SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  49
Cell and Structure of cell
1
KWS : Biology
ทฤษฎีเซลล์ (Cell theory)
MatthiasSchleiden ค.ศ.1837 Theodor Schwann ค.ศ.1838
“สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์
และผลิตภัณฑ์ของเซลล์”
2
KWS : Biology
Rudolf Virchow ค.ศ. 1855
“สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และผลิตภัณฑ์ของ
เซลล์ โดยเซลล์ทุกชนิดมีกาเนิดมาจากเซลล์
ที่มีอยู่ก่อนแล้ว”
3
KWS : Biology
สรุปทฤษฎีเซลล์
1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย อาจมีเพียงเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์
ที่มีสารพันธุกรรมและกระบวนการเมตาบอลิซึมจึง
ดารงชีวิตอยู่ได้
2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการ
จัดระบบการทางานภายในโครงสร้างของเซลล์
3. เซลล์มีกาเนิดมาจากเซลล์แรกเริ่มหรือเซลล์เพิ่มจานวน
ขึ้นมาได้จากเซลล์รุ่นก่อน
4
KWS : Biology
ชนิดของเซลล์
1. Prokaryotic cell
- ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane)
- ไม่มีเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์ (organelles membrane)
2. Eukaryoticcell
- มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane)
- มีเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์ (organellesmembrane)
5
KWS : Biology
Prokaryoticcell
6
KWS : Biology
Eukaryotic cell
7
KWS : Biology
สรุปแล้วการจาแนกชนิดของ
เซลล์จาแนกจากการ
มี/ไม่มี
เยื่อหุ้มนิวเคลียสและเยื่อหุ้มออร ์
แกเนลล์
8
KWS : Biology
Cell Structure
1. Nucleus
2. Cytoplasm
3. Cell membrane
9
KWS : Biology
Nucleus
• หมายถึงOrganelle ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดภายในเซลล์ ส่วนใหญ่มี
รูปร่างทรงกลมหรือเป็นรูปไข่ ภายใน Nucleusจะมีหน่วย
พันธุกรรมที่เราเรียกว่ายีน(Gene) บรรจุอยู่ ซึ่งจะทำหน้ำที่
ควบคุมกำรทำงำนและกำรแสดงลักษณะโครงสร้ำงของเซลล์
10
KWS : Biology
11
KWS : Biology
เยื่อหุ้มนิวเคลียส
(nuclear membrane หรือ nuclear envelope)
• เยื่อหุ้มนิวเคลียสเป็นเยื่อบางๆ สองชั้นอยู่รอบนิวเคลียส มีสมบัติเป็น
เยื่อเลือกผ่าน
• เยื่อชั้นนอกมีไรโบโซมเกาะติดอยู่ดังภาพหน้าต่อไป
12
KWS : Biology
นิวคลีโอลัส (nucleolus)
• เป็นโครงสร้างที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ประกอบด้วยกรดนิวคลีอิก ชื่อ กรดไรโบ
นิวคลีอิก กับสารอื่นที่เป็นองค์ประกอบของไรโบโซม
• นิวคลีโอลัสมีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ชนิดต่างๆ และถูกนาออก
ทางรูของเยื่อหุ้มนิวเคลียส เพื่อสร้างเป็นไรโบโซมต่อไป ดังนั้นนิวคลี
โอลัสจึงมีความสาคัญต่อการสร้างโปรตีนเป็นอย่างมาก เนื่องจากไรโบ
โซมทาหน้าที่สร้างโปรตีน
13
KWS : Biology
โครมาทิน (chromatin)
• โครมาทินเป็นเส้นใยของโปรตีนหลายชนิด และกรดนิวคลีอิกชนิดกรดดี
ออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxyribonucleic acid : DNA) เป็นสาร
พันธุกรรมที่มีหน้าที่ควบคุมการทางานของเซลล์และควบคุมการ
ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิต หากมีการหดตัวจะถูกเรียกว่าโครโมโซม
(Chromosome)
14
KWS : Biology
15
KWS : Biology
ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
• เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane หรือ plasma
membrane หรือ plasma lemma)
• ผนังเซลล์ (cell wall)
16
KWS : Biology
cell membrane
17
KWS : Biology
• โครงสร้าง ประกอบด้วย ไขมันพวกฟอสโฟลิพิดเรียงตัวเป็น 2 ชั้น
(lipid bilayer)
• หน้าที่ ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าออกจากเซลล์ จึงมี
สมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน (semipermeable membrane หรือ
differentiallypermeable membrane)
18
KWS : Biology
Cellwall
19
KWS : Biology
• โครงสร้าง ประกอบด้วย เซลลูโลส (cellulose) และมีคิวทิน (cutin)ซู
เบอริน (suberin) เพกทิน (pectin) ลิกนิน (lignin)
• หน้าที่ เพิ่มความแข็งแรงและป้องกันอันตรายให้แก่เซลล์พืช และยอม
ให้สารเกือบทุกชนิดผ่านเข้าออกอย่างสะดวก
20
KWS : Biology
21
KWS : Biology
cytoplasm
22
KWS : Biology
Cytoplasm
• ไซโทซอล (cytosol)
• ออร์แกเนลล์ (organells)
23
KWS : Biology
cytosol
• เป็นส่วนของไซโทพลาสซึมมีลักษณะเป็นสารกึ่ง ของเหลว มีอยู่
ประมาณร้อยละ 50 – 60 ของปริมาตรเซลล์ทั้งหมด บริเวณด้านนอกที่
อยู่ติดกับเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า เอ็กโทพลาซึม (ectoplasm) บริเวณด้าน
ใน เรียกว่า เอนโดพลาสซึม (endoplasm) เป็นที่อยู่ของออร์แกเนลล์
ต่างๆ เช่น แวคิวโอล ไมโทรคอนเดรีย และเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม เป็น
