SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  157
1
The Heritage of World
Civilization
Dr. Warrachai Wiriyaromp
2
มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์
The Prehistoric People
3
ทำาไมเราจึงต้องรู้เรื่อง มรดก
อารยธรรมโลกa. สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง
อยู่ตลอดเวลา
b. เราลืมอดีตและไม่ทราบที่มา
ของสิ่งต่างๆในปัจจุบัน
c. ความเข้าใจที่ถูกต้องและรู้
ข้อมูลอย่างเพียงพอเกี่ยวกับ
ความเป็นไปในโลกมี
ประโยชน์ต่อการดำารงชีวิต
ของมนุษย์ปัจจุบัน
4
5
ชน์ของการเรียนรู้ประวัติอารยธรรมของ
a. ทำาให้ผู้เรียนซึ่งมุ่งสู่ความเป็นบัณฑิตมี
ความรู้เพิ่มขึ้น กว้างขึ้น และลึกซึ้งขึ้น
b. เข้าใจประวัติความเป็นมาของสังคมมนุษย์
ดีขึ้น
c. เข้าใจและยอมรับในความหลากหลายของ
เชื้อชาติ ศาสนา เศรษฐกิจ สังคม
เทคโนโลยี
d. สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ได้ในหลายด้าน
6
7
ทราบหรือไม่ว่า มรดกอารยธรรมโลกจัด
เป็นทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่สำาคัญต่อ
ระบบเศรษฐกิจของหลายประเทศ
• แหล่งท่องเที่ยวที่สำาคัญระดับโลก และมีคน
จำานวนมากต้องการไปชมล้วนเป็นแหล่ง
อารยธรรมโลกทั้งสี้น อาทิ
ปิรามิด แห่ง อียิปต์
โคลอสเซียม แห่ง อิตาลี
สโตนเฮนส์ แห่ง อังกฤษ
นครวัด แห่ง กัมพูชา
บุโรพุทโธ แห่ง อินโดนีเซีย
……….แห่ง ประเทศไทย
8
9
อักษรย่อเกี่ยวกับช่วงเวลาในอดีตที่
จำาเป็นต้องรู้ และใช้ในวิชามรดก
อารยธรรมโลก
B.C. : Before Christian Era
A.D. : anno domini (Latin): In the year of our lord, since
Christ was born.
B.P. : Before Present Time
ปัจจุบันคือปี ค.ศ. 2013 จึงเท่ากับ A.D.2013
M.Y.A. : Million years ago
C. : circa, โดยประมาณ
10
What is prehistory ?
ก่อนประวัติศาสตร์
(Prehistory) คือ ช่วงเวลาในอดีต
ก่อนหน้าสมัยประวัติศาสตร์(Historic
period) ในช่วงเวลาดังกล่าวมนุษย์
ยังไม่มีการบันทึกเรื่องราวของตนเอง
ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ด้วยยังไม่มี
ภาษาเขียน หรืออาจยังไม่มีความ
จำาเป็นจะต้องใช้ภาษาเขียนเพื่อการ
11
การแบ่งช่วงเวลาระหว่างก่อน
ประวัติศาสตร์กับประวัติศาสตร์
• แบ่งโดยใช้หลักฐานการมี
ภาษาเขียนในสังคมโบราณ
ในที่ต่างๆว่ามีแล้วหรือยัง
• ยังไม่มี = ก่อนประวัติศาสตร์
• มีแล้ว = ประวัติศาสตร์
12
• ภาษา
เขียนจึง
เป็นตัว
แบ่งช่วง
เวลาก่อน
ประวัติศา
สตร์ที่
สำาคัญ
13
Rosetta
Stone
14
ภาษาเขียนเกิดขึ้นมา
นานเท่าใดแล้ว
ภาษาพูดเกิด
ขึ้นเมื่อใด
15
ในวงการโบราณคดีโลกถือเอาว่า ชาวซูเม
เรียน (Sumerian) แห่งอาณาจักรซูเมอร์ ใน
ดินแดนเมโสโปเตเมีย และชาวอียิปต์ เป็น
พวกแรกๆที่ใช้ภาษาเขียน เมื่อราว ๕,๐๐๐ ปี
มาแล้ว ดังนั้น ก่อนประวัติศาสตร์ของโลก
จึงเริ่มตั้งแต่ ๕,๐๐๐ ปีที่แล้วย้อนไปในอดีต
จนถึงสมัยแรกเริ่มของมนุษย์
16
17
ภาษาเขียนสมัยเริ่มแรก
ของมนุษย์
• ชาวซูเมเรียนใช้ตัวอักษรแบบ
คูนีฟอร์ม(Cuneiform)
• ชาวอียิปต์ใช้ตัวอักษรแบบเฮีย
โรกริฟฟิค(Hieroglyphic)
• ชาวจีนโบราณใช้ตัวอักษร
แบบอักษรภาพแบบจีน
(Pictograph)
18
• สมัยก่อนประวัติศาสตร์จึง
มีความหมายถึงช่วงเวลา
ตั้งแต่เมื่อมนุษย์ดำารงชีวิต
อยู่กันเป็นสังคมที่ยังไม่มี
ภาษาเขียนย้อนหลังไป
ในอดีตจนถึงเมื่อเริ่มเกิด
มนุษย์ดึกดำาบรรพ์ เมื่อ
ราว 4-5 ล้านปีที่แล้ว
19
คือผู้ศึกษาเรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาส
เนื่องจากเรื่องราวสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ไม่ได้ถูกบันทึกไว้
ด้วยภาษาเขียน
การศึกษาเรื่องราวสมัยดัง
กล่าวจึงทำาโดยการศึกษาจาก
หลักฐานประเภทโบราณวัตถุ
โบราณสถาน สภาพแวดล้อม
และหลักฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ผู้ทำาหน้าที่ศึกษาหลักฐาน
ต่างๆ เหล่านี้เรียกว่า นัก
20
นักโบราณคดีศึกษาเรื่อง
ไดโนเสาร์ด้วยหรือไม่
• ผู้ที่ศึกษาเรื่องของไดโนเสาร์
คือนักโบราณชีววิทยาหรือนัก
21
นักโบราณคดีศึกษา
อดีตอย่างไร ?
นักโบราณคดีศึกษาอดีตของมนุษย์จากการ
รวบรวมข้อมูลที่เป็นหลักฐานหลากหลาย
