกลายเปนตัวออน (Larva) ซึ่งเรียกวา ลูกน้ํา (Instar) และมีการลอกคราบถึง 4 ครั้ง เปนลูกน้ําระยะที่ 1, 2, 3 และ 4 ใชระยะเวลาประมาณ 7 – 10 วัน ในชวงเปนลูกน้ําจะกินอาหารเกง เมื่อลอกคราบครั้งสุดทายจะเปนตัวโมง (Pupa) ใน ระยะตัวโมงจะเคลื่อนไหวชาลงหรือไมเคลื่อนไหวเลย ระยะนี้จะไมกินอาหาร ประมาณ 1 – 2 วัน จะลอกคราบเปนตัวเต็มวัย (Adult) เมื่อออกจากคราบตัวโมงใหม ๆ จะไมสามารถบินไดทันที ตอง รอเวลาระยะหนึ่ง เพื่อใหเลือดฉีดเลี้ยงเขาเสนปก ทําใหเสนปกแข็งจึงจะบินได ระยะนี้ใชเวลา 1 – 2 ชั่วโมง พอบินไดก็พรอมที่จะหาอาหารและผสมพันธุ โดยปกติยุงตัวผูจะเกิดกอนยุงตัวเมีย 1 – 2 วัน ยุงตัวผูจะกินน้ําหวาน และตัวเมียจะกินน้ําหวานเพื่อใชเปนพลังงานในการบิน หลังจากผสมพันธุ แลว ตัวเมียจะหาอาหารเลือดซึ่งเปนเลือดคนหรือสัตว ขึ้นอยูกับชนิดของยุง ยุงกินเลือดทําใหไขสุก พรอมที่จะวางไข ยุงตัวเมียจะผสมพันธุเพียงครั้งเดียว และสามารถวางไขไดตลอดชีวิต ระยะการ เจริญเติบโตของยุงขึ้นอยูกับอาหาร อุณหภูมิ และความชื้น ยุงลาย เปนพาหะนําโรคไขเลือดออก มี ลักษณะโดยทั่วไปคือ เปนยุงที่มีขนาดปานกลาง ลําตัวและขามีสีดําสลับขาวเปนปลอง ๆ ขาหลัง ปลายปลองสุดทายขาวหมด ยุงพวกนี้หากินเวลากลางวัน ชวงเวลาที่พบมากที่สุดคือเวลา 09.00 – 11.00 น. และเวลา 13.00 – 14.30 น. ยุงลายจะพบมากในฤดูฝนชวงหลังฝนตกชุก เพราะอุณหภูมิ และความชื้นเหมาะแกการแพรพันธุ สวนในฤดูอื่น ๆ พบวาความชุกชุมของยุงลายจะลดลงเล็กนอย 1.7 แหลงเพาะพันธุ ยุงลายจะวางไขตามภาชนะขังน้ําที่มีน้ํานิ่ง ใส สะอาด โดยเฉพาะน้าฝน เปนน้าทียงลาย ํ ํ ุ่ ชอบวางไขมากที่สุด ดังนั้น แหลงเพาะพันธุของยุงลายจึงมักอยูตามโองน้ํากินน้ําใชที่ไมปดฝาทั้ง ภายในและภายนอกบาน นอกจากโองน้ําแลวยังมีภาชนะอื่น ๆ เชน ถังซีเมนต จานรองขาตูกับขาว กัน มด จานรองกระถางตนไม แจกัน อางลางเท า ยางรถยนต ไห เศษภาชนะ เชน โองแตก เศษ
  • 5. กระปอง กะลา กาบใบของพืชพวกมะพราว กลวย พลับพลึง ตนบอน แหลงเพาะพันธุที่พบภายใน บาน สวนใหญจะเปนโองน้ําใช ถังซีเมนตในหองน้ํา จานรองขาตูกับขาวกันมด เปนตน 1.8 วงจรชีวิตของยุงลาย ยุงตัวเมียจะกัดและดูดเลือดคน โดยเฉลี่ยยุงลาย 1 ตัว สามารถกัดคนได 100 กวาคน ( 1 : 100 ) บินไดไกล 50 เมตร จะออกไขทุก 15 วัน ยุงตัวเมียจะมีอายุเฉลี่ย 45 วัน ชวงชีวิตยุงลายตัว