ต้น นอกจากนี้ในไซโทซอลยังอาจพบโครงสร้างอื่นๆ เช่น ก้อนไขมัน เม็ด
สีต่างๆ เป็นต้น
24
KWS : Biology
Cyclosis
• เซลล์บางเซลล์มีการไหลของไซโทพลาสซึมไปรอบๆเซลล์ เรียกการไหล
นี้ว่า ไซโคลซิส (cyclosis)
• เกิดจากการหดและคลายของไมโครฟิลาเมนท์ บริเวณเอนโดพลาซึมซึ่ง
มีลักษณะ ค่อนข้างเหลวเป็นที่อยู่ของออร์แกเนลล์ต่างๆ ทาให้เกิดการ
เคลื่อนที่ของออร์แกเนล์ต่างๆ
Cyclosis
25
KWS : Biology
organells
• เป็นโครงสร้างที่กระจายอยู่ตามตาแหน่งต่างๆ ในไซโทพลาซึม
• ออร์แกเนลล์แต่ละชนิดมีโครงสร้าง และหน้าที่แตกต่างกัน
26
KWS : Biology
เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม
(endoplasmic reticulum : ER)
• ลักษณะเป็นเยื่อบางๆ สองชั้นเหมือนเป็นท่อแบนใหญ่เรียงทบไปทบมา
• มีรูเป็นทางติดต่อกันเอง และเชื่อมกับเยื่อหุ้มนิวเคลียส มี 2 ชนิด คือ
– เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัมชนิดผิวขรุขระ (rough endoplasmic
reticulum : RER)
– เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัมชนิดผิวเรียบ (smooth endoplasmic
reticulum : SER)
27
KWS : Biology
rough endoplasmic reticulum : RER
• มีไรโบโซมเกาะติดที่ผิว
• ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนส่งออกไปนอกเซลล์ผ่านกอลไจคอมเพลกซ์
ไปยังส่วนอื่นของร่างกาย
28
KWS : Biology
smooth endoplasmic reticulum : SER
• ไม่มีไรโบโซมเกาะที่ผิว
• ทาหน้าที่สร้างไขมันพวกสเตอรอยด์(steroid) เช่น ฮอรร์โมนเพศ คอเล
สเทอรอล
29
KWS : Biology
ไรโบโซม (ribosome)
• ประกอบด้วยโปรตีนและกรดไรโบนิวคลีอิก (ribonucleic acid : RNA)
• ไรโบโซมประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย คือ
– หน่วยย่อยขนาดเล็ก (small subunit)
– หน่วยย่อยขนาดใหญ่ (large subunit)
• ทาหน้าที่เป็นแหล่งสร้างโปรตีน
30
KWS : Biology
31
KWS : Biology
กอลไจคอมเพลกซ์หรือ กอลไจบอดี
หรือ กอลไจแอปพาราตัส
(golgi complex หรือ golgi bodies หรือ golgi
apparatus)
• ประกอบด้วยส่วนที่เป็นถุงแบนๆ คล้ายจาน เรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ หลาย
ชั้น
• ทาหน้าที่สร้างสารคาร์โบไฮเดรตที่รวมกับโปรตีนที่สร้างจาก RERเป็น
ไกลโคโปรตีน (glycoprotein) แล้วส่งออกไปใช้ภายนอกเซลล์
32
KWS : Biology
33
KWS : Biology
ไมโทคอนเดรีย (mitochondria)
• มีลักษณะยาวรีและยืดหยุ่นได้
• ประกอบด้วยเยื่อสองชั้น ชั้นนอกผิวเรียบทา หน้าที่ เป็นเยื่อเลือกผ่าน
ชั้นในพับซ้อนไปมาแล้วยื่นเข้าไปข้างใน เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการสร้างพลัง-
งานให้แก่เซลล์
• ทาหน้าที่สร้างหรือเปลี่ยนพลังงานจากอาหารอื่นให้เป็นเอทีพี
34
KWS : Biology
35
KWS : Biology
ไลโซโซม (lysosome)
• เป็นเวสิเคิล (vesicle) ที่สร้างจากกอลไจคอมเพลกซ์ มีลักษณะคล้าย
ถุงเล็กๆ มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว
• หน้าที่ย่อยเชื้อโรคต่างๆ ที่เป็นสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่เซลล์
36
KWS : Biology
37
KWS : Biology
แวคิวโอล (vacuole)
• แซปแวคิวโอล(sap vacuole) ทาหน้าที่สะสมสารละลายต่างๆ
รวมทั้งกลิ่นของพืช
• คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล(contractile vacuole) ทาหน้าที่รักษา
สมดุลของน้าและเก็บของเสีย
• ฟูดแวคิวโอล(food vacuole) ทาหน้าที่ย่อยอาหารภายในเซลล์
38
KWS : Biology
39
KWS : Biology
พลาสทิด (plastid)
• คลอโรพลาสต์ (chloroplast)
• โครโมพลาสต์ (chromoplast)
• ลิวโคพลาสต์(leucoplast)
40
KWS : Biology
chloroplast
• เป็นพลาสทิดที่มีสีเขียว เนื่องจากมีสารพวกคลอโรฟิลล์
(chlorophyll)ภายใน
41
KWS : Biology
42
KWS : Biology
chromoplast
• เป็นพลาสทิดที่มีสารที่ทาให้เกิดสีต่างๆ ยกเว้นสีเขียว เนื่องจากมีสาร
พวกแคโรทีนอยด์ ซึ่งทาให้เกิดสีแดง สีส้ม และสีเหลือง
43
KWS : Biology
leucoplast
• เป็นพลาสทิดที่ไม่มีสี ทาหน้าที่สะสมเม็ดแป้งที่ได้จากการสังเคราะห์
ด้วยแสง พบในมันแกว กล้วย เผือก มันเทศ มันฝรั่ง และข้าว
44
KWS : Biology
เซนทริโอล (centriole)
• เซนทริโอลเป็นออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม มีลักษณะคล้ายท่อ
ทรงกระบอก 2 อัน ตั้งฉากกัน
• แต่ละอันประกอบด้วยหลอดเล็กๆ เรียกว่า ไมโครทิวบูล
(microtubule)เรียงตัวกันเป็นกลุ่ม 9กลุ่ม กลุ่มละ 3 หลอด
45
KWS : Biology
46
KWS : Biology
• ไมโครทิวบูล ควบคุมการเคลื่อนไหวของไซโทพลาซึมในเซลล์ ซิเลีย
แฟลเจลลัม และลาเลียงออร์แกเนลล์ภายในเซลล์ ไมโครทิวบูลเรียงตัว
กันเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2 หลอด ล้อมรอบ ตรงกลางมี 2 หลอด
47
KWS : Biology
48
KWS : Biology
49
KWS : Biology

