SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
สุขภาพกายและสุขภาพจิต จาเป็นอย่างยิ่งที่ควรต้องได้รับการสนับสนุน
ส่งเสริมไปด้วยกัน ผู้ที่มีโรคทางกายเรื้อรัง จิตใจก็จะเป็นส่วนสาคัญที่คอย
ประคองให้ผู้ป่วยมีกาลังใจ และร่วมมือในการรักษา เพื่อต่อสู้โรคทางกาย
ต่อไปอย่างมุ่งมั่น แต่หากมีปัญหาทางจิตใจที่ไม่ได้รับการวินิจฉัย หรือไม่
ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม ก็จะส่งผลซ้าเติมโรคทางกายที่เป็นอยู่ จนเกิด
ความรู้สึกเบื่อหน่าย ท้อแท้สิ้นหวัง หรือแม้กระทั่งไม่อยากมีชีวิตอยู่อีกไป
เพื่อรณรงค์ให้ประชากรทั่วโลกตระหนักถึงความสาคัญของสุขภาพจิต
และปัญหาการเจ็บป่วยทางจิต โดยแต่ละปีจะมีการคัดเลือกประเด็นหลักที่
มีความสาคัญในช่วงเวลานั้นๆ เพื่อให้ทั่วโลกได้ตื่นตัวและเล็งเห็นถึง
ความสาคัญของปัญหา และช่วยกันป้องกันไม่ให้ปัญหาดังกล่าวลุกลาม
สาหรับปีพุทธศักราช 2555 นี้ ประเด็นหลักที่ใช้รณรงค์คือ “ปัญหาโรค
ซึมเศร้า” โดยกาหนดข้อความรณรงค์คือ “โรคซึมเศร้า: วิกฤติโลก”
1. มีสติปัญญา และมีความสามารถใช้ปัญญาในการแก้ปัญหา และอุปสรรคใน
ชีวิต ภายใต้ความถูกต้อง และความมีเหตุผล
2. มีอารมณ์มั่นคง สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดีเมื่อเผชิญกับสถานการณ์ และ
ปัญหาที่เป็นอุปสรรค พร้อมแสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
3. มีความสดชื่น เบิกบาน แจ่มใส ไม่เครียด ไม่มีความวิตกกังวลใจจนเกินไปมี
อารมณ์ขันบ้างตามสมควร
7. กล้าเผชิญกับปัญหา และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
8. รู้จักให้อภัย และเข้าใจผู้อื่น
9. รู้จักตัวเองในจุดเด่น จุดด้อย และพร้อมที่จะปรับตัวเข้ากับสถานการณ์หรือ
สังคมได้เป็นอย่างดี
10. รู้จักแสดงความยินดีหรือชมเชยผู้อื่นอย่างจริงใจ
4. มีความตั้งใจ และมุ่งมั่นในสิ่งที่คาดหวังหรือสิ่งที่ทาในปัจจุบัน ไม่ย่อท้อต่อ
อุปสรรค และปัญหา
5. มีความเชื่อมั่นในตัวเอง และมั่นใจในสิ่งที่ตนเองกระทาภายใต้ความมีเหตุผล
6. มีความเป็นตัวของตัวเอง ไม่อ่อนไหวต่อปัจจัยภายนอก ภายใต้ความถูกต้อง
และมีเหตุผล
เป็นอุปสรรคสาคัญในการดาเนินชีวิตในสังคมให้มีความสุข ปัญหาทาง
สุขภาพจิตเหล่านี้จะแสดงอาการทั้งทางจิตใจ และทางร่างกาย หรือเรียกทาง
การแพทย์ว่า โรคทางจิตเวช
1.ปัจจัยทางร่างกาย
ร่างกายที่อ่อนแอ ปรับตัวได้น้อย เกิดอาการทางร่างกายและจิตใจได้
ง่าย เช่น ผู้ที่ป่วย มีโรคประจาตัว โรคร้ายแรงหรือเรื้อรัง ทาให้เกิด
ความเครียดสูง
ร่างกายที่แข็งแรงทาให้สมองสดชื่นแจ่มใส กล้ามเนื้อตื่นตัวพร้อมใช้
งาน การแก้ปัญหาทาได้ดี ไม่ค่อยเครียด สู้ความเครียดได้มากกว่า
ร่างกายที่อ่อนแอ การทางานของอวัยวะต่างๆมีการประสานงานกันดี มี
ความยืดหยุ่นสูง
การใช้ยาหรือสารเสพติด อาจเกิดอาการเครียดกังวลสูง โดยเฉพาะเวลาขาดยา
การรักษาร่างกายให้แข็งแรง จึงป้องกันและลดความเครียดได้ เช่นการออกกาลังกาย
สม่าเสมอ ดูแลสุขภาพให้ถูกสุขลักษณะ มีเวลาพักผ่อนเพียงพอ หลีกเลี่ยงปัจจัย
เสี่ยงต่างๆ เช่น เหล้า บุหรี่ ควรแบ่งเวลาในแต่ละวันดังนี้ เวลาเรียนหรือทางาน
8 ชั่วโมง เวลาพักผ่อนออกกาลังกาย 8 ชั่วโมง เวลาพักผ่อนนอนหลับ8 ชั่วโมง
2. ปัจจัยทางจิตใจ
คนแต่ละคนมีพื้นอารมณ์ตอบสนองต่อสิ่งเร้าแตกต่างกัน บางคน
เครียดง่าย บางคนเครียดยาก บางคนปรับตัวเก่ง การตอบสนองนี้ส่วน
หนึ่งเป็นคุณสมบัติติดตัวมาตั้งแต่เกิด บางส่วนเกิดจากการเลี้ยงดูภายใน
ครอบครัว การโอกาสเผชิญปัญหาและแก้ไขปัญหาจนสาเร็จ การได้
ฝึกฝนจนเกิดความชานาญคุ้นเคยชินกับปัญหา ทาให้เผชิญความเครียดเก่ง
การปรับตัวได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
3. ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอก
สิ่งแวดล้อมภายนอก ที่มีผลต่อสุขภาพจิต ได้แก่ครอบครัว เพื่อน เพื่อน
ร่วมงาน ที่อยู่อาศัย ที่ทางานชุมชน และประเทศชาติ เป็นตัวกระตุ้นสาคัญที่ทา
ให้จิตใจมีความเครียด วิตกกังวลแตกต่างกัน การทางานที่มีอันตราย ความเสี่ยง
สูง ไม่แน่นอน งานที่ต้องอดนอน เวลานอนไม่แน่นอน เกิดอุบัติเหตุสูง การ
ทางานน่าเบื่อ ขาดการพักผ่อนหรือผ่อนคลาย งานที่มีความคาดหวังสูง ต้องใช้
พลังกาย พลังใจ สายตาหรือสมาธิสูงๆ
4. ความสามารถในการปรับตัว
คนมีวิธีการปรับตัวแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับพื้นฐานบุคลิกภาพ ถ้าไม่มีการ
ฝึกในการเผชิญความเครียดอย่างถูกต้อง จะใช้วิธีการแก้ไขปัญหาแบบเดิม ซึ่ง
อาจไม่ถูกต้อง และเป็นผลเสียต่อสมรรถภาพ เช่น บางคนใช้วิธีโหมทางาน
มากๆ โดยคิดว่ายิ่งหนักยิ่งดี แต่ความจริงแล้ว ควรมีความพอดีๆ หนักมาก
เกินไปร่างกายทรุดโทรม จิตใจตึงเครียด ทาให้ยิ่งผลงานแย่ลง
กลุ่มของโรคที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติหรือความบกพร่องทางจิตใจ รวมไปถึง
การผิดปกติของพฤติกรรมโดยธรรมชาติที่มีสาเหตุมากจากปัจจัยหลายด้านด้วยกัน
ได้แก่
1. พันธุกรรม และร่างกาย
ที่เกิดจากการสืบสายเลือดของผู้ที่มีปัญหาทางจิตอาจมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด
โรคทางจิตได้ง่ายกว่าคนทั่วไปเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้นจากปัจจัยต่างๆ รวมไปถึงความ
บกพร่องของร่างกายขณะกาเนิด
2. ความผิดปกติทางชีวเคมี
ที่เกิดจากการได้รับสารเคมีหรือสารเสพติด
รวมถึงปัจจัยที่เกิดจากการเจ็บป่วยด้วยโรคอื่นๆที่
มีผลต่อการสร้าง การหลั่งของสารเคมีในร่างกายที่
เกี่ยวข้องกับระบบประสาท และสมอง สิ่งเหล่านี้มี
ผลทาให้เกิดความผิดปกติทางจิตได้ง่าย
3. ปัจจัยทางด้านสังคม
อันเกิดจากเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจ
รวมไปถึงภาวะแรงกดดันทางสังคมจากการใช้
ชีวิต อาทิ การประสบอุบัติเหตุ การสูญเสียบุคคล
อันเป็นที่รัก การถูกปฏิเสธจากสังคมหรือถูก
ซ้าเติมในปมด้อยของตนจากสังคม เป็นต้น
4. ปัจจัยทางด้านปัญญา และจิตใจ
ที่เกิดจากการขาดวิจารณญาณในการรับฟัง การพูด การกระทา และ
การตัดสินใจต่อการแก้ไขปัญหาต่างๆอย่างไม่ถูกต้อง รวมถึงภาวะทางจิตใจ
ที่ขาดความเข้มแข็ง แน่วแน่ และอ่อนไหวง่าย สิ่งเหล่านี้มีส่วนนามาซึ่ง
กระบวนการทางจิตที่ผิดปกติได้ง่าย
1. โรคจิต (Psychosis)
เป็นโรคทางจิตที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงมากกว่าโรคประสาทจากภาวะทาง
ความคิด อารมณ์ และพฤติกรรมที่ผิดปกติไปจากคนทั่วไปแต่ผู้ป่วยเองจะไม่
สามารถแยกแยะว่าพฤติกรรมของตนเองผิดแปลกไปจากคนทั่วไปจากภาวะการ
หลงผิดทางจิต โรคจิตเวชประเภทนี้แบ่งตามสาเหตุออกเป็น 2 กลุ่มหลัก คือ
1.1 โรคจิตที่เกิดจากความผิดปกติทางกายและสารเคมี
1.2 โรคจิตอื่นๆที่เกิดจากความผิดปกติทางอารมณ์ และจิตใจ
1.1 โรคจิตที่เกิดจากความผิดปกติทางกาย และสารเคมี
– โรคสมองเสื่อมในวัยชรา (senile and presenile dementia)
– โรคจิตจากสุรา (alcoholic psychoses)
– โรคจิตชั่วคราวจากสาเหตุฝ่ายกาย (transient organic psychotic conditions)
– โรคจิตจากยา (drug psychoses)
1.2 โรคจิตอื่นๆที่เกิดจากความผิดปกติทางอารมณ์ และจิตใจ
– โรคจิตเภท (schizophrenia)
– โรคจิตทางอารมณ์ (affective psychoses)
– โรคหลงผิด (Delusional Disorder)
2. โรคประสาท (Neurosis)
โรคประสาทเป็นโรคทางจิตประเภทหนึ่งที่มีอาการรุนแรงน้อยกว่าโรค
จิต อาการโดยมากจะเป็นเพียงสภาวะการแปรปรวนทางจิตใจ การวิตกกังวล
ภายใต้การใช้ชีวิตตามปกติเหมือนคนทั่วไป ซึ่งอาการเหล่านี้จะแสดงออกมา
ขณะที่ผู้ป่วยเองสามารถรับรู้ จดจา และเข้าใจในพฤติกรรมของตัวเองได้ แบ่ง
ชนิดตามอาการของโรค ได้แก่