เมียสามารถวางไข 3 รอบ ๆ ละ ประมาณ 150 ฟอง ซึ่งจะไดไขยุงประมาณ 3 ลานฟอง/ยุงตัวเมีย 1 ตัว ดังนี้ อางใน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา ( 2542 : 35 ) 15 วัน รอบที่ 1 = 1 X 150 = 150 ฟอง 15 วัน รอบที่ 2 = 151 X 150 = 22,650 ฟอง 15 วัน รอบที่ 3 = 22,650 X 150 = 3,397,500 ฟอง และจะเขาสูวงจรชีวิตของยุงลาย ตามรูปภาพ  วงจรชีวิตยุงลาย ( Aedes aegypti) ลูกน้ํา Golden period 8-12 วัน หรือ 10 วัน ยุง ไข อายุ 1 ป 1-2 วัน แตกตัว เปน ลูกน้า ํ ยุงตัวเมีย
  • 6. ยุงตัวผู - กัด/ดูดเลือดคน - ไมกัดคน - ไขทุก 15 วัน - กินน้าหวาน ํ - วางไข 3 รอบ 450 ฟอง - อายุ 7- 15 วัน - บินไกล 50 เมตร ที่มา : วงจรชีวิตยุงลาย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. ( 2542 : 21 ) 1.9 การควบคุมและปองกันโรคไขเลือดออก 1.9.1 กําจัดยุงลายโดยตรง ซึ่งอาจใชยาฆายุงทีขายกันตามทองตลาดซึ่งมีทงชนิดน้าและ ่ ั้ ํ ชนิดสเปรยพนไปที่ตัวยุงลาย และแหลงเกาะพักยุง เชน ใตตู ใตเตียง ซอกโตะ ตูตาง ๆ โดยอาน วิธีใชใหเขาใจและปฏิบัติตามใหถูกตอง 1.9.2 กําจัดลูกน้ํายุงลาย โดย ใชสารเคมี เชน ทรายอะเบท ใสลงในภาชนะใสน้ําทุกชนิด ขนาด 1 ชอนโตะ ตอน้ํา 8 ปบ จะตองใสทุกครั้งที่ตรวจพบลูกน้ํา ถาไมพบใหใส 3 ครั้ง/ป ถาใสตม ุ น้ําดืม ควรเปดฝาตุมไว 1-2 วัน จะทําใหนาไมมีกลิ่น ขัด ถู ลางภาชนะใสนาทุกชนิดที่พบ ่  ้ํ ้ํ ลูกน้ํายุงลาย ใชตะแกรงกรองลูกน้ํา หรือใชสวิงชอนลูกน้ําออก และ ปลอยปลากินลูกน้ําในภาชนะ ใสน้ํา เชน ปลาหางนกยูง ปลาหัวตะกัว 1-2 ตัว ใชนาเดือดเทลงในจานรองตูกับขาว และใสเกลือ ่ ้ํ  แกง 3-4 ชอนชาลงในน้า ํ 1.9.3 ปองกันไมใหเกิดลูกน้ํายุงลาย เชน ทําลายหรือลดแหลงเพาะพันธุยุงลาย ภาชนะ ตาง ๆ ที่ไมใชแลวควรตัดใจทําลายเสีย หรือเก็บคว่ําไวใหเปนทีไมใหมีนาขัง การปองกันไมให ่ ้ํ ยุงลายวางไขในภาชนะใสน้ํา เชน โองน้าดื่ม น้าใช ควรมีฝาปดใหมิดชิด ํ ํ ตารางที่ 1 ธรรมชาติของยุง ระยะเวลา และการการควบคุมลูกน้ํายุงลายไดดงนี้ ั ธรรมชาติของยุงลาย ระยะเวลา การควบคุมยุงลาย 1. อายุยง ุ 30 –50 วัน ควบคุมจํานวนประชากรยุงตอเนื่อง
