SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  98
โลก ดาราศาสตร์ และ
อวกาศ
อ.ศราวุธ โหน่งบัณฑิต
วิทยาศาสตร์ ม.5 รหัสวิชา ว42103
แผ่นดินไหว
Earthquakes
แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต
และทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวงได้
แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต
และทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวงได้
แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต
และทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวงได้
แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต
และทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวงได้
แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต
และทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวงได้
แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต
และทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวงได้
แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต
และทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวงได้
ภัยที่เกิดจากแผ่นดินไหวภัยที่เกิดจากแผ่นดินไหว
((EARTHQUAKE HAZARD)EARTHQUAKE HAZARD)
GroundGround
ShakingShaking
CollapseCollapse
SubsideSubside
LiquefacLiquefac
tiontion
ภัยแผ่นดินไหวภัยแผ่นดินไหว
((EARTHQUAKE HAZARD)EARTHQUAKE HAZARD)
GroundGround
DisplacementDisplacement
FloodingFlooding
FireFire
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
(EARTHQUAKE)(EARTHQUAKE)
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว ((Earthquake)Earthquake) คือคือ
การสั่นสะเทือนของพื้นดิน อันเนื่องมาการสั่นสะเทือนของพื้นดิน อันเนื่องมา
จากการปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบายจากการปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบาย
ความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออกความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออก
มาอย่างฉับพลัน เพื่อปรับสมดุลของมาอย่างฉับพลัน เพื่อปรับสมดุลของ
เปลือกโลกให้คงที่เปลือกโลกให้คงที่
สาเหตุของการเกิดสาเหตุของการเกิด
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แบ่งเป็นแบ่งเป็น 22 อย่าง คืออย่าง คือ
1.1. เกิดจากธรรมชาติเกิดจากธรรมชาติ (NATURAL(NATURAL
EARTHQUAKE)EARTHQUAKE)
2.2. เกิดจากการกระทำาของมนุษย์เกิดจากการกระทำาของมนุษย์
(INDUCED SEISMICITY)(INDUCED SEISMICITY)
แผ่นดินไหวที่เกิดจากการกระทำาแผ่นดินไหวที่เกิดจากการกระทำา
ของมนุษย์ของมนุษย์
(INDUCED SEISMICITY)(INDUCED SEISMICITY)
-- การเก็บกักนำ้าในเขื่อนการเก็บกักนำ้าในเขื่อน
ขนาดใหญ่ขนาดใหญ่
-- การทดลองระเบิดการทดลองระเบิด
ปรมาณูปรมาณู//ระเบิดระเบิด
นิวเคลียร์นิวเคลียร์
-- การระเบิดจากการทำาการระเบิดจากการทำา
เหมืองแร่เหมืองแร่
-- การสูบนำ้าใต้ดินมาใช้การสูบนำ้าใต้ดินมาใช้
มากเกินไปมากเกินไป
-- การผลิตนำ้ามันและก๊าซการผลิตนำ้ามันและก๊าซ
ธรรมชาติธรรมชาติ
-- การเก็บขยะนิวเคลียร์การเก็บขยะนิวเคลียร์
ห้ามได้ห้ามได้ -- ควบคุมได้ควบคุมได้ --
ป้องกันได้ป้องกันได้
แผ่นดินไหวที่เกิดจากแผ่นดินไหวที่เกิดจาก
ธรรมชาติธรรมชาติ
(NATURAL(NATURAL
EARTHQUAKE)EARTHQUAKE)
มักเกิดมากมักเกิดมาก
บริเวณขอบของบริเวณขอบของ
plateplate และตามและตาม
แนวรอยเลื่อนแนวรอยเลื่อนห้ามไม่ได้ ควบคุมไม่ห้ามไม่ได้ ควบคุมไม่
ได้ แต่ลดความได้ แต่ลดความ
รุนแรงและความเสียรุนแรงและความเสีย
หายได้ ถ้ารู้และมีการหายได้ ถ้ารู้และมีการ
เตือนล่วงหน้าเตือนล่วงหน้า
ทฤษฎีการเกิดแผ่นดินไหวทฤษฎีการเกิดแผ่นดินไหว
1.1. ทฤษฎีว่าด้วยการขยายตัวของเปลือกทฤษฎีว่าด้วยการขยายตัวของเปลือก