ชนิด เช่นโบราณวัตถุได้แก่เศษภาชนะดิน
เผา กระดูกสัตว์ เปลือกหอย เครื่องมือหิน
ฯลฯ หรือหลักฐานประเภทโบราณสถาน และ
สิ่งแวดล้อม ได้แก่ เนินดิน คูนำ้า คันดิน ทาง
เดิน ลำานำ้า ซากอาคาร ฯลฯ
วิธีการรวบรวมข้อมูลที่เป็นลักษณะเด่น
เฉพาะตัวของนักโบราณคดี คือ การขุดค้น
22
24
25
26
27
28
29
นักโบราณคดีกำาหนดอายุของ
เหตุการณ์ในอดีตได้อย่างไร ?
การกำาหนดอายุของเหตุการณ์ในอดีต
สามารถทำาได้หลายวิธี คือ
-การกำาหนดอายุโดยการเปรียบ
เทียบลักษณะรูปแบบของโบราณ
สถาน โบราณวัตถุ
-การกำาหนดอายุโดยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ ได้แก่Radiocarbon
dating (Carbon-14) คาร์บอน 14 และ
30
Half Life of Carbon 14
• C-14 half life = c. 5,500 years B.P.
31
กำาเนิดของเผ่า
พันธุ์มนุษย์
* มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตชนิด
หนึ่งบนโลก จัดอยู่ในกลุ่ม
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
(Mammal) มีความสัมพันธ์
ใกล้ชิดกับสัตว์ตระกูลไพร
เมท ( Order Primate) หรือ
ลิง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
พวกวานร (Apes) อันได้แก่
ชะนี อุรังอุตัง ชิมแปนซี
32
Apes ไพรเมทที่ใกล้ชิด
ของมนุษย์
• คำาตอบมีอยู่ในอดีตย้อนหลังไปเมื่อ
๖๕ ล้านปีมาแล้ว
34
* จุดหักเหสำาคัญที่
ทำาให้เกิดการ
วิวัฒนาการครั้งยิ่งใหญ่
ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ซึ่งส่งผลมาสู่ไพรเมท
และมนุษย์ คือ การเกิด
การสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่
(The Great Extinction) เมื่อ
๖๕ ล้านปีมาแล้วของ
35
36
การยืนตัวตรง เดินสองเท้าและรู้จักใช้
เครื่องมือน่าจะเป็นสาเหตุสำาคัญที่
ทำาให้เกิดมนุษย์ขึ้น
37
ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญที่
ทำาให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ชนิดอื่นอย่าง
เห็นได้ชัด
* การเปลี่ยนลักษณะการยืนและ
การเคลื่อนไหวมาเป็นการยืนตัว
ตรง เดิน ๒ เท้า (Erect Bipedal
Posture)
* สมองมีขนาดใหญ่ขึ้น
* รู้จักทำาเครื่องมือตั้งแต่ราว ๒
ล้านปีมาแล้ว โดยทำาเป็นเครื่อง
มือหินกะเทาะแบบง่ายๆ แบบที่
เรียกว่า วัฒนธรรมโอลดูวัน
(Oldouwan Culture) เทคนิคการ
ทำาเครื่องมือแบบนี้ใช้สืบเนื่องกัน
มาอีกราว ๑ ล้านปี
38
39
40
วิวัฒนาการ
ของมนุษย์* บรรพบุรุษของมนุษย์เริ่มแยกตัวออก
จากไพรเมทชนิดอื่นเมื่อราว 8-9 ล้านปี
มาแล้วในทวีปแอฟริกา
* มีหลักฐานของบรรพบุรุษมนุษย์ผู้
สามารถยืนตัวตรงและเดิน ๒ เท้า ใน
ดินแดนแอฟริกาตะวันออก เมื่อราว
อย่างน้อย ๓. –๕ ๔ ล้านปีมาแล้ว
* พบว่ามีอย่างน้อย ๓ สายพันธุ์ของ
41
ตัวอย่างฟอสซิลมนุษย์
ดึกดำาบรรพ์ที่สำาคัญ
* ออสตราโลพิเธคัส อะฟาเรนซิส 4
m.y.a. (Australopithecus afarensis)
* ออสตราโลพิเธคัส อาฟริกานัส 3
m.y.a. (Australopithecus africanus)
* โฮโม ฮาบิลิส 2 m.y.a. (Homo habilis)
* โฮโม อีเรคตัส 1.5 m.y.a. (Homo erectus)
* โฮโม เซเปียนส์ 2 แสนปี (Homo sapiens)
42
สายพันธ์ของ
ไพรเมท
Primate
บรรพบุรุษของไพรเมท
บรรพบุรุษของลิงบรรพบุรุษของคน
•ลิงดึกดำาบรรพ์
•ลิงโลกใหม่
•ลิงโลกเก่า
•วานร
- ชะนี
- อุรังอุตัง
-กอริลลา
- ชิมแพนซี
Australopithecus
Homo
•Homo habilis
•Homo erectus
•Homo sapiens neanderthalensis
•Homo sapiens sapiens
43
นุษย์แตกต่างจากสัตว์อย่างไร?
นักวิชาการหลายท่านกล่าว
ว่า “…humans are tool
makers and improvers that
differentiates them from
other animals.”
44
45
คุณสมบัติสำาคัญของมนุษย์ที่
แตกต่างจากสัตว์• Tools making, improving and
using
• Absolute bi-pedal walking
• Big brain when compare with
the body size
• Stereoscopic vision
• Free hands with the
opposability fingers
• Complex communication
system
46
47
•ผลจากการยืนตัวตรง
เดิน ๒ เท้า ส่งให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงใน
เผ่าพันธุ์มนุษย์หลาย
ประการ
•มนุษย์เริ่มสร้างเครื่อง
มือหินอย่างน้อย ๒
ล้านปีมาแล้วในทวีป
แอฟริกาโดยพวกโฮ
โม ฮาบิลิส ใน
วัฒนธรรมที่มีชื่อว่า
48
ษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์คือใคร ?
* ในช่วงเวลาอันยาวนานของสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ นักวิชาการได้แบ่ง
มนุษย์ออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
๑. มนุษย์ปัจจุบัน (Homo sapiens
sapiens) มีอายุตั้งแต่ราว ๒ แสนปีมาแล้ว
จนถึงปัจจุบัน
๒. บรรพบุรุษของมนุษย์ (Human
Ancestors) มีหลายกลุ่ม มีอายุตั้งแต่ราว
49
50
51
“Taung child”,
Australopithecus
africanus
52
or Handy Man
53
Peking Man :
54
55
The Neanderthals
• มนุษย์ดึกดำาบรรพ์พวกหนึ่ง มีชีวิตอยู่ระหว่าง
120,000 – 35,000 ปีมาแล้ว ซึ่งเป็นช่วงเวลา
ของยุคนำ้าแข็ง โดยพบเฉพาะที่ทวีปยุโรปและ
ดินแดนเอเชียตะวันออกใกล้
• ปัจจุบันนักวิชาการเชื่อกันว่า มนุษย์นี
แอนเดอธัล เป็นอีกสายพันธ์หนึ่งซึ่งแยกต่าง
หากจากมนุษย์ปัจจุบัน
56
57
58
59
60
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับมนุษย์
ดึกดำาบรรพ์
• เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นบริเวณหนึ่งที่พบ
ฟอสซิลของ โฮโม อีเรคตัสโดยพบที่ทริ
นิล(Trinil)บนเกาะชวาหรือเป็นที่รู้จักในชื่อ
มนุษย์ชวา(Java Man), มีอายุประมาณ 9 แสนปี
• ส่วนในประเทศไทยเคยได้รับความสนใจว่าอาจ
เป็นแหล่งรอยต่อที่สาปสูญ(Missing Link)ของ
มนุษย์ดึกดำาบรรพ์ และในปัจจุบันได้เริ่มพบหลัก
ฐานของมนุษย์โฮโม อีเรคตัส แล้วในจังหวัด
ลำาปาง มีอายุประมาณ 7 แสนปี
61
The New Discovery of Mystery hominid in Flores, Indonesia
• In 2003 the new discovery of ancient hominid has been
undertaken at Liang Bua cave (cool cave) in the Flores
island of Indonesia.
• These mystery hominid have only half size of body
when compare to modern human and same size of brain
with the australopithecine. The researchers believed
that this is the discovery of new species of tiny people,
“Hobbits” so they called them Homo florensiensis
• Dating around 95,000-12,000 B.P.
• Some scholars believed that these tiny hominids are not
the new species in genus Homo but possibly the
modern human with the symptom of severe blood
disorder or abnormal hormone in isolated island.
62
การค้นพบมนุษย์โบราณขนาดเล็ก
ในอินโดนีเซีย
• ในปีค.ศ.2003 ได้มีการขุดพบซากฟอสซิล
มนุษย์โบราณขนาดเล็กในถำ้าเลียงบัว(Liang
Bua cave) บนเกาะฟลอเรส ประเทศ
อินโดนีเซีย
• มนุษย์ดังกล่าวมีขนาดเพียงครึ่งเดียวของ
มนุษย์ปัจจุบัน ซึ่งคล้ายมนุษย์จิ๋วใน
ตำานาน(Hobbits) ผู้ค้นพบเชื่อว่าอาจเป็นสปีชี่
ส์ใหม่จึงตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ให้ว่า Homo
florensiensis
• กำาหนดอายุได้ราว 95000-12000 ปีมาแล้ว
63
64
65
66
67
Homo sapiens sapiens
* มีกำาเนิดในทวีปอาฟริกาเมื่อราว
200,000 ปี มาแล้ว และอพยพ
ผ่านเอเชียตะวันออกกลาง แพร่
กระจายไปทั่วโลก โดยเริ่มจาก
เอเชีย , ยุโรป , อเมริกา และ
ผ่าพันธุ์มนุษย์ปัจจุบัน
68
ลักษณะทางกายภาพที่สำาคัญของ
โฮโม เซเปียนส์
• ยืนตัวตรง
• เดินสองเท้า มีมือเป็น
อิสระสามารถใช้
ประโยชน์ด้านอื่น
• รูปร่างค่อนข้างเพรียว
บาง
• มีหน้าผากตั้งตรง มีสันคิ้ว
ไม่ใหญ่นัก
• มีสมองขนาดประมาณ
๑,๒๕๐ ลบ.ซม.
69
การดำารงชีวิตและวัฒนธรรมของคนในสมัย
ก่อนประวัติศาสตร์
70
71
วัฒนธรรมของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์อาจแบ่งได้
ตามเทคโนโลยีได้แก่
วัฒนธรรมยุคหิน (Stone Age) และวัฒนธรรมยุคโลหะ
(Metal Age)ยุคหินแบ่งออกได้เป็น
•ยุคหินเก่า (Palaeolithic
Period)
•ยุคหินกลาง (Mesolithic
Period)
•ยุคหินใหม่ (Neolithic Period)
*Neolithic Revolution
*Green Revolution
72
เทคโนโลยีสมัยเริ่มแรกของมนุษย์
• เทคโนโลยีหิน
• เทคโนโลยีการใช้ไฟ
• เทคโนโลยีไม้, กระดูก, เปลือก
หอย
• เทคโนโลยีโลหะ
73
เครื่องมืออย่างแรก
ของมนุษย์ (ที่หลง
เหลือหลักฐาน)
คือ เครื่องมือหินแบบ
สับ – ตัด (chopper-
chopping tools) ของ
พวก Homo habilis
เมื่อราว ๒ ล้านปีมา
แล้วในทวีปอาฟริกา
เครื่องมือแบบนี้ใช้ต่อ