  • 7. 2. จํานวนไข 140- 150 ฟอง ทําลายแหลงเพาะพันธุยุง โดยการใส  ทราย อะเบท 1 ชอนชา ตอน้า 5 ปป ทุก 2 ํ สัปดาห และมีการถายเปลี่ยนน้าอยาง ํ 3. คาเฉลี่ยตอการไขตอตัว  3 รอบ ชอบวางไข ตอเนื่อง แมยุงวางไขตลอดชีวิต กอนตะวันตกดิน และผสมพันธุครังเดียว ้ ออกไขไดตลอดชีวิต 4. ระยะเวลาที่เปนตัวโมง ½ - 1 ชั่วโมง ( ถามี สํารวจความชุกชุมของลุกน้ํายุงลาย และลูกน้ายุงลาย ํ น้ําบริบูรณ )และ 1- โดย BI / CI 3 วัน(ถามีนาเพียง ้ํ และกําหนดความถี่ของการทําลาย เล็กนอย ลูกน้ายุงลายใหเหมาะสม ํ 5. ระยะเวลาที่เปนตัวโมง 5 – 10 วัน ฆาลูกน้ํายุงทุก 7 วัน โดยใชปลากิน และลูกน้าจนเปนยุง ํ ลูกน้า ํ ทรายอะเบท หรือสารเคมีอื่นๆ และ สํารวจคา BI / CI ทุก 7 วัน 6. อายุลกน้าโดยเฉลี่ย ู ํ 6 - 8 วัน เปนแนวทางของการกําหนดความถี่ ( ลอกคราบ 4 เพื่อการทําลายลูกน้ําและยุงตัวแก ครั้ง ) 7. ระยะลอกคาบจนเปนตัว 24 ชั่วโมง พนทําลายยุงตัวแกทก 7 วัน ุ ยุง เต็มวัย 8. การดูดเลือด กัดไมอมครั้งเดียว พนทําลายยุง ิ่ สามารถกัดไดสูงสุด วันละ 8 ครั้ง ชอบ
  • 8. เกาะผากัดไมอม ิ่ ครั้งเดียว กัดมาก ชวง 9.00 – 10.00 น. และ 16.00 – 17.00 น. 9. ลักษณะพิเศษที่เอื้อตอ ตองทําลายยุงตัวแกทกตัวทันทีเพราะ ุ การระบาด อาจ 9.1 มี Viral มีเชื้อไวรัส Transmission ไปยังไข กัด 3 ชม. จะวางไข พนยุงในบริเวณที่มืด ทึบ และอบปด 9.2 ชอบเกาะและอยูในที่  ไวไมนอยกวา 1 –2 ชั่วโมง มืด ออกบินเมื่อตองการดูด ระวังไมใหยงกัดตอนกลางวัน ุ เลือด 9.3 ถามีไฟนีออนตอน กลางคืนก็ออกบินดูดเลือด ได 10. ระยะฟกตัวของไวรัส 7-10 วัน ออกทําลายลูกน้ําและยุงลายตัวแก ใน ในคนหลังจากถูกยุงกัด รัศมี วงกลม 50 เมตร รอบ ๆ บานผูปวย  โดยการลงทรายอะเบท และพน สารเคมีโดยดวนที่สุด 11. รัศมีการบิน 50 เมตร ถากระแส ลม แรง อาจบินได 100
  • 9. เมตร 12. การปองกันที่ดีที่สุด ใชยาทากันยุง เด็กนอนกลางวันให กางมุง ซื้อยาฉีดยุงมาฆายุงในอาคาร บานเรือน หองเรียน ที่มา : สํานักงานตรวจราชการสาธารณสุขเขต 5 อางใน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา ( 2542. : 33-34 ) 1.10 มาตรการการควบคุมโรคไขเลือดออกในชุมชน 1.10.1 เรงรัดกําจัดแหลงเพาะพันธยุงลาย ใหมความครอบคลุม ตอเนืองและ ี ่ สม่ําเสมอ โดยปฏิบัตการทุก 7 วัน หรือ ทุกบายวันศุกร ิ 1.10.2 มีการควบคุมแหลงเพาะพันธุยุงโดย - ทางกายภาพ เชน การสํารวจและทําลายแหลงเพาะพันธยง ทําความ ุ สะอาดภายในและนอกอาคาร - ทางชีวภาพ โดยใชปลากินลูกน้า เชน ปลาหางนกยูง เปนตน