โลกโลก ((Dilation Source Theory)Dilation Source Theory)ทฤษฎีนี้เชื่อว่าแผ่นดินไหวเกิดจากการที่
เปลือกโลกเกิดการคดโค้งโก่งงออย่างฉับพลัน
และเมื่อวัตถุขาดออกจากกัน จึงปลดปล่อย
พลังงานออกมาในรูปคลื่นแผ่นดินไหว
2.2. ทฤษฎีว่าด้วยการคืนตัวของวัตถุทฤษฎีว่าด้วยการคืนตัวของวัตถุ
((Elastic Rebound Theory)Elastic Rebound Theory)ทฤษฎีนี้เชื่อว่าแผ่นดินไหวและการสั่น
สะเทือนของพื้นดินมีสาเหตุมาจากการเคลื่อนตัว
ของรอยเลื่อน (Fault) กล่าวคือ เมื่อรอยเลื่อน
เกิดการเคลื่อนที่ถึงจุดหนึ่ง วัตถุจะขาดออกจาก
กันและเสียรูปอย่างมาก พร้อมกับการปลดปล่อย
พลังงานออกมาในรูปของคลื่นแผ่นดินไหว และ
หลังจากนั้นวัตถุก็คืนตัวกลับสู่รูปเดิม
ทฤษฎีว่าด้วยการทฤษฎีว่าด้วยการ
คืนตัวของวัตถุคืนตัวของวัตถุ
((Elastic ReboundElastic Rebound
Theory)Theory)
สนับสนุนแนวความ
คิดที่เชื่อว่า แผ่นดินไหวมี
กลไกการกำาเนิดเกี่ยวข้อง
โดยตรง และใกล้ชิดกับ
แนวรอยเลื่อนมีพลัง
(Active Fault)ที่เกิดขึ้น
จากกระบวนการแปร
สัณฐาน ของเปลือก โลก
(Plate Tectonic)
เปลือกโลก (Crust) ประกอบด้วยแผ่นทวีป
(Continental Plate) และแผ่นมหาสมุทร (Ocean
Plate) หลายแผ่นต่อกัน ซึ่งมีการเคลื่อนที่ตลอด
เวลา ทำาให้บางแผ่นเคลื่อนออกจากกัน
(Divergent Plate Boundary)บางแผ่นเคลื่อน
เข้าหาและมุดซ้อนกัน (Convergent Plate
กลไกการขับเคลื่อนกลไกการขับเคลื่อน
แผ่นเปลือกโลกแผ่นเปลือกโลก
ส่วนประกอบส่วนประกอบ
ภายในโลกภายในโลก-
CrustCrust
-
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก
บริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่น
เคลื่อนที่เคลื่อนที่
ผ่านกันผ่านกัน
เคลื่อนที่เคลื่อนที่
เข้าหากันเข้าหากัน
เคลื่อนที่เคลื่อนที่
ออกจากกันออกจากกัน
รอยเลื่อนตามรอยเลื่อนตาม
แนวระนาบแนวระนาบ
((STRIKE-SLIPSTRIKE-SLIP
FAULT)FAULT)
ชนิดของรอยเลื่อนชนิดของรอยเลื่อน
(Along Fault)(Along Fault)
รอยเลื่อนปกติรอยเลื่อนปกติ
(NORMAL(NORMAL
FAULT)FAULT)
รอยเลื่อนย้อนรอยเลื่อนย้อน
(REVERSE(REVERSE
FAULT)FAULT)
แนวที่มีการเกิดแผ่นดินไหวอย่างต่อเนื่อง คือแนวขอบ หรือบริเวณ
รอยต่อของเพลต (plate) ต่างๆ ตามทฤษฏีการเคลื่อนตัวของ
เปลือกโลก (Plate Tectonic Theory)
แผ่นดินไหวไม่ได้เกิดขึ้นทั่วๆ ไปบนโลก แต่จะมีแนวของการเกิดที่
ค่อนข้างเป็นรูปแบบที่แน่นอน
Ring of FireRing of Fire บริเวณที่เกิดบริเวณที่เกิด
แผ่นดินไหวมากที่สุดแผ่นดินไหวมากที่สุด
การศึกษาแผ่นการศึกษาแผ่น
ดินไหวจากคลื่นดินไหวจากคลื่น
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
SEISMOS =SEISMOS =
EARTHQUAKEEARTHQUAKE
LOGOS =LOGOS =
SCIENCESCIENCE
SeismologySeismology คือคือ
การศึกษาเกี่ยวกับการศึกษาเกี่ยวกับ
แผ่นดินไหว และแผ่นดินไหว และ
คลื่นแผ่นดินไหวคลื่นแผ่นดินไหว ที่ที่
เคลื่อนที่ผ่านโลกเคลื่อนที่ผ่านโลก
และรอบๆ โลกและรอบๆ โลก
SeismologistSeismologist คือคือ
นักวิทยาศาสตร์ ผู้ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ ผู้ซึ่ง
ศึกษาแผ่นดินไหวศึกษาแผ่นดินไหว
และคลื่นแผ่นดินไหวและคลื่นแผ่นดินไหว
SEISMOLOGYSEISMOLOGY
คลื่นแผ่นดินไหวคลื่นแผ่นดินไหว
((SEISMIC WAVE)SEISMIC WAVE)
Seismic WaveSeismic Wave คือ คลื่นของคือ คลื่นของ
พลังงานพลังงาน (wave of energy)(wave of energy) ที่เกิดจากที่เกิดจาก
การแตกอย่างทันทีทันใดของหินภายในการแตกอย่างทันทีทันใดของหินภายใน
โลก หรือจากการระเบิดโลก หรือจากการระเบิด
Seismic WaveSeismic Wave เป็นพลังงานคลื่นที่เป็นพลังงานคลื่นที่
เดินทางผ่านชั้นภายในโลก และถูกเดินทางผ่านชั้นภายในโลก และถูก
บันทึกไว้ด้วยเครื่องตรวจวัดคลื่นแผ่นดินบันทึกไว้ด้วยเครื่องตรวจวัดคลื่นแผ่นดิน