– โรควิตกกังวล (Anxiety Neurosis)
– หวาดกลัว (Phobic Neurosis)
– ย้าคิดย้าทา (Obscessive Compulsive Neurosis)
– ซึมเศร้า (Depressive Neurosis)
– บุคลิกวิปลาส (Depersonalization)
3. โรคปัญญาอ่อน (mental retardation)
โรคนี้เกิดขึ้นจากสภาวะระดับสติปัญญาที่ต่ากว่าปกติตามวัยของ
คนทั่วไปที่ควรจะมี อันเกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น พันธุกรรม
สารเคมี ภาวะของโรค และปัจจัยแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ เป็นต้น
การรักษาโดยการใช้ยา
1. ยาต้านโรคจิต ( Antipsychotics, Neurolepticsor Major Tranquilizers)
2. ยาคลายกังวล และยาต้านความวิตกกังวล ( Antianxiety , Minor Tranquilizers)
3. ยาต้านความเศร้าและระงับอารมณ์เศร้า ( Antidepressants)
4. ยาควบคุมอารมณ์ ( Mood StabilizingDrugs, antimanicdrug)
5. ยาป้องกัน และรักษาอาการข้างเคียงจากการใช้ยาต้านโรคจิต ( AnticholinergicDrugs ,
Antiparkinsonian Agents )
6. ยานอนหลับ ( Hypnotic Drug , Sedative Drugs , CNS-Depressants)
7. ยาที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางอื่นๆ ( Others CNS Drugs ) : DopaminergicD.,
Anticonvuisants , CNS Stimulants เช่น Ritalin HCL)
1. จิตบาบัด (Psychotherapy)
2. การให้การปรึกษา (Counseling)
3. จิตศึกษา (Psycho-education)
4. กิจกรรมบาบัด
5. สิ่งแวดล้อมบาบัด
1. การส่งเสริมสุขภาพร่างกาย
1.1 การรักษาร่างกายให้แข็งแรง ปราศจากโรค
1.2 การออกกาลังกาย แบบแอโรบิค
2. การส่งเสริมทางจิตใจ
2.1 การฝึกสู้ปัญหาให้เกิดความเคยชิน ไม่หลบเลี่ยงปัญหา พัฒนาตนเองให้
ปรับตัวได้มากขึ้นเมื่อพบปัญหา มองหาทางแก้อย่างท้าทาย พิจารณาหา
สาเหตุของปัญหา และแก้ไขที่สาเหตุ
2.2 เปลี่ยนแปลงตนเองให้คุ้นเคย ยอมรับสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ทาใจให้
ยอมรับ สนุกกับการเปลี่ยนแปลง
2.3 สร้างวิธีคิดที่ดี มีทักษะคิดเป็น คิดดี คิดถูกทาง เบนความคิด มองโลกใน
แง่ดี มองโลก หลายมุมมอง ควบคุมความคิด หยุดคิดได้ อารมณ์ขัน มีทักษะ
การแก้ปัญหาอย่างถูกทาง
2.4. มีสติเตือนตนเอง รู้จักตนเอง พิจารณาตนเอง ว่ามีความคิด อารมณ์
ความรู้สึกอย่างไร รู้ตัวเมื่อมีความกังวล ความเครียด ความกลัว สุขภาพจิตดี
หรือไม่ มีสาเหตุจากอะไร
2.5 มีทักษะในการจัดการอารมณ์ตนเอง ลดความเครียดลดอารมณ์เศร้าได้
ด้วยตนเอง ปลุกปลอบใจให้กาลังใจตนเองได้ สร้างแรงจูงใจในการกระทา
สิ่งต่างๆ สร้างความรู้สึกดีต่อตนเอง ให้อภัยตนเองได้ มีกิจกรรมสร้าง
ความสุข และความสงบ
2.6 มีความเข้าใจตนเอง รู้จุดดีจุดอ่อนของตน มีความภาคภูมิใจในตนเอง
ยอมรับตัวเอง สร้างแรงจูงใจจากภายใน ให้มีความชอบ ความสาเร็จ สนุก
กับงาน ไม่ท้อแท้ผิดหวังกับความล้มเหลว มองความผิดพลาดเป็นครู หรือ
บทเรียนที่จะพัฒนาตนเอง แก้ไขปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้น ได้ทางออก
ทางแก้ไขปัญหาใหม่ๆที่ดีกว่าเดิม
- http://thaihealthlife.com
- http://www.nkp-hospital.go.th/institute/pj/articleDetail.php?aID=2
- https://jangjoobsmile.wordpress.com
1. น.ส. ภิรมณ์พร พรมโสภา รหัสนักศึกษา 580034
2. น.ส. รัตติยา โพธิ์ภิขุ รหัสนักศึกษา 580057
3. น.ส. น้าพลอย พิสุทธอานนท์ รหัสนักศึกษา 580061
4. น.ส. ฐิติญา ห้วยทราย รหัสนักศึกษา 580085
5. น.ส. เพ็ญพิชชา จงจีรานนท์ รหัสนักศึกษา 580109
6. น.ส. ธนัชพร อยุ่แดนเมือง รหัสนักศึกษา 580113
7. น.ส. ยลดา แสงทอง รหัสนักศึกษา 580142
8. น.ส. ณัฐกานต์ เดชโยธิน รหัสนักศึกษา 580153
9. น.ส. ณัฐวดี บารุงเขต รหัสนักศึกษา 580294
10. น.ส.พลอยนภัส สินสถาพรกุล รหัสนักศึกษา 580453
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย

Contenu connexe

Tendances

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Pain clinic pnk
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 Utai Sukviwatsirikul
 
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)45606
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54Watcharapong Rintara
 
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557Utai Sukviwatsirikul
 
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)satjakornii
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Utai Sukviwatsirikul
 

Tendances (19)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Kronggnan kuu
Kronggnan kuuKronggnan kuu
Kronggnan kuu
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
 
Living wills1
Living wills1Living wills1
Living wills1
 
We can do palliative care
We can do palliative careWe can do palliative care
We can do palliative care
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
 
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
 
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
 
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 

En vedette

Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararudsvuthiarpa
 
23-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
23-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ23-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
23-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษCMRU
 
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษCMRU
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 

En vedette (6)

Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
23-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
23-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ23-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
23-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 

Similaire à ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย

คู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวชคู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่Gear Tanatchaporn
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองDa Arsisa
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองDa Arsisa
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
Poster_อธิสรา_22_154
Poster_อธิสรา_22_154Poster_อธิสรา_22_154
Poster_อธิสรา_22_154AthisaraMarayart
 
230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdfnakonsitammarat
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์kawpod
 
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Utai Sukviwatsirikul
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 

Similaire à ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย (20)

คู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวชคู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวช
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
Handbook for hypertension
Handbook for hypertensionHandbook for hypertension
Handbook for hypertension
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
Poster_อธิสรา_22_154
Poster_อธิสรา_22_154Poster_อธิสรา_22_154
Poster_อธิสรา_22_154
 
Poster_wichai_154_no22
Poster_wichai_154_no22Poster_wichai_154_no22
Poster_wichai_154_no22
 
230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 

ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย