SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
บทที่ 4 มลพิษสิ่ง
แวดล้อม
- มลพิษทางเสียง -
รายวิชา ENV 2103 สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
สุทธิวัฒน์ บุญเลิศ
• สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู
• ความเปลี่ยนแปลงของความดันอากาศ
ที่ทำาให้ตัวกลางสั่นสะเทือน เมื่อกระทบ
กับแก้วหูมนุษย์แล้ว สามารถส่งผลให้
เกิดสัญญาณในระบบการได้ยิน
เสียง

แหล่ง
กำาเนิด
เสียง
ตัวกลาง
นำาเสียง 
ประสาท
รับรู้เสียง
ทางเดินของเสียงเพื่อการได้ยิน
หน่วยที่นิยมใช้ในการวัดระดับเสียง
เดซิเบล Decibel (dB): หน่วยของ
ระดับความดังเสียง
• วัดจากระดับความกดดันของเสียงโดย
เป็นการวัดทางคณิตศาสตร์
(ลอการิทึม) = อัตราส่วนของการได้ยินเสียง
ของคน เปรียบเทียบกับระดับมาตรฐานที่
อย่างระดับความดังเสียงจากแหล่งต่า
ยงมาตรฐานที่หูของคนปกติจะรับได้จะอยู่ที่ 0
หน่วยที่นิยมใช้ในการวัดระดับเสียง
เฮริทซ์ Hertz (Hz) หน่วยของระดับ
ความถี่เสียง (ครั้ง/วินาที)
• จำานวนคลื่นที่ส่งออกจากแหล่ง
กำาเนิดในเวลา 1 วินาที
• เสียงที่มีความถี่มากจะเป็นเสียง
สูง
• เสียงที่มีความถี่น้อยจะเป็นเสียง
ย์สามารถรับสัญญาณได้ อยู่ในช่วงความถี่ 20
วะที่มีเสียงดังเกินปกติหรือเสียงดังต่อเนื่องจนก่อให้เ
าคาญหรือเกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย
พแวดล้อมที่มีเสียงสร้างความรบกวนทำาให้เกิดความ
ร่างกายและ จิตใจ
มลพิษทางเสียง (Noise Pollution)
• มลพิษทางเสียง = ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ของเมืองใหญ่ที่เกิดพร้อมกับการ
มลพิษทางเสียง (Noise Pollution)
1. การคมนาคม
2. การก่อสร้าง
3. อาคาร/บ้านพักอาศัย
4. สถานประกอบการและอุตสาหก
5. สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
แหล่งกำาเนิดมลพิษทางเสียง
• เสียงจากเครื่องยนต์ และท่อไอเสีย
ของรถบรรทุก
• เสียงการกระทบกันของยางรถยนต์
แหล่งกำาเนิดเสียงดังรบกวนจากการคมนา
• เสียงจากเครื่องยนต์ของเครื่องบิน
ขณะเดินเครื่อง
เป็นเสียงดังรบกวนที่สูงมาก
• เสียงจากรถไฟ การเคลื่อนตัวของ
รถไฟ หวูดรถไฟ การเป่านกหวีดและ
สวิทส์ปิดเปิดบริเวณสถานีรถไฟ
แหล่งกำาเนิดเสียงดังรบกวนจากการคมนา
• เช่น การสร้างถนน
ถนนในเมืองหลวง
การก่อสร้างอาคาร
• มักเกิดจากการใช้
อุปกรณ์ต่างๆ เช่น
การตอกเข็ม คอม
เพรสเซอร์ครื่องปรับ
อากาศ รถบรรทุก
เครื่องจักรกลต่างๆ
แหล่งกำาเนิดเสียงดังรบกวนจากการก่อสร
• เสียงเกิดจากการกระทำา
ของเราเอง
เช่น เสียงจาก TV
• เสียงรบกวนภายในบ้าน
อาจจะไม่
ดังพอที่จะเป็นอันตรายต่อการ
ได้ยิน
เพียงแต่เพิ่มความเครียด
และผลเสียต่อ
งกำาเนิดเสียงดังรบกวนในอาคาร/ บ้านพ
• อาชีพที่มีความเสี่ยงต่อ
เสียงดังรบกวน ได้แก่
พนักงานดับเพลิง
ตำารวจ
คนงานในโรงงาน
อุตสาหกรรม
ชาวนา คนงาน
ก่อสร้าง นักดนตรีฯลฯ
• การได้รับเสียงดัง
รบกวนที่มีความดังใน
ยงดังรบกวนจากสถานประกอบการและ อ
• มีความดังในระดับที่เป็นอันตราย อาจ
ทำาให้เกิดการทำาลายการ
ได้ยินอย่างถาวร
• มีผลต่อการรบกวนความสงบสุขและ
ความเงียบสงบของชุมชน
กำาเนิดเสียงดังรบกวนจากสถานที่พักผ่อน
ผลเสียที่เกิดจากมลพิษทางเสียง
1. ผลเสียทางรูปธรรม: ทำาให้สมรถภาพ