เนื่องกันมาราว ๑
ล้านปี ซึ่งมีหลักฐาน
74
75
76
• เทคโนโลยีการใช้ไฟปรากฏหลักฐานอย่าง
ชัดเจนในถำ้าZhoukoudian ประเทศจีน เมื่อ
ราว ๔๖๐,๐๐๐ปีมาแล้ว
77
• หลักฐานของไม้โบราณซึ่งมีร่องรอยการใช้งาน
อายุ๒๔๐,๐๐๐ปีมาแล้วพบที่Gesher Benot Ya’aqov
ในประเทศอิสราเอล
78
รูปแบบการดำารงชีวิต (Subsistence
Patterns)
• ในยุคหินเก่าและยุคหินกลางมนุษย์ดำารงชีวิต
ด้วยการล่าสัตว์และหาของป่า(Hunting and
Gathering society)มนุษย์ในสมัยนี้มี
ประชากรไม่มาก และมักย้ายที่อยู่ตามความ
อุดมสมบูรณ์ของอาหาร
• นับตั้งแต่ยุคหินใหม่เป็นต้นมามนุษย์จึงดำารง
ชีวิตด้วยการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์
80
Hunting and Gathering society
81
82
สิ่งสำำคัญที่เรำควรเข้ำใจเกี่ยวกับกำร
ดำำรงชีวิตด้วยกำรล่ำสัตว์หำของป่ำ
• เป็นกำรดำำรงชีวิตแบบแรกของมนุษย์
• มนุษย์ดำำรงชีวิตแบบนี้มำเป็นเวลำนับ
ล้ำนปีต่อเนื่อง
• มนุษย์ใช้เครื่องมือง่ำยๆช่วยในกำร
ดำำรงชีวิต
• เครื่องมือของมนุษย์สมัยเริ่มแรกที่ยัง
เหลือหลักฐำนได้แก่เครื่องมือหินกะเทำะ
83
ลักษณะของกำรดำำรงชีวิตด้วย
กำรล่ำสัตว์และหำของป่ำ
• อยู่กันเป็นสังคมขนำดเล็กมีประชำกรรำว 20-50
คน
• ใช้เทคโนโลยีอย่ำงง่ำยในกำรดำำรงชีวิต
• ยังไม่มีกำรเกษตรกรรม
• ไม่อยู่ติดที่ถำวรแต่จะอพยพโยกย้ำยไปตำมกำร
หำอำหำรและฤดูกำล
• ไม่มีควำมแตกต่ำงทำงชนชั้นและอำชีพ
• แบ่งแรงงำนโดยอำศัยควำมแตกต่ำงทำง
กำยภำพ
84
ข้อเท็จจริงบำงอย่ำงของวิถีชีวิตแบบ
ล่ำสัตว์หำของป่ำ
• สังคมล่ำสัตว์หำของป่ำอำจไม่ได้ดำำรงชีวิตอยู่
ด้วยควำมยำกลำำบำกอย่ำงที่คนในปัจจุบันคิด
• นักวิชำกำรบำงท่ำนขนำนนำมสังคมแบบนี้ว่ำ
“The Affluent Society”
• ก่อนสมัยเกษตรกรรมสังคมเหล่ำนี้มักดำำรง
ชีวิตอยู่ในเขตพื้นที่อุดมสมบูรณ์ไม่ใช่แบบที่
เรำมักเห็นและเข้ำใจในปัจจุบัน
85
รูปแบบกำรตั้งถิ่นฐำน (Settlement
Patterns)
• ยุคหินเก่ำและยุคหินกลำง อยู่กันเป็นก
ลุ่ม กลุ่มละประมำณ25-50 คน และอยู่
อำศัยไม่ติดที่แบบเร่ร่อน เพื่อกำรหำของ
ป่ำและล่ำสัตว์
• ยุคหินใหม่และยุคโลหะเป็นแบบอยู่กัน
เป็นหมู่บ้ำนถำวร มีจำำนวนประชำกร
มำกพอควร
• ยุคที่มีอำรยธรรมแล้ว อยู่กันเป็นเมือง
86
87
Venus Figurine, Goddess of Fertility
88
89
กำรเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในสมัย
ก่อนประวัติศำสตร์
• กำรเปลี่ยนแปลงในสมัยยุคหินใหม่, กำร
ปฏิวัติสมัยยุคหินใหม่ คือกำรเปลี่ยนแปลง
ลักษณะกำรดำำรงชีวิตพื้นฐำนจำกกำรล่ำสัตว์
หำของป่ำมำเป็นกำรเพำะปลูกและเลี้ยงสัตว์
90
เหตุใดมนุษย์จึงต้องเปลี่ยนรูป
แบบกำรดำำรงชีวิตจำกกำรล่ำ
สัตว์หำของป่ำมำเป็นกำร
เกษตรกรรม
• ปรำกฏกำรณ์ดังกล่ำวเกิดขึ้นในหลำย
พื้นที่ของโลกในระยะเวลำใกล้เคียงกัน
คือรำว ๑๐,๐๐๐ ปีมำแล้ว
• นักวิชำกำรเชื่อว่ำเหตุกำรณ์ดังกล่ำว
เป็นผลมำจำกกำรเปลี่ยนแปลงของ
สภำพภูมิอำกำศครั้งใหญ่ในช่วงของ
กำรสิ้นสุดยุคนำ้ำแข็ง(Ice Age)ครั้งล่ำสุด
• ยุคนำ้ำแข็งคืออะไร ?
91
Agriculture Society
: Foundation of the
Civilizationสังคมเกษตรกรรม คือสังคมที่คนใน
สังคมยังชีพด้วยกำรปลูกพืช โดยใช้
ระบบกำรเพำะปลูกแบบที่ต้องอำศัยกำร
บำำรุงที่ดิน กำรจัดระบบชลประทำน กำร
ใช้แรงงำนสัตว์ กำรใช้เครื่องมือ และ
อุปกรณ์กำรเกษตรที่ค่อนข้ำงซับซ้อน
โดยทำำกำรเกษตรดังกล่ำวในพื้นดินอัน
92
ลักษณะสำำคัญของสังคม
เกษตรกรรมในฐำนะที่เป็นส่วน
สำำคัญของอำรยธรรมมนุษย์a. มีจำำนวนประชำกรมำก
b. ตั้งถิ่นฐำนถำวร
c. ผลผลิตหลักได้มำจำกกำรเกษตรกรรม
d. มีกำรพึ่งพำปัจจัยต่ำงๆจำกภำยนอก
e. มีระบบกำรปกครองแบบเป็นส่วนหนึ่งของ
สังคมรัฐ
f. มีลำำดับชั้นทำงสังคม และมีควำมหลำก
หลำยทำงด้ำนอำชีพ
93
๙. ควำมสำำคัญในระบบเครือ
ญำติมีน้อยลง
๑๐. มีศำสนำหลัก มีพระ มี
นักบวช
๑๑. มีกำรกำำหนดเขตแดนและ
สงครำม
๑๒. มีกำรแบ่งออกได้เป็นสังคม
94
95
ตัวอย่ำงของสังคม
เกษตรกรรมแบบ
Intensive Agriculture
ในยุคแรกๆ ได้แก่
•Mesopotamia
•Egypt
•Indus Civilization
•North China
•Aztec Maya Inca
96
Early
Agriculture
in East Asia
• บริเวณลุ่มแม่นำ้ำ
แยงซีเกียงทำง
จีนใต้