ไหวไหว ((Seismograph)Seismograph) มีการเคลื่อนที่ออกมีการเคลื่อนที่ออก
ไปได้ทุกทิศทาง ทั้งในแนวเหนือไปได้ทุกทิศทาง ทั้งในแนวเหนือ --ใต้ใต้
ตะวันออกตะวันออก--ตะวันตก และในแนวดิ่งตะวันตก และในแนวดิ่ง
ชนิดของคลื่นแผ่นชนิดของคลื่นแผ่น
ดินไหวดินไหว
((TYPES OFTYPES OF
SEISMIC WAVE)SEISMIC WAVE)
แบ่งเป็นแบ่งเป็น 22 ชนิด คือชนิด คือ
คลื่นในตัวกลางคลื่นในตัวกลาง
((Body Wave) :Body Wave) :
หรือคลื่นเนื้อหรือคลื่นเนื้อ
เป็นคลื่นซึ่งเป็นคลื่นซึ่ง
สามารถเดินทางสามารถเดินทาง
ผ่านชั้นภายในผ่านชั้นภายใน
โลกโลก
คลื่นพื้นผิวคลื่นพื้นผิว
คลื่นในตัวกลางคลื่นในตัวกลาง
BODY WAVEBODY WAVE ประกอบด้วยคลื่น 2
ชนิด คือ
1. P wave หรือ
Primary Wave : เป็น
คลื่นตามยาว ที่
เคลื่อนที่ได้เร็วที่สุด
และสามารถเคลื่อนที่
ผ่านได้ทั้งหินแข็งและ
ของไหล มีลักษณะการ
เคลื่อนที่ของคลื่นเป็น
แบบ push and pull
ในทิศทางเดียวกันกับ
ทิศทางการเคลื่อนที่
ของคลื่น
2. S wave หรือ
Secondary Wave :
เป็นคลื่นตามขวาง ซึ่ง
เป็นคลื่นตัวที่สองที่เรา
คลื่นพื้นผิวคลื่นพื้นผิว
SURFACE WAVESURFACE WAVE
ประกอบด้วยคลื่นประกอบด้วยคลื่น 22
ชนิด คือชนิด คือ
1. Love Wave1. Love Wave
:: เป็นเป็น surfacesurface
wavewave ที่เคลื่อนที่ได้ที่เคลื่อนที่ได้
เร็วที่สุด โดยจะเร็วที่สุด โดยจะ
เคลื่อนที่ในลักษณะเคลื่อนที่ในลักษณะ
จากจาก side-to-sideside-to-side
2. Rayleigh2. Rayleigh
WaveWave :: เป็นคลื่นม้วนเป็นคลื่นม้วน
ซึ่งลักษณะการซึ่งลักษณะการ
เคลื่อนที่ของคลื่น จะเคลื่อนที่ของคลื่น จะ
เคลื่อนที่ ขึ้นลง และเคลื่อนที่ ขึ้นลง และ
ภาพรวมของแผ่นดินไหว
จุดกำาเนิดคลื่นแผ่นดินไหวจุดกำาเนิดคลื่นแผ่นดินไหว VSVS
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวเกิดจากการเคลื่อนตัวทันทีทันไดของรอยเลื่อน (fault)
พร้อมๆ กับการปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่นแผ่นดิน
ไหว (seismic wave)
ความลึกของแผ่นดินไหวความลึกของแผ่นดินไหว
((Depth of Earthquake)Depth of Earthquake)
โซนโซน
ความลึกของความลึกของ
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
จากผิวดินจากผิวดิน
((กมกม.).)
ตื้นตื้น 00 -- 7070
ปานกลางปานกลาง 7070 -- 300300
ลึกลึก 300300 -- 700700
((http://neic.usgs.gov/neishttp://neic.usgs.gov/neis
SeismologistSeismologist จะทำาการศึกษาจะทำาการศึกษา
แผ่นดินไหว ด้วยการออกไปตรวจสอบแผ่นดินไหว ด้วยการออกไปตรวจสอบ
ความเสียหายที่เกิดจากแผ่นดินไหวในความเสียหายที่เกิดจากแผ่นดินไหวใน
สนาม โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสนาม โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการ
ตรวจวัดด้วย เครื่องตรวจวัดด้วย เครื่อง SeismographSeismograph
SeismographSeismograph คือเครื่องมือที่ใช้คือเครื่องมือที่ใช้
ในการตรวจสอบและบันทึกแผ่นดินในการตรวจสอบและบันทึกแผ่นดิน
ไหว หรือ การสั่นของพื้นผิวโลก ซึ่งไหว หรือ การสั่นของพื้นผิวโลก ซึ่ง
เกิดจากคลื่นแผ่นดินไหวเกิดจากคลื่นแผ่นดินไหว ((seismicseismic
wave)wave) เส้นกราฟขึ้นเส้นกราฟขึ้น--ลง ที่ได้จากการลง ที่ได้จากการ
บันทึกด้วยเครื่องบันทึกด้วยเครื่อง SeismographSeismograph เรียกเรียก
ว่าว่า SeismogramSeismogram
เครื่องตรวจวัดแผ่นเครื่องตรวจวัดแผ่น
ดินไหวเครื่องแรกดินไหวเครื่องแรก
ประดิษฐ์โดย ชาวจีนประดิษฐ์โดย ชาวจีน
ชื่อชื่อ Chang HengChang Heng
เครื่องตรวจวัดเครื่องตรวจวัด
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
หลักการพื้นฐานของหลักการพื้นฐานของ
เครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหว
ในปัจจุบัน ทราบทิศทางในปัจจุบัน ทราบทิศทาง
ทราบตำาแหน่ง และทราบทราบตำาแหน่ง และทราบ
มาตราส่วนที่ใช้วัดขนาดของมาตราส่วนที่ใช้วัดขนาดของ