ํ - ทางเคมี การใชสารทรายอะเบท เครื่องพนสารเคมี 1.10.3 การประสานผูนําชุมชน เพื่อใหมีบทบาทและมีสวนรวมในการควบคุม   ปองกันโรคไขเลือดออกอยางตอเนื่อง จริงจัง และเปนรูปธรรม 1.10.4 การแจงสถานการณโรค และแนวโนมการเกิดโรคใหผนําชุมชน และประชา ู ชนทราบเพื่อใหตื่นตัว และรณรงคในการควบคุมปองกันโรคอยางตอเนื่อง 1.10.5 ใหสุขศึกษาประชาสัมพันธทกรูปแบบในการควบคุมปองกันโรคไขเลือดออก ุ ลักษณะทางคลินิก องคการอนามัยโลกไดจัดแบงลักษณะทางคลินิกออกเปน 3 รูปแบบตามความรุนแรง ของโรค (กระทรวงสาธารณสุข 2542 : 4) ดังนี้ 1) Undifferentiated Fever (UF) หรือ Viral Syndrome มักพบในทารกหรือเด็ก เล็กที่มีอาการ ติดเชื้อเดงกี่เปนครั้งแรก ผูปวยจะมีเพียงอาการไข บางครั้งอาจมีผื่น Maculopapular ซึ่งแยกจากไขออกผื่นจากไวรัสอื่น ๆ ไมได แตจะวินิจฉัยไดจากการตรวจทาง ไวรัส และ Serology
  • 10. 2) ไขเดงกี่ (Dengue Fever หรือ DF) มักเปนในเด็กโตหรือผูใหญ ผูใหญอาจมี อาการไมรุนแรง มีเพียงไข รวมกับปวดศรีษะ เมื่อยตามตัว หรือมีไขสูงเฉียบพลัน ปวดศรีษะ ปวด รอบกระบอกตา ปวดกลามเนื้อ และปวดกระดูก(Breakbone Fever) และอาจมีผื่น บางรายอาจมีจุด เลือด (Petechiae) ที่ผิวหนัง และมีเสนเลือดเปราะแตกงาย(การทดสอบ Tourniquet ใหผลบวก หรือ Petechiae >10 จุด/ตารางนิ้ว)บางรายมีอาการเบื่ออาหาร อาเจียน ปวดทองรวมดวย ผูปวยสวนใหญ จะมีเม็ดเลือดขาวต่ํา บางรายอาจมีเกล็ดเลือดต่ําดวย 3) ไขเลือดออกเดงกี่ (DHF) โรคนี้มีลักษณะเฉพาะ นอกจากมีไขสูงและมีอาการ คลา ยกับไขเดงกี่ ในระยะแรกแลว ผูปวยจะมี Hemorrhagic Manifestation และมีเกร็ดเลือดต่ํา รวมกับมีการรั่วของพลาสมา ซึ่งถาพลาสมารั่วออกมากก็จะทําใหเกิดภาวะช็อกที่เรียกวา Dengue Shock Syndrome (DSS) การรั่วของพลาสมาสามารถตรวจพบไดจากการมีระดับHematocrit สูงขึ้น มีสารน้ําในชองเยื่อหุมปอดและชองทอง สําหรับความแตกตางระหวางไขเลือดออกเดงกี่และไขเดงกี่ ที่ชัดเจนคือ ในไขเลือด ออกเดงกี่ จะมีเกร็ดเลือดต่ํารวมกับการรั่วของพลาสมา และในไขเลือดออกเดงกี่ จะมีภาวะช็อ ก เกิดขึ้น ทําใหถึงตายได อายุของผูปว ยไขเลือดออกเดงกี่ จะเปน เด็กอายุต่ํากวา 16 ปม ากกวา ผูใหญ สวนไขเดงกี่ มีอาการมากแบบ Breakbone Fever นั้นจะพบในผูใหญมากกวาเด็ก การเกิดโรค เปนแบบใดขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ปจจัยที่สําคัญคือ อายุ ภาวะภูมิคุมกันของผูปวย และชนิด ของไวรัสเดงกี่ที่มีในขณะ นั้น 2.1.3 อาการทางคลินิกของโรคไขเลือดออกเดงกี่ หลังจากไดรับเชื้อจากยุงประมาณ 5 - 8 วัน (ระยะฟกตัว) ผูปวยจะเริ่มมีอาการ ของโรคซึ่งมีความรุนแรงแตกตางกันได ตั้งแตมีอาการคลายไขเดงกี่ ไปจนถึงมีอ าการรุน แรงมาก จนถึงช็อกและถึงเสียชีวิตได สวนโรคไขเลือดออกเดงกี่มีอาการสําคัญที่เปนรูปแบบคอนขางเฉพาะ 4 ประการ เรียงตามลําดับการเกิดกอนหลังดังนี้ 1) ไขสูงลอย 2 – 7 วัน 2) มีอาการเลือดออก สวนใหญจะพบที่ผิวหนัง 3) มีตับโต กดเจ็บ 4) มีภาวะการไหลเวียนลมเหลว/ภาวะช็อก
  • 11. 2.1.4 การตรวจทางหองปฏิบัติการ 1) เลือดขนขึ้นดูจากการเพิ่มขึ้นของ Hct เทากับหรือมากกวา 20 % เมื่อเทียบ กับ Hct เดิม หรือมีหลักฐานการรั่วของพลาสมา เชน มี Pleural effusion หรือ Ascites 2) เกร็ดเลือดนอยกวา 100,000 เซล/ลบ.ซม. 2.1.5 ความแรงของโรคไขเลือดออกแบงไดเปน 4 เกรด (Grade ) ดังนี้ เกรด 1 ( Grade l ) ผูปวยไมมีช็อก มีแต Positive Tourniquet Test เกรด 2 (Grade 2 ) ผูปวยไมมีช็อกแตมีเลือดออกที่อื่น เชน เลือดกําเดา อาเจียน เปนเลือด อุจจาระเปนเลือด เกรด 3 (Grade 3 ) ผูปวยช็อก เกรด 4 (Grade 4 ) ผูปวยที่ช็อกนาน วัดความดันและ/จับชีพจรไมได 2.1.6 การดําเนินโรคของโรคไขเลือดออก การดําเนินโรคของโรคไขเลือดออกแบงเปน 3 ระยะ ดังตอไปนี้ คือ 1) ระยะไขสูง ลักษณะเปนไขสูงเฉียบพลัน 39 – 41 °C เปนเวลา 2 – 7 วัน ซึ่งผูปวยอาจมีอาการชักได มักมีอาการหนาแดง ไมมีน้ํามูกหรือไอ ในเด็กโตอาจบนปวดศรีษะ ปวด กลามเนื้อ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดทอง เลือดออก ตับโตและกดเจ็บแตตัวไมเหลือง มีผื่นตามตัว (ผูปวยที่มีไขสูงลอยเกิน 7 วัน มีรอยละ 15) 2) ระยะวิกฤตหรือระยะช็อก มักเกิดขึ้นพรอม ๆ กับมีไขลง ในรายที่ไมรุน แรงผูปวยจะดีขึ้น บางรายอาจมีเหงื่อออก มือเทาเย็น ชีพจรเบาเร็ว ความดันเลือดเปลี่ยนแปลง เล็กนอยในชวงสั้น ๆ แลวกลับเปนปกติ ในรายที่รุนแรงอาการจะเลวลง ผูปวยจะกระสับกระสาย มือเทาเย็น ช็อกถาใหการรักษาไมทัน ผูปวยจะช็อกนาน เลือดออกรุนแรงและเสียชีวิตได 3) ระยะพักฟน ผูปวยเริ่มอยากรับประทานอาหาร เริ่มมีปสสาวะมาก อาจพบมีผื่นเปนวงสีขาวกระจายอยูทามกลางผื่นจุด เลือดออกตามแขนขา ชีพจรเตนชา