• ในประเทศไทย
เคยมีผู้พยำยำม
หำแหล่งกำำเนิด
เกษตรกรรม
เช่นกัน ตำมข้อ
สมมติฐำนของ
Carl Sauer นัก
ภูมิศำสตร์คน
98
99
100
101
ำเนิดพืชสำำคัญที่มีกำรเพำะปลูกเป็นค
ทวีปเอเชีย
Rice 8,000 y.a.
Soy Bean 3,000 y.a.
Banana 2,000 y.a.
ะวันออกกลำง
Barley 10,500 y.a.
Wheat 10,500 y.a.
Apple 3,000 y.a.
102
มดิเตอร์เรเนียน
Asparagus 2,200
y.a.
Broccoli 1,900
y.a.
Cabbage 2,000
y.a.
Olive 5,000
y.a.
อำฟริกำ
Millet 4,000 y.a.
Coffee ?
103
ปอเมริกำใต้ & เม็กซิโก
Potato 4,000 y.a.
Peanut 4,000 y.a.
Tobacco ?
Papaya ?
Pineapple ?
Caschew ?
Chili 4,500 y.a.
Manioc 4,000 y.a.
Cacao 1,500 y.a.
Maize 4,500 y.a.
Tomato ?
104
Hunting & Gathering Society
Agriculture & Pastoralism Society
Human Society Change !
US
105
106
107
108
พัฒนำกำรทำงวัฒนธรรมในสมัยก่อน
ประวัติศำสตร์
• ในสมัยก่อนประวัติศำสตร์หลังจำกที่สังคม
มนุษย์เข้ำสู่สังคมเกษตรกรรมแล้ว มนุษย์ได้มี
กำรพัฒนำทำงด้ำนเทคโนโลยีมำกขึ้นเรื่อยๆ
และมีกำรประดิษฐ์คิดค้นที่สำำคัญเป็นจำำนวน
มำก
• กำรประดิษฐ์คิดค้นที่สำำคัญมำกที่สุดอย่ำง
หนึ่งคือ กำรค้นพบเทคโนโลยีโลหะ ซึ่งใน
เวลำต่อมำทำำให้มนุษย์ก้ำวเข้ำสู่ยุคโลหะคือ
ยุคทองแดง(The Copper Age) ยุคสำำริด(The
Bronze Age)และต่อมำคือยุคเหล็ก( The Iron
109
ยุคโลหะแบ่งออกได้
เป็น
•ยุคทองแดง : 5,000 B.C
•ยุคสำำริด : 2,000 B.C.
•ยุคเหล็ก : 1,000 B.C.
จำกนั้นจึงเข้ำสู่สมัย
ประวัติศำสตร์
110
The Bronze Human faces age 2,000 B.C. from The
Sanxingdui site, Ancient Shu Kingdom, China
111
กำรเปลี่ยนแปลงที่สำำคัญ
ในยุคนี้
• มีกำรเพิ่มขึ้นของจำำนวนประชำกรอย่ำงต่อเนื่อง
• มีกำรแพร่กระจำยกำรตั้งถิ่นฐำนของประชำกรออก
สู่พื้นที่ต่ำงๆของโลก
• กำรเพำะปลูกและเลี้ยงสัตว์ทวีควำมสำำคัญมำกยิ่ง
ขึ้นแม้ว่ำกำรล่ำสัตว์หำของป่ำจะยังคงมีอยู่ก็ตำม
• เริ่มปรำกฏรูปแบบกำรดำำรงชีวิตของมนุษย์แบบ
เมืองเป็นครั้งแรก อันเป็นผลมำจำก กำรมีรูปแบบ
กำรปกครองแบบใหม่ คือ กำรมีรัฐ และอำณำจักร
กับกำรมีวัฒนธรรมแบบใหม่ซึ่งปรำกฏให้เห็นใน
รูปของสิ่งก่อสร้ำงทำงพิธีกรรมขนำดใหญ่ และ
112
ค์ประกอบสำำคัญของกำรเกิดสังคมเมือ
a. มีพื้นที่ดินเหมำะสมต่อกำรเพำะปลูกพืช
อำหำรเพื่อใช้เลี้ยงประชำกรจำำนวน
มำกได้
b. อยู่ใกล้แหล่งที่สำมำรถกำรจัดทำำระบบ
ชลประทำนได้
c. มีสิ่งก่อสร้ำงทำงศำสนำขนำดใหญ่
d. มีควำมแตกต่ำงทำงชนชั้นทำงสังคม
e. มีเทคโนโลยีทำงด้ำนกำรคมนำคมและ
113
King, Emperor,Pharoah,กษัตริย์
ขุนนำง, ผู้ใกล้ชิดกษัตริย์,
พระชั้นผู้ใหญ่, ขุนศึก
ช่ำงฝีมือ, พ่อค้ำ
ชำวนำ
แรงงำน
ระบบสังคมของสังคมรัฐมีรูปร่ำงแบบปิรำมิด คือมีคนจำำนวน
เล็กน้อยเท่ำนั้นที่เป็นผู้ปกครอง โดยได้รับกำรสนับสนุนจำก
ชนชั้นขุนนำง ช่ำงฝีมือ และพ่อค้ำบนฐำนของชนชั้นแรงงำน
114
Origin of the Civilization
• Hydraulic civilization model
• Innovation model
• Environmental stress model
• Coercion & warfare model
115
ปัจจัยที่ทำำให้เกิดกำรแพร่
กระจำยของประชำกร
a. เพื่อแสวงหำอำหำร
b. กำรเปลี่ยนแปลงของ
สภำพแวดล้อม
a. สภำพภูมิอำกำศ
b. สภำพภูมิประเทศ
116
๓.กำรรุกรำนจำกศัตรู
๔.กำรติดต่อสัมพันธ์ต่ำงถิ่น
๕.กำรเพิ่มขึ้นของจำำนวน
ประชำกร
๖. กำรแสวงหำโชคลำภ
๗. สำเหตุทำงประวัติศำสตร์
และสังคมอื่นๆ
117
นธรรมต่ำงกับ อำรยธรรมอย่ำงไร ?
นับตั้งแต่มนุษย์มีวิวัฒนำกำรมำสู่
ลักษณะของสัตว์ที่ยืนตัวตรง เดิน
สองเท้ำแล้ว มนุษย์มีกำรพัฒนำ
วัฒนธรรมของตนเองต่อไปอย่ำง
มิหยุดยั้ง ดูได้จำกกำรมีเครื่องมือ
เครื่องใช้ที่ซับซ้อนหลำกหลำย
118
119
อำรยธรรมสำำคัญของเมโสโปเตเมีย
1. Sumer
อำรยธรรมซูเมอร์มี
ลักษณะสำำคัญ คือ
a. เป็นแหล่งกำำเนิด
ภำษำเขียนที่เก่ำ
แก่ที่สุด คือ ตัว
อักษรแบบคูนิ
ฟอร์ม มีอำยุรำว
5,500 B.P.
b. กำรจัดระบบ
ชลประทำน ได้แก่
120
๓) กำรทำำโลหะ
ขึ้นใช้เป็นพวก
แรกๆ ของโลก คือ
สำำริด
๔) ระบบกำร
สังเกตฤดูกำล
ดำรำศำสตร์ ที่มี
ควำมสัมพันธ์กับ
กำรเพำะปลูก
๕) กำรคำำนวณ
เลขใช้หลัก ๖๐
121
งสำำคัญของอำณำจักรซูเมอร์
ออร์ (Ur)