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหวThe RichterThe Richter
ScaleScale
The MercalliThe Mercalli
Scale :Scale :
:: เป็นการวัดขนาดของแผ่นดินเป็นการวัดขนาดของแผ่นดิน
ไหวไหว ((MagnitudeMagnitude)) ซึ่งพัฒนาขึ้นซึ่งพัฒนาขึ้น
โดยโดย Charles RicherCharles Richer ในปีในปี
คค..ศศ..19301930 เพื่อใช้วัดขนาดของแผ่นเพื่อใช้วัดขนาดของแผ่น
ดินไหวที่เกิดขึ้นทางตอนใต้ของดินไหวที่เกิดขึ้นทางตอนใต้ของ
แคลิฟอร์เนีย เป็นแคลิฟอร์เนีย เป็น Log ScaleLog Scale เลขเลข
ฐานสิบ โดยแต่ละลำาดับขนาดจะฐานสิบ โดยแต่ละลำาดับขนาดจะ
แตกต่างกันแตกต่างกัน 1010 เท่า แต่พลังงานเท่า แต่พลังงาน
แตกต่างกันประมาณแตกต่างกันประมาณ 3232 เท่าเท่า
เป็นเป็น
มาตราส่วนที่ใช้มาตราส่วนที่ใช้
สำาหรับวัดความสำาหรับวัดความ
รุนแรงของแผ่นรุนแรงของแผ่น
ดินไหวดินไหว
((IntensityIntensity)) ที่ที่
เกิดจากการสั่นเกิดจากการสั่น
และความเสียและความเสีย
หายที่เกิดจากหายที่เกิดจาก
แผ่นดินไหว ซึ่งแผ่นดินไหว ซึ่ง
จะแตกต่างกันไปจะแตกต่างกันไป
ในแต่ละที่ ขึ้นอยู่ในแต่ละที่ ขึ้นอยู่
กับระยะทางกับระยะทาง
ขนาดขนาด (Magnitude)(Magnitude)ของแผ่นของแผ่น
ดินไหวดินไหว เป็นค่าที่ได้จากการคำานวณเป็นค่าที่ได้จากการคำานวณ
จากการตรวจวัดความสูงของคลื่นแผ่นดินจากการตรวจวัดความสูงของคลื่นแผ่นดิน
ไหว มาตราที่นิยมใช้ ได้แก่ไหว มาตราที่นิยมใช้ ได้แก่
(1) Local Magnitude , M(1) Local Magnitude , MLL นิยมใช้มากนิยมใช้มาก
ที่สุดในประเทศไทย ใช้สำาหรับวัดแผ่นดินที่สุดในประเทศไทย ใช้สำาหรับวัดแผ่นดิน
ไหวท้องถิ่นหรือแผ่นดินไหวระยะใกล้ไหวท้องถิ่นหรือแผ่นดินไหวระยะใกล้ มีมี
หน่วยเป็นหน่วยเป็น ““ริคเตอร์ริคเตอร์””
(2) Surface-Wave Magnitude , M(2) Surface-Wave Magnitude , Mss
(3) Body-Wave Magnitude ,(3) Body-Wave Magnitude , MMbb
(4) Moment Magnitude ,(4) Moment Magnitude , MMww อาศัยอาศัย
หลักการและพื้นฐานของหลักการและพื้นฐานของ Seismic MomentSeismic Moment
มาตราริคเตอร์
ขนาด ความสั่นสะเทือน
1 - 2.9 สั่นไหวเล็กน้อย
3 - 3.9 ผู้คนในอาคารรู้สึกเหมือนรถไฟวิ่งผ่าน
4 - 4.9 สั่นไหวปานกลาง ผู้คนทั้งในและนอก
อาคารรู้สึก วัตถุห้อยแขวนแกว่งไกว
5 - 5.9 สั่นไหวรุนแรง เครื่องเรือน วัตถุมีการเคลื่อนที่
6 - 6.9 สั่นไหวรุนแรงมาก อาคารเริ่มพังเสียหาย
7.0 ขึ้นไป สั่นไหวร้ายแรง อาคารพังเสียหายมาก
แผ่นดินแยก วัตถุถูกเหวี่ยงกระเด็น
ความรุนแรงของแผ่นดินไหวความรุนแรงของแผ่นดินไหว
(Intensity)(Intensity)เป็นการวัดความรุนแรงจากปรากฏการณ์เป็นการวัดความรุนแรงจากปรากฏการณ์
ที่เกิดขึ้น ทั้งขณะเกิดและหลังการเกิดแผ่นดินที่เกิดขึ้น ทั้งขณะเกิดและหลังการเกิดแผ่นดิน
ไหว ที่มีต่อความรู้สึกของผู้คน ลักษณะที่สั่นไหว ที่มีต่อความรู้สึกของผู้คน ลักษณะที่สั่น
ไหว หรือความเสียหายของสิ่งก่อสร้าง มาตราไหว หรือความเสียหายของสิ่งก่อสร้าง มาตรา
ที่นิยมใช้ที่นิยมใช้ ได้แก่ มาตราโมดิฟายด์เมอร์แคลลี่ได้แก่ มาตราโมดิฟายด์เมอร์แคลลี่
(Modified(Modified Mercalli Intensity Scale)Mercalli Intensity Scale)
มาตราโมดิฟายด์เมอร์แคลลี่มาตราโมดิฟายด์เมอร์แคลลี่ ((ModifiedModified
Mercalli Intensity ScaleMercalli Intensity Scale))
Magnitude and IntensityMagnitude and Intensity
ComparisonComparison
MagnitudeMagnitude Typical MaximumTypical Maximum
Modified MercalliModified Mercalli
IntensityIntensity
1.0 – 3.01.0 – 3.0 II
3.0 – 3.93.0 – 3.9 II - IIIII - III
4.0 – 4.94.0 – 4.9 IV - VIV - V
5.0 – 5.95.0 – 5.9 VI - VIIVI - VII
6.0 – 6.96.0 – 6.9 VII - IXVII - IX
7.0 and higher7.0 and higher VIII or higherVIII or higher
(http://earthquak(http://earthquak
e.usgs.gov)e.usgs.gov)
วิธีการอ่านวิธีการอ่าน