การได้ยินเสื่อม
ทำาให้ชีพจร ความดัน หลอดเลือดผิด
ปกติ2. ผลเสียทางนามธรรม: สร้างความ
รำาคาญ ทำาให้เครียด
ความรุนแรงของมลพิษทางเสียงขึ้นอยู่
กับปัจจจัยต่อไปนี้
1. ความดังของเสียง
2. ความถี่ของเสียง
3. ระยะเวลาที่ได้สัมผัส
dB
Hz
Hr
มลพิษทางเสียง : เสียงที่คนไม่ปรารถนา มี
ผลทั้งต่อร่างกายและจิตใจ
1. อันตรายของเสียงดังรบกวนต่อการ
ได้ยิน
2. อันตรายของเสียงดังรบกวนต่อ
สุขภาพทั่วไปและสุขภาพจิต
2.1) รบกวนการนอนหลับพักผ่อน
2.2 ) ก่อให้เกิดความรำาคาญ
2.3 ) ก่อให้เกิดความเครียดและเสีย
สุขภาพจิต
2.4) เป็นสาเหตุของโรคความดัน
ผลกระทบและอันตรายของเสียงดัง
• ความดังจะแทรกซึมเข้าไปในหูชั้นใน
• การสูญเสียการได้ยินจะเกิดขึ้นทีละเล็กที
ละน้อยโดยไม่เกิดการเจ็บป่วย
• เสียงที่มีความถี่สูงมักมีอันตรายต่อการ
ได้ยินและทำาความรำาคาญมากกว่าที่เสียงที่
มีความถี่ตำ่ากว่า
• เสียงรบกวนที่ดังเกินกว่า 85 dB A ตลอด
1. อันตรายของเสียงดังรบกวนต่อการได้ยิน
ยของเสียงดังรบกวนต่อสุขภาพทั่วไปและ
การนอนหลับพักผ่อน
รรบกวนการนอนหลับอย่างเรื้อรังแล้วมีผลเสียต่อส
วงๆ และเสียงสูงตำ่าเป็นเสียงที่รบกวนมากกว่าเส
ในอาคารระหว่างเวลากลางวันควรมีระดับ 45 dB
2.2 ก่อให้เกิดความรำาคาญ เช่น
• ที่พักอาศัยอยู่ใกล้สนามบิน เสียงดังรบกวน
ของเครื่องบิน
ก่อให้เกิดการรบกวนต่อการประกอบกิจกรรม
ในแต่ละวัน
ยของเสียงดังรบกวนต่อสุขภาพทั่วไปและ
ตัวอย่างผลที่ได้รับจากมลพิษทาง
เสียง
องเสียงดังรบกวนต่อสุขภาพทั่วไปและสุข
2.3 ก่อให้เกิดความเครียดและเสีย
สุขภาพจิต
• เสียงอาจไม่อยู่ในระดับอันตรายต่อการ
ได้ยินแต่อาจจะทำาให้เกิดความตึงเครียด
และความโกรธ
• เสียงดังรบกวนมีความเกี่ยว ข้องกับการ
เพิ่มความก้าวร้าว
2.4 เป็นสาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง
และแผลในกระเพาะอาหาร
ผลต่อสรีระวิทยาของร่างกาย:
• ก่อให้เกิดความเครียด ความดันโลหิต
สูง อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่ม
• เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาใน
การนอน ความดันโลหิตและกระบวนการ
ย่อยอาหาร
องเสียงดังรบกวนต่อสุขภาพทั่วไปและสุข
ที่ใช้ควบคุมมลพิษทางเสียงในปรที่ใช้ควบคุมมลพิษทางเสียงในประ
1. ค่าระดับเสียงสูงสุด ไม่
เกิน 115 dB(A)
2. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24
ชั่วโมงไม่เกิน 70 dB(A)
มาตรการควบคุมระดับเสียงทั่วไป
(ข้อมูลจาก กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม)
กฎหมายควบคุมความ
ปลอดภัยในการทำางาน
(ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย)
ชั่วโมงการ
ทำางานต่อวัน< 7 ชม.
7-8 ชม.
> 8 ชม.
ระดับเสียงที่ลูกจ้าง
ได้รับติดต่อกันไม่เกิน 91 dB(A)
ไม่เกิน 90 dB(A)
ไม่เกิน 80 dB(A)
1. ค่าระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน 100
dB (A) ที่ระยะ 0.5 เมตรจากปลาย
ท่อไอเสีย
2. ค่าระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน 85 dB
(A) ที่ระยะ 7.5 เมตร
จากปลายท่อไอเสีย
มาตรการควบคุมระดับเสียง
ของรถยนต์
(ข้อมูลจาก กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
วิธีป้องกันและแก้ไขมลพิษทางเสียง