เรค (Ereck)
อริดู (Eridu)
ำกำช (Lagash)
บเปอร์ (Nippur)
122
2. Babylon
อำรยธรรมของชำวบำบิโลเนียน
เป็นของชนเผ่ำ อำมอไรท์
(Amorite) มีลักษณะสำำคัญคือ
กำรจัดทำำกฎหมำยฉบับเก่ำแก่
ที่สุดของโลก เรียกว่ำ กฎหมำย
ของพระเจ้ำฮัมมูรำบี “The Code
of Hammurabi” มีอำยุรำว 3,700
123
3. Hittite
อำรยธรรมของชำวฮิตไทท์เป็น
ของชนเผ่ำอินโดยูโรเปียน มี
ลักษณะสำำคัญ คือ กำรรู้จักใช้
เหล็กทำำเครื่องมือแทนทองแดง4. Assyria
อำรยธรรมอัสซีเรียนเป็นของ
ชนเผ่ำเซมิติกที่ชำำนำญกำรรบ
124
5. Persia
อำรยธรรมของชนเผ่ำเปอร์
เซียนเป็นพวกอินโดยุโรเปียน
มีลักษณะสำำคัญ คือ
a.ระบบอำณำจักรแบบ
จักรวรรดิ (Empire)
b.ระบบศำสนำลัทธิโซโรอัส
125
ำรยธรรมลุ่มแม่นำ้ำไนล์
อียิปต์
อำรยธรรมอียิปต์
เกิดขึ้นจำกกำร
รวมตัวของคนที่
อำศัยอยู่อย่ำง
หนำแน่นตำมริม
ฝั่งแม่นำ้ำไนล์ ซึ่ง
ขนำบข้ำงด้วย
พื้นที่แห้งแล้ง
ของทะเลทรำย
126
127
ำรยธรรมกรีก
อำรยธรรมกรีก
คือ อำรยธรรมยุค
แรกเริ่มของทวีป
ยุโรปซึ่งถือได้ว่ำเป็น
แม่แบบให้แก่
อำรยธรรมตะวันตก
ต่อมำ
อำรยธรรมกรีก
มีรำกฐำนมำจำก
อำรยธรรมโบรำณ
128
• As far as we know, the Greeks were the first
of the ancient peoples to devise ways of
seeking truth by sustained and sophisticated
reasoning truth about the nature of the
universe, about the best ways for human
individuals and societies to live.
• The ancient Greeks philosophers have made
a great deal of contribution to the culture
and political system of the West.
129
ำคัญของอำรยธรรมกรีก
a.ควำมเป็นต้นแบบของ
อำรยธรรมตะวันตก
b.ระบบควำมคิดที่มองคนใน
ฐำนะปัจเจกชนในสังคม ซึ่ง
เป็นพื้นฐำนของระบบ
ประชำธิปไตย
130
๔. ระบบประชำธิปไตย
๕. ระบบกำรแพทย์
๖. ระบบกำรแข่งขันกีฬำโอลิมปิค
๗. กำรละคร มหำกำพย์
๘. ศิลปะ สถำปัตยกรรม
131
ำรยธรรมโรมัน
อำรยธรรมโรมันมีศูนย์กลำง
อยู่ ณ ดินแดนอิตำลี มีพื้น
ฐำนมำจำกอำรยธรรมกรีก
แต่ได้พัฒนำขึ้นมำเป็นแบบ
ของตน และได้ขยำย
อำณำจักรของตนเองออกไป
132
สำำคัญของอำรยธรรมโรมัน
a.กฎหมำยที่ยึดหลัก
เสรีภำพ ซึ่งมีอิทธิพลต่อ
กฎหมำยของยุโรปใน
เวลำต่อมำ
b.กำรปกครองระบบ
สำธำรณรัฐ
133
ยธรรมตะวันออกยุคโบรำณ
แหล่งกำำเนิดอำรยธรรมตะวัน
ออกยุคโบรำณมี ๒ บริเวณ
คือ
a.อำรยธรรมอินเดีย
b.อำรยธรรมจีน
134
ทั้ง ๒ อำรยธรรมดังกล่ำวมีอิทธิพล
ต่อประเทศไทยมำตั้งแต่โบรำณ
อย่ำงลึกซึ้ง โดยอำรยธรรม
อินเดียจะให้ในด้ำนควำมคิด
ควำมเชื่อ ภำษำ แนวทำงกำร
ปกครอง ส่วนอำรยธรรมจีนจะ
ให้ในด้ำนกำรดำำเนินชีวิต
ประจำำวัน กำรค้ำขำย
135
อินเดีย หรือ ดินแดนภำรตะ
เป็นอนุทวีป ที่มีสภำพแวดล้อม
เป็นเอกเทศมำแต่โบรำณ จึงก่อ
ให้เกิดกำรสร้ำงสรรค์ และสั่งสม
อำรยธรรมของตนเองอย่ำงมี
เอกลักษณ์มำเป็นระยะเวลำ
ยำวนำน
136
ำรยธรรมอินเดีย
อำรยธรรมอินเดียมีต้นกำำเนิดมำจำก
อำรยธรรมลุ่มแม่นำ้ำสินธุ (Indus
Civilization) โดยมีหลักฐำนควำม
เจริญรุ่งเรืองมำตั้งแต่รำว 3,000 B.C.
(ร่วมสมัยกับอำรยธรรมเมโสโปเต
เมีย) ณ เมืองฮำรัปปำ (Harappa)
และเมืองโมเฮนโจดำโร (Mohenjo-
daro) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศ
137
อำรยธรรมลุ่มแม่นำ้ำสินธุเป็นของพวกชำว
ดรำวิเดียน ซึ่งเป็นคนพื้นเมืองเดิมก่อนหน้ำ
ชำวอำรยัน
ลักษณะพิเศษที่พบในอำรยธรรมลุ่มแม่นำ้ำ
สินธุ คืออำรยธรรมสังคมเมือง(Urban
Civilization)แตกต่ำงจำกอำรยธรรมโบรำณ
อื่นๆ อำทิ
-กำรวำงผังเมืองเป็นระบบตำรำง (Grid
System)
-สิ่งก่อสร้ำงสำธำรณะของประชำชน
138
อำรยธรรมอินเดียสมัยที่ชำว
อำรยันได้เข้ำมำแทนที่พวก
ดรำวิเดียน
ชำวอำรยันเดิมเป็นพวกเร่ร่อน พูดภำษำ
ตระกูลอินโดยูโรเปียน อำศัยอยู่ทำงแถบ
เอเชียกลำงทำงตอนเหนือของอินเดีย พวก
นี้ได้อพยพเข้ำมำในอินเดียตั้งแต่รำว 2,500
B.C.
สิ่งสำำคัญที่พวกอำรยันได้สร้ำงขึ้นมำ คือ
ระบบทำงสังคม และระบบควำมเชื่อ
139
บทำงสังคมของอำรยธรรมอินเดีย
ระบบวรรณะ (Caste System)
พวกอำรยันเดิมมี ๓ วรรณะ คือ
a. พรำหมณ์ : นักบวช,ผู้ประกอบ
พิธีกรรม , ผู้สำมำรถติดต่อกับเทพเจ้ำ
b. กษัตริย์ : ผู้ปกป้องประชำชน , รักษำ
ผืนแผ่นดิน , นักรบ