SEISMOGRAMSEISMOGRAM ที่ได้จากที่ได้จาก
เครื่องเครื่อง SEISMOGRAPHSEISMOGRAPHเป็นการอ่านคลื่นแผ่นเป็นการอ่านคลื่นแผ่น
ดินไหวดินไหว ((SeismicSeismic
Wave)Wave) ที่ได้จากการที่ได้จากการ
บันทึกด้วยเครื่องบันทึกด้วยเครื่อง
SeismographSeismograph โดยโดย
คลื่นที่ใช้ในการอ่านคลื่นที่ใช้ในการอ่าน
เพื่อการคำานวณ คือเพื่อการคำานวณ คือ
คลื่นคลื่น Body waveBody wave ที่ที่
ประกอบด้วย คลื่นประกอบด้วย คลื่น P &P &
S WaveS Wave
หลักการพิจารณาหลักการพิจารณา :: PP
WaveWave หรือหรือ PrimaryPrimary
WaveWave จะเป็นคลื่นที่มาจะเป็นคลื่นที่มา
ถึงเครื่องเป็นอันดับถึงเครื่องเป็นอันดับ
แรกแรก เนื่องจากเคลื่อนที่เนื่องจากเคลื่อนที่
เพื่อใช้สำาหรับคำานวณหาเพื่อใช้สำาหรับคำานวณหา
ตำาแหน่งจุดศูนย์กลางแผ่นดินตำาแหน่งจุดศูนย์กลางแผ่นดิน
ไหว และขนาดของแผ่นดินไหว และขนาดของแผ่นดิน
ไหวไหว
คลื่นแผ่นดินไหว (Seismic wave)
แบ่งเป็น 3 ประเภท
(1.) P-waves หรือ Primary waves (คลื่นปฐมภูมิ)
(2.) S-waves หรือ Secondary waves (คลื่นทุติยภูมิ)
(3.) Surface waves (คลื่นพื้นผิว)
การหาตำาแหน่งจุดศูนย์กลางและการหาตำาแหน่งจุดศูนย์กลางและ
ขนาดของแผ่นดินไหวขนาดของแผ่นดินไหว•อ่านเวลาที่คลื่นอ่านเวลาที่คลื่น P Wave & SP Wave & S
WaveWave เดินทางมาถึงเดินทางมาถึง
•วัดขนาดของวัดขนาดของ AmplitudeAmplitude
•เทียบกับตารางเทียบกับตาราง
ใช้วงเวียนวาดรัศมีของวงกลมแต่ละวงใช้วงเวียนวาดรัศมีของวงกลมแต่ละวง
-- จุดที่ตัดกันของวงกลม คือจุดที่ตัดกันของวงกลม คือ
จุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหวจุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหว
ขนาด (Magnitude)
เป็นค่าของพลังงานที่แผ่นดินไหวปลดปล่อยออกมาในแต่ละครั้ง
คำานวณได้จากการตรวจวัดค่าความสูง (amplitude) ของคลื่น
แผ่นดินไหว หน่วยวัดเป็น ริคเตอร์ (Richter Scale)
ISOSEISMALISOSEISMAL
MAPMAP
จำานวนของแผ่นดินไหวทั่วโลกจำานวนของแผ่นดินไหวทั่วโลก
ตั้งแต่ ปีตั้งแต่ ปี 2000-20052000-2005MagnitudMagnitud
ee
20002000 20012001 20022002 20032003 20042004 20052005
8.0 to 9.98.0 to 9.9 11 11 00 11 22 11
7.0 to 7.97.0 to 7.9 1414 1515 1313 1414 1313 77
6.0 to 6.96.0 to 6.9 158158 126126 130130 140140 140140 112112
5.0 to 5.95.0 to 5.9 13451345 12431243 12181218 12031203 14881488 11991199
4.0 to 4.94.0 to 4.9 80458045 80848084 85848584 84628462 1091710917 92829282
3.0 to 3.93.0 to 3.9 47844784 61516151 61516151 76247624 79357935 51545154
2.0 to 2.92.0 to 2.9 37583758 41624162 41624162 77277727 63176317 28382838
1.0 to 1.91.0 to 1.9 10261026 944944 944944 25062506 13441344 1616
0.1 to 0.90.1 to 0.9 55 11 11 134134 103103 00
NoNo
MagnitudMagnitud
ee
31203120 29382938 29382938 36083608 29402940 586586
TotalTotal 22252225 2353423534 2745427454 3141931419 3119931199 19191919(http://earthquake.usg(http://earthquake.usg
เปลือกโลกแตกออกเป็นเพล
ตต่างๆ ใหญ่บ้าง เล็ก
บ้าง
ทางด้านตะวันตกของ
ประเทศไทย เป็นบริเวณ
ที่เพลต 2 เพลต คือ
อินเดีย-ออสเตรเลียเพลต
(India-Australian
Plate) มุดตัวลงไปใต้ยู
เรเซียเพลต (Eurasia
Plate) ทำาให้เปลือกโลก
บริเวณนี้มีพลัง มีการ
เคลื่อนตัว มีการเกิดแผ่น
ดินไหวมาอย่างต่อเนื่อง
ยาวนาน
ภาพจำาลองการเกิดแผ่นดินไหว
ขนาด 9 ริคเตอร์ และสึนามิ เมื่อ 26
ธันวาคม 2547 มีผู้เสียชีวิตมากกว่า
280,000 คน
การที่เปลือกโลกแตกออกเป็นเพลตต่างๆ และเคลื่อนที่ผ่านซึ่งกัน
และกันตลอดเวลา ทำาให้หินบริเวณเปลือกโลกอยู่ในภาวะกดดัน
ถูกกระทำาโดยแรงเค้น (Stress) อย่างต่อเนื่อง
เมื่อถึงจุดวิกฤต มวลหินจะแตกและเคลื่อนที่แยกออกจากกันอย่าง
ฉับพลัน พร้อมกับปล่อยพลังงานออกมาในรูปคลื่นแผ่นดินไหว
ความรุนแรงขึ้นอยู่กับปัจจัย
หลายอย่าง ที่สำาคัญ คือ ระยะ
ห่างจากผู้สังเกต และตำาแหน่ง
Epicenter ยิ่งอยู่ห่างออกไป
ความรุนแรงจะน้อยลง
หลังเกิดแผ่นดินไหวแต่ละครั้ง
เจ้าหน้าที่จะสำารวจความเสีย
หายและความรู้สึกของผู้คน
และ ทำาเป็นแผนที่แสดงความ
รุนแรงที่ตำาแหน่งต่างๆ
แผนที่แสดงความรุนแรงของแผ่นดิน
ไหว Isoseismical Map
สถานีวัดแผ่นดินไหวในประเทศไทย
คลื่นแผ่นดินไหวสามารถเดินทางผ่านเปลือกโลกไปได้ไกลเป็น
พันกิโลเมตร ขึ้นอยู่กับขนาดของแผ่นดินไหว การตรวจวัดแผ่น
ดินไหวจึงทำาเป็นเครือข่าย ทั้งในระดับประเทศ และระดับโลก
เครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว สามารถตรวจหา
• เวลาที่แผ่นดินไหวเกิด
• ศูนย์กลางแผ่นดินไหว (Epicenter)
• ความลึกของจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว (Focal depth)
• ขนาดของพลังงานที่ปลดปล่อยออกมา (Magnitude)
2506 เริ่มสถานีตรวจวัดแผ่นดิน
ไหวสถานีแรกที่เชียงใหม่ โดย
กรมอุตุนิยมวิทยา
ปัจจุบัน
ระบบอนาล็อก 13 แห่ง ที่
เชียงราย เชียงใหม่ น่าน
เขื่อนภูมิพล จ.ตาก เลย
อุบลราชธานี นครราชสีมา
นครสวรรค์ เขื่อนเขาแหลม
และอำาเภอเมือง จ. กาญจนบุรี
จันทบุรี ประจวบคีรีขันธ์
สงขลา และภูเก็ต
ระบบดิจิตอล 11 แห่ง ที่ เชียงราย
แม่ฮ่องสอน แพร่ เขื่อนภูมิพล
จ. ตาก ขอนแก่น เลย
ปากช่อง จ. นครราชสีมา
สุราษฎร์ธานี และสงขลา
สถานีตรวจวัดตามวัตถุประสงค์เฉพาะ
• กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ตรวจจับการทดลองระเบิด
นิวเคลียร์
• การไฟฟ้าฯ ตรวจแผ่นดินไหวขนาดเล็ก เครือข่ายบริเวณ
เขื่อนทางภาคตะวันตก
• กรมชลประทาน บริเวณจังหวัดแพร่ เพื่อศึกษาลักษณะ
การเกิดแผ่นดินไหวก่อนการสร้างเขื่อน
• กรมโยธาธิการ และจุฬาฯ วิจัยการตอบสนองของ
อาคาร จากแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
ในประเทศไทย
ประเทศไทยไม่มีแนวการไหว
สะเทือนพาดผ่านเหมือนกับ
ประเทศอินโดนีเซียและพม่า
ซึ่งมีแนวเลื่อนขนาดใหญ่พาด
ผ่านตามแนวขอบเพลต
อย่างไรก็ตาม ไม่ได้
หมายความว่าจะไม่มีโอกาส
เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่
ขึ้นได้ เนื่องจากมีรอยเลื่อนที่
ยังมีพลัง (Active fault) ที่ยัง
มีการเคลื่อนตัวอยู่ตลอดเวลา
ภาพรวมของการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย
Active Fault
รอยเลื่อนมีพลัง
รอยเลื่อนแม่จัน
• ยาวประมาณ 130 กม.
• ตั้งแต่ปี 2521
ขนาด >3 ริคเตอร์ เกิดตาม
แนวรอยเลื่อนนี้ 10 ครั้ง
3 ครั้งมีขนาด >4.5 ริคเตอร์
โดยเฉพาะวันที่ 1 กันยายน
2521 มีขนาด >4.9 ริคเตอร์
รอยเลื่อนแพร่
• ยาวประมาณ 115 กม.
• รอบ 10 ปีที่ผ่านมา
ขนาด 3.4 ริคเตอร์
มากกว่า 20 ครั้ง
ล่าสุด ขนาด 3 ริคเตอร์
เมื่อ 10 กันยายน 2533
รอยเลื่อนแม่ทา
• ยาวประมาณ 55 กม.
• การศึกษาอย่างละเอียดเฉพาะ
ในปี 2521
• มีแผ่นดินไหวขนาดเล็ก
อยู่หลายครั้ง
รอยเลื่อนเถิน
• ยาวประมาณ 90 กม.
• 23 ธันวาคม 2521 เกิดแผ่น
ดินไหวขนาด 3.7 ริคเตอร์
รอยเลื่อนเมย-อุทัยธานี
• ยาวประมาณ 250 กม.
• 23 กันยายน 2476
ไม่ทราบขนาด
• 23 กุมภาพันธ์ 2518
ขนาด 5.6 ริคเตอร์
รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์
• ยาวประมาณ 250 กม.
● ตามลำานำ้าแควน้อย และ
ต่อเข้าไปเป็นรอยเลื่อนสะแกง
ในประเทศพม่า
เกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็ก
หลายพันครั้ง
รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์
• ยาวประมาณ 500 กม.
• รอบ 10 ปีที่ผ่านมา มีแผ่นดิน
ไหวขนาดเล็กเกิดขึ้นหลายร้อย
ครั้ง ขนาดใหญ่ที่สุด 5.9 ริค
เตอร์ เมื่อ 22 เมษายน 2526
รอยเลื่อนระนอง
• ยาวประมาณ 270 กม.
• 30 กันยายน 2521 มีขนาด
5.6 ริคเตอร์
รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย
• ยาวประมาณ 150 กม.