แหล่ง
กำาเนิด
เสียง
ตัวกลาง
นำาเสียง 
ประสาท
รับรู้เสียง
ออกแบบ
แก้ไข
ขบวนการ
สั่นสะเทือน
ควบคุม
ทางผ่าน
ของเสียง
ควบคุมที่
ผู้รับเสียง
ลดจำานวน
ขบวนการสั่น
สะเทือนแยก
ขบวนการสั่น
สะเทือนออก
จาก
ขบวนการอื่น
แล้วบุด้วย
ใช้พลาสติก
เพิ่มระยะทาง
ของ
ทางผ่านเสียงใช้วัสดุดูดซับ
เสียงบริเวณ
ทางผ่านเสียง
จัดตาราง
การทำางาน
ไม่ให้สัมผัส
เสียงดังใช้เครื่อง
ป้องกันหู
เป็นราย
บุคคล
ออกมาตรการหรือ
กฎหมายควบคุม
แก้ปัญ
หาที่ต้นตอ
ประหยัด
นิยมใช้เมื่อ
ควบคุมแหล่งกำาเนิดเสียงไม่ได้
สรุปสรุป :: ปัญหามลพิษทางเสียงปัญหามลพิษทางเสียง
• เกิดจากการที่มนุษย์ใช้ความรู้
ทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีในการพัฒนาด้าน
ต่างๆ
• ผลกระทบที่เกิดขึ้นมีทั้งผล
เสียที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
• การแก้ไขปัญหามลพิษทาง

Contenu connexe

Tendances

โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
พัน พัน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
nurmedia
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
krupornpana55
 

Tendances (20)

การบอกตำแหน่งของวัตถุ
การบอกตำแหน่งของวัตถุการบอกตำแหน่งของวัตถุ
การบอกตำแหน่งของวัตถุ
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 

Plus de Green Greenz

การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
Green Greenz
 

Plus de Green Greenz (8)

ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำ
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 

มลพิษทางเสียง