c. แพศย์ : ชำวบ้ำน , ค้ำขำย ผลิต
อำหำร
140
แต่ต่อมำเมื่อเข้ำมำสู่อินเดียแล้ว
ได้มีวรรณะเพิ่มขึ้น วรรณะศูทร
คือ พวกชำวพื้นเมือง ทำำหน้ำที่ใช้
แรงงำน , รับใช้ , ไม่มีสิทธิ์ศึกษำ
คัมภีร์พระเวทจัดเป็นวรรณะตำ่ำสุด
141
บบควำมเชื่อของอำรยธรรมอินเดีย
อินเดียเป็นดินแดนต้น
กำำเนิดระบบควำมเชื่อ
สำำคัญหลำยระบบ คือ
a.พรำหมณ์
b.พุทธ
c.เชน
142
พวกอำรยันมีระบบควำมเชื่อของตนอัน
เก่ำแก่ในเรื่องเทพเจ้ำหลำยองค์
(Polytheism) ดังปรำกฏในคัมภีร์พระเวท
ซึ่งแบ่งเป็น ฤคเวท , ยธุรเวท , สำมเวท
เรียกว่ำศำสนำพรำหมณ์ ซึ่งต่อมำได้ถูก
กระแสของระบบควำมเชื่อใหม่ คือ พุทธ
และเชน เข้ำมำกระทบ ทำำให้ต้องปฏิรูป
ศำสนำไปสู่ศำสนำฮินดู ซึ่งมีผู้นิยม
นับถือสืบมำจนถึงปัจจุบัน
143
ศำสนำฮินดูในปัจจุบันแบ่ง
ออกได้เป็น ๒ นิกำย
ใหญ่ๆ คือ
a.ไศวนิกำย นับถือพระศิวะ
หรือ พระอิศวร
b.ไวศณพนิกำย นับถือพระ
วิษณุ หรือ พระนำรำยณ์
144
ทธิพลของอำรยธรรมอินเดียต่อไทย
บควำมเชื่อ ประเพณี
ำสนำพุทธ
–ำสนำพรำหมณ์ ฮินดู
ำ
ปกครอง : หลักกฎหมำย มนูธรรมศำส
145
๔. ศิลปะ
๔.๑ สถำปัตยกรรม
๔.๒ ประติมำกรรม
๕. วรรณคดี
๕.๑ รำมยณะ รำมเกียรติ์
๕.๒ มหำภำรตะ
146
อำรยธรรมจีน
จีน ดินแดนตะวันออกสุดของ
ทวีปเอเชีย (Far East) เป็นดิน
แดนที่มีขนำดใหญ่ และอยู่ห่ำง
ไกลจำกอำรยธรรมโบรำณอื่นๆ
147
ำรยธรรมจีนยุคโบรำณ
เริ่มต้นที่รำชวงศ์ชำง เมื่อรำว
1,500 B.C. ที่เริ่มมีอำำนำจเป็น
นครรัฐอย่ำงชัดเจน และมี
ลักษณะเป็นสังคมทำส มีกำร
สังเวยชีวิตมนุษย์ต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์
148
สิ่งที่แสดงควำมรุ่งเรืองของ
อำรยธรรมจีนยุคโบรำณ คือ
a. อักษรจีน มีมำตั้งแต่ 1,500 B.C.
และต่อมำได้กลำยเป็นเป็นพื้นฐำน
ของอักษรญี่ปุ่น เกำหลี
b. เครื่องมือ เครื่องใช้สำำริด
c. กำำแพงเมืองจีน ถือเป็นสิ่งก่อสร้ำง
ยิ่งใหญ่ที่สุดของมนุษย์อย่ำงหนึ่ง
149
ภำชนะดินเผำแบบจีน เครื่องลำยครำ
ผ้ำไหม
กำรพิมพ์
. กำรเดินเรือ
อำหำรจีน
. ศิลปะจีน
150
บบควำมเชื่อของจีน
a.ลัทธิขงจื๊อ หรือลัทธิหยู ซึ่ง
หมำยถึงนักศึกษำ เป็นลัทธิที่มี
อิทธิพลต่อชำวจีนมำนับแต่
โบรำณโดยมีใจควำมเน้นเรื่อง
คุณธรรมที่อยู่บนพื้นฐำนของ
หลักแห่งเมตตำ กำรดำำรงชีวิต
ของมนุษย์จะต้องยึดมั่นใน
151
ขงจื้อไม่พูดถึงเรื่องโชคชะตำ
ภูตผี หรือชำติหน้ำ แต่สอนให้
รู้จักชีวิตปัจจุบันให้ดีเสียก่อน
นอกจำกนั้นลัทธิขงจื้อยัง
สอนให้ทุกคนจะต้องเรียน
หนังสือไปตลอดชีวิต ไม่ว่ำจะอยู่
ในอำชีพใด
152
๒. ลัทธิเต๋ำ มีที่มำจำกคำำสอนของ
เล่ำจื๊อ นักปรัชญำพเนจรที่เน้น
กำรกลับคืนสู่ธรรมชำติ ใช้ชีวิต
เรียบง่ำย มีเสรีภำพ
๓. ลัทธิบูชำบรรพบุรุษ เป็น
ระบบควำมเชื่อที่สืบทอดมำแต่ยุค
โบรำณโดยถือว่ำบิดำเป็นประมุข
ของครอบครัว ยึดถือระบบกตัญญู
153
พลของอำรยธรรมจีนที่มีต่อไทย
อิทธิพลของอำรยธรรมจีนที่มีต่อ
ไทยส่วนใหญ่จะมีลักษณะของ
กำรติดต่อค้ำขำยระหว่ำงกันมำ
เป็นเวลำช้ำนำน จึงมักอยู่ในรูป
ของกำรดำำรงชีวิต ข้ำวของ
เครื่องใช้ อำหำร และเทคโนโลยี
ต่ำงๆ เสียมำกกว่ำ ส่วนที่เป็น
154
จนในสมัยรัตนโกสินทร์ที่มีคน
จีนอพยพเข้ำมำอยู่ในเมืองไทย
มำกขึ้น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งจีน
แต้จิ๋ว จึงทำำให้มีกำรผสมผสำน
วัฒนธรรม ประเพณีของจีนกับ
ไทยมำกขึ้น
155
กำรแบ่งช่วงเวลำในสมัยก่อน
ประวัติศำสตร์
• ในทำงโบรำณคดีมีกำรแบ่งช่วงเวลำอัน
ยำวนำนในอดีตออกได้ดังนี้
ยุคหินเก่ำ
ยุคหินกลำง
ยุคหินใหม่
ยุคสำำริด
ยุคเหล็ก
156
๒. แบบที่เรียกว่ำผลิต
อำหำรได้เอง (food
Producing Society)
ได้แก่ กำรเพำะปลูก
(Agriculture) กำรเลี้ยง
สัตว์ (Animal
Husbandry, Animals
Pastoralism)
157
ณะของกำรผลิตอำหำรของมนุษย์
นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มนุษย์มี
ลักษณะกำรผลิตอำหำรออกได้เป็น ๒
แบบใหญ่ๆ คือ๑. แบบที่ไม่สำมำรถผลิตอำหำรได้
เอง แต่หำเอำจำกธรรมชำติ (Food
Gathering Society) ได้แก่ลักษณะที่
เรียกว่ำ กำรล่ำสัตว์ (Hunting) กำร
หำของป่ำ
158
๓) กำรเพำะปลูก
แบบซับ
ซ้อน(Agriculture)
๔) กำรเลี้ยงสัตว์
(Pastoralism)
๕) กำรอุตสำหกรรม
(Industry)