• มีรายงานเกิดแผ่นดินไหว
16 พฤษภาคม 2476
7 เมษายน 2519
17 สิงหาคม 2542
29 สิงหาคม 2542
ความเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย
แผนที่เสี่ยงภัยแผ่น
ดินไหว
การพยากรณ์การเกิดแผ่นดินไหว
การพยากรณ์การเกิดแผ่นดินไหวไม่ได้
ก่อนการเกิดแผ่นดินไหว
• นำ้าในบ่อนำ้า ขุ่นมากขึ้น ไหวหมุนเวียน ระดับนำ้าเปลี่ยนแปลง
มีฟองอากาศ และรสขม
• ปริมาณก๊าซเรดอนเพิ่มขึ้น
• แมลงสาบจำานวนมากวิ่งเพ่นพ่าน
• สุนัข เป็ด ไก่ หมู หมี ตื่นตกใจ
• หนู งู วิ่งออกมาจากรู
• ปลา กระโดดขึ้นจากฝั่งนำ้า
• อื่นๆ
ภัยพิบัติจากแผ่นดินไหว
• เกิดการเลื่อนเคลื่อนที่ของผิวโลก (Surface faulting)
• การสั่นสะเทือนของผิวดิน (ground shaking)
• การพังทลายของดิน (landslides)
• ภาวะดินเหลว (liquefaction)
• การทรุดตัวของพื้นดิน (subsidence)
• สึนามิ (Tsunami)
• ภูเขาไฟระเบิด (volcanoes)
สึนามิ (Tsunami)
สึนามิ (Tsunami) คลื่นยักษ์ผลจากแผ่นดินไหว
สึนามิ เมื่อ 26 ธันวาคม 2547
สึนามิ เมื่อ 26 ธันวาคม 2547
สึนามิ เมื่อ 26 ธันวาคม 2547
คลื่นยักษ์ไปไกลถึงแอฟริกา
การป้องกันและการปฏิบัติตน
ก่อนการเกิด ● ระหว่างการเกิด ● หลังการเกิด
ก่อนการเกิดแผ่นดินไหว
1. ควรมีไฟฉายพร้อมถ่านไฟฉาย และกระเป๋ายาเตรียมไว้ในบ้าน และให้
ทุกคนทราบว่าอยู่ที่ไหน
2. ศึกษาการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
3. ควรมีเครื่องมือดับเพลิงไว้ในบ้าน เช่น เครื่องดับเพลิง ถุงทราย เป็นต้น
4. ควรทราบตำาแหน่งของวาล์วปิดนำ้า วาล์วปิดก๊าซ สะพานไฟฟ้า สำาหรับ
ตัดกระแสไฟฟ้า
5. อย่าวางสิ่งของหนักบนชั้น หรือหิ้งสูง ๆ เมื่อแผ่นดินไหวอาจตกลงมา
เป็นอันตรายได้
6. ผูกเครื่องใช้หนัก ๆ ให้แน่นกับพื้นผนังบ้าน
7. ควรมีการวางแผนเรื่องจุดนัดหมาย ในกรณีที่ต้องพลัดพรากจากกัน
เพื่อมารวมกันอีกครั้ง ในภายหลัง
8. สร้างอาคารบ้านเรือนให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่กำาหนด สำาหรับพื้นที่
เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว
เมื่อแผ่นดินไหว
หมอบ!
มุดใต้โต๊ะ ยึดให้มั่น
หาที่กำาบัง!
ยึดให้มั่น!
ระหว่างเกิดแผ่นดินไหว
1. อย่าตื่นตกใจ พยายามควบคุมสติอยู่อย่างสงบ ถ้าท่านอยู่ในบ้านก็ให้อยู่ใน
บ้าน ถ้าท่านอยู่นอกบ้านก็ให้อยู่นอกบ้าน เพราะส่วนใหญ่ได้รับบาดเจ็บ
เพราะวิ่งเข้าออกจากบ้าน
2. ถ้าอยู่ในบ้านให้ยืนหรือหมอบอยู่ในส่วนของบ้านที่มีโครงสร้างแข็งแรง ที่
สามารถรับนำ้าหนัก ได้มาก และให้อยู่ห่างจากประตู ระเบียง และหน้าต่าง
3. หากอยู่ในอาคารสูง ควรตั้งสติให้มั่น และรีบออกจากอาคารโดยเร็ว หนีให้
ห่างจากสิ่งที่จะล้มทับได้
4. ถ้าอยู่ในที่โล่งแจ้ง ให้อยู่ห่างจากเสาไฟฟ้า และสิ่งห้อยแขวนต่าง ๆ ที่
ปลอดภัยภายนอกคือที่โล่งแจ้ง
5. อย่าใช้ เทียน ไม้ขีดไฟ หรือสิ่งที่ทำาให้เกิดเปลวหรือประกายไฟ เพราะอาจ
มีแก๊สรั่วอยู่บริเวณนั้น
6. ถ้าท่านกำาลังขับรถให้หยุดรถและอยู่ภายในรถ จนกระทั่งการสั่นสะเทือน
จะหยุด
7. ห้ามใช้ลิฟต์โดยเด็ดขาดขณะเกิดแผ่นดินไหว
8. หากอยู่ชายหาดให้อยู่ห่างจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นขนาดใหญ่ซัด
เข้าหาฝั่ง
หลังเกิดแผ่นดินไหว
1. ควรตรวจตัวเองและคนข้างเคียงว่าได้รับบาดเจ็บหรือไม่ ให้ทำาการ
ปฐมพยาบาลขั้นต้นก่อน
2. ควรรีบออกจากอาคารที่เสียหายทันที เพราะหากเกิดแผ่นดินไหวตามมา
อาคารอาจพังทลายได้
3. ใส่รองเท้าหุ้มส้นเสมอ เพราะอาจมีเศษแก้ว หรือวัสดุแหลมคมอื่น ๆ และสิ่ง
หักพังแทง
4. ตรวจสายไฟ ท่อนำ้า ท่อแก๊ส ถ้าแก๊สรั่วให้ปิดวาล์วถังแก๊ส ยกสะพานไฟ
อย่าจุดไม้ขีดไฟ หรือก่อไฟจนกว่าจะแน่ใจว่าไม่มีแก๊สรั่ว
5. ตรวจสอบว่า แก๊สรั่ว ด้วยการดมกลิ่นเท่านั้น ถ้าได้กลิ่นให้เปิดประตู
หน้าต่างทุกบาน
6. ให้ออกจากบริเวณที่สายไฟขาด และวัสดุสายไฟพาดถึง
7. เปิดวิทยุฟังคำาแนะนำาฉุกเฉิน อย่าใช้โทรศัพท์ นอกจากจำาเป็นจริง ๆ
8. สำารวจดูความเสียหายของท่อส้วม และท่อนำ้าทิ้งก่อนใช้
9. อย่าเป็นไทยมุงหรือเข้าไปในเขตที่มีความเสียหายสูง หรืออาคารพัง
10. อย่าแพร่ข่าวลือ
มาตรการป้องกันภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิ
• เมื่อรู้สึกว่ามีการสั่นไหวเกิดขึ้น ขณะที่อยู่ในทะเลหรือบริเวณชายฝั่ง
ให้รีบออกจากบริเวณชายฝั่ง ไปยังบริเวณที่สูงหรือที่ดอนทันที โดยไม่
ต้องรอประกาศจากทางการ เนื่องจากคลื่นสึนามิเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
สูง
• เมื่อได้รับฟังประกาศจากทางการเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณ
ทะเลอันดามัน ให้เตรียมรับสถานะการณ์ที่อาจจะเกิดคลื่นสึนามิตามมา
ได้โดยด่วน
• สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่งหากทะเลมีการลดระดับของนำ้าลงมาก
หลังการเกิดแผ่นดินไหว ให้สันนิษฐานว่าอาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้
ให้อพยพคนในครอบครัว สัตว์เลี้ยงให้อยู่ห่างจากฝั่งมาก ๆ และอยู่ใน
ที่ดอนหรือที่นำ้าท่วมไม่ถึง
• ถ้าอยู่ในเรือซึ่งจอดอยู่ในท่าเรือหรืออ่าว ให้รีบนำาเรือออกไปกลาง
ทะเล เมื่อทราบว่าจะเกิดคลื่น สึนามิพัดเข้าหา เพราะคลื่นสึนามิที่อยู่
ไกลชายฝั่งมาก ๆ จะมีขนาดเล็ก
• คลื่นสึนามิอาจเกิดขึ้นได้หลายระลอกจากการเกิดแผ่นดินไหวครั้ง
เดียว เนื่องจากมีการแกว่งไปมาของนำ้าทะเล ดังนั้นควรรอซักระยะ
เวลาหนึ่งจึงสามารถลงไปชายหาดได้
• ติดตามการเสนอข่าวของทางราชการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
• หากที่พักอาศัยอยู่ใกล้ชายหาด ควรจัดทำาเขื่อน กำาแพง ปลูกต้นไม้
วางวัสดุ ลดแรงปะทะของนำ้าทะเล และก่อสร้างที่พักอาศัยให้มั่นคงแข็ง
แรงในบริเวณย่านที่มีความเสี่ยงภัยในเรื่องคลื่นสึนามิ
• หลีกเลี่ยงการก่อสร้างใกล้ชายฝั่งในย่านที่มีความเสี่ยงภัยสูง
• วางแผนในการฝึกซ้อมรับภัยจากคลื่นสึนามิ เช่นกำาหนดสถานที่ใน
การอพยพ แหล่งสะสมนำ้าสะอาด เป็นต้น
• จัดวางผังเมืองให้เหมาะสม บริเวณแหล่งที่อาศัยควรมีระยะห่างจาก
ชายฝั่ง
• ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชนในเรื่องการป้องกันและบรรเทา
ภัยจากคลื่นสึนามิและแผ่นดินไหว
• วางแผนล่วงหน้าหากเกิดสถานการณ์ขึ้นจริง ในเรื่องการประสานงาน
ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำาหนดขั้นตอนในด้านการช่วยเหลือ
บรรเทาภัย ด้านสาธารณะสุข การรื้อถอนและฟื้นฟูสิ่งก่อสร้าง เป็นต้น
• อย่าลงไปในชายหาดเพื่อดูคลื่นสึนามิ เพราะเมื่อเห็นคลื่นแล้วก็ใกล้
เกินกว่าจะหลบหนีได้ทัน
• คลื่นสึนามิในบริเวณหนึ่ง อาจมีขนาดเล็ก แต่อีกบริเวณหนึ่งอาจมี
ขนาดใหญ่ ดังนั้นเมื่อได้ยินข่าวการเกิดคลื่นสึนามิขนาดเล็กในสถาน
ที่หนึ่ง จงอย่าประมาทให้เตรียมพร้อมรับสถานการณ์
แหล่งข้อมูล
• http://earthquake.usgs.gov
• http://www.tmd.go.th/knowledge/know_earth
quake01.html
• http://www.dmr.go.th/geohazard/earthquake/
EQthaiHAZARD.htm
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)

Contenu connexe

Tendances

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาTa Lattapol
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงnarongsakday
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีคุณครู กดชะกอน
 
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงAnuchitKongsui
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติsoysuwanyuennan
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกMoukung'z Cazino
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 

Tendances (20)

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Change e2009 1
Change e2009 1Change e2009 1
Change e2009 1
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
 
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
Earth
EarthEarth
Earth
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 

Similaire à แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)

คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
โลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลกโลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลกLibrru Phrisit
 
โลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลกโลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลกLibrru Phrisit
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403Piyawan
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403Piyawan
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402Petch Tongthummachat
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวNIMT
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 

Similaire à แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class) (20)

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
โลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลกโลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลก
 
โลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลกโลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลก
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
P11
P11P11
P11
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 

แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)