Contenu connexe

Tendances

อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันJungko
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยPadvee Academy
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ขอให้ ... เห็นคุณค่าในตนเอง: Self esteem
ขอให้ ... เห็นคุณค่าในตนเอง: Self esteemขอให้ ... เห็นคุณค่าในตนเอง: Self esteem
ขอให้ ... เห็นคุณค่าในตนเอง: Self esteemPhruksa Sinluenam
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 

Tendances (20)

Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
การนำเสนอโดยการเขียน
การนำเสนอโดยการเขียนการนำเสนอโดยการเขียน
การนำเสนอโดยการเขียน
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
unit1_2
unit1_2unit1_2
unit1_2
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ขอให้ ... เห็นคุณค่าในตนเอง: Self esteem
ขอให้ ... เห็นคุณค่าในตนเอง: Self esteemขอให้ ... เห็นคุณค่าในตนเอง: Self esteem
ขอให้ ... เห็นคุณค่าในตนเอง: Self esteem
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 

En vedette

แนะนำงานหอพัก ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
แนะนำงานหอพัก ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสนแนะนำงานหอพัก ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
แนะนำงานหอพัก ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสนSakdidej Ubolsing
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) Heritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกChanapa Youngmang
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมียซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมียSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียGain Gpk
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 

En vedette (16)

Man lg
Man lgMan lg
Man lg
 
แนะนำงานหอพัก ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
แนะนำงานหอพัก ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสนแนะนำงานหอพัก ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
แนะนำงานหอพัก ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
Man lg handout s
Man lg handout sMan lg handout s
Man lg handout s
 
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมียซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
Philosophy history
Philosophy historyPhilosophy history
Philosophy history
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 

Similaire à มรดกอารยธรรมโลก

Evolution human
Evolution humanEvolution human
Evolution humanBio Teach
 
สื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ Historyสื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ HistoryDraftfykung U'cslkam
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)Nakhon Pathom Rajabhat University
 
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคม
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคมวิวัฒนาการชนชั้นของสังคม
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคมnoonam2538
 
9789740332800
97897403328009789740332800
9789740332800CUPress
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยwiriya kosit
 
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลกวิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลกwathanasin38
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์DuangdenSandee
 
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]ssuserd22157
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)kruthai40
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismChaloempond Chantong
 

Similaire à มรดกอารยธรรมโลก (20)

Evolution human
Evolution humanEvolution human
Evolution human
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
สื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ Historyสื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ History
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลกการพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
 
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคม
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคมวิวัฒนาการชนชั้นของสังคม
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคม
 
9789740332800
97897403328009789740332800
9789740332800
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
 
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลกวิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
 
the exam.
the exam.the exam.
the exam.
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
 
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
 
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
 

Plus de Heritagecivil Kasetsart

ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
The heritages of world civilization Inter
The heritages of world civilization InterThe heritages of world civilization Inter
The heritages of world civilization InterHeritagecivil Kasetsart
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)Heritagecivil Kasetsart
 

Plus de Heritagecivil Kasetsart (20)

ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
The heritages of world civilization
The heritages of world civilization The heritages of world civilization
The heritages of world civilization
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
 
01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.
 
01999031 western music classical.
01999031 western music classical.01999031 western music classical.
01999031 western music classical.
 
Man lg eng hndout
Man lg eng hndoutMan lg eng hndout
Man lg eng hndout
 
World history
World historyWorld history
World history
 
World major religion
World major religionWorld major religion
World major religion
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
 
The heritages of world civilization Inter
The heritages of world civilization InterThe heritages of world civilization Inter
The heritages of world civilization Inter
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 

มรดกอารยธรรมโลก