Contenu connexe

Tendances

Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
Phattarawan Wai
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
Weeraphon Parawach
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
pongrawee
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
itualeksuriya
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
Tatthep Deesukon
 

Tendances (20)

Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
Cell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acrCell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acr
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
Cell
CellCell
Cell
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุขบทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
 

En vedette

Spay.Neuter Road Map Conf
Spay.Neuter Road Map ConfSpay.Neuter Road Map Conf
Spay.Neuter Road Map Conf
jlandsman
 
What Hurt The Most Cascada
What Hurt The Most CascadaWhat Hurt The Most Cascada
What Hurt The Most Cascada
abonydavis
 
Evoluzione Degli Obiettivi Di Mktg Per Rendere Efficace La Vendita
Evoluzione Degli Obiettivi Di Mktg Per Rendere Efficace La VenditaEvoluzione Degli Obiettivi Di Mktg Per Rendere Efficace La Vendita
Evoluzione Degli Obiettivi Di Mktg Per Rendere Efficace La Vendita
Cristiano Masiero
 
The 7th Revolution Marketing the Chaosian Paradox bt20120606_slide_share6
The 7th Revolution Marketing the Chaosian Paradox bt20120606_slide_share6The 7th Revolution Marketing the Chaosian Paradox bt20120606_slide_share6
The 7th Revolution Marketing the Chaosian Paradox bt20120606_slide_share6
Bruno Teboul
 

En vedette (20)

Charissa Kristine B
Charissa Kristine BCharissa Kristine B
Charissa Kristine B
 
Oct 2013 IT Townhall
Oct 2013 IT TownhallOct 2013 IT Townhall
Oct 2013 IT Townhall
 
Spay.Neuter Road Map Conf
Spay.Neuter Road Map ConfSpay.Neuter Road Map Conf
Spay.Neuter Road Map Conf
 
Merchandising Operativo
Merchandising OperativoMerchandising Operativo
Merchandising Operativo
 
What Hurt The Most Cascada
What Hurt The Most CascadaWhat Hurt The Most Cascada
What Hurt The Most Cascada
 
“Information Literacy and Web 2.0 : is it just hype?”
“Information Literacy and Web 2.0 :  is it just hype?”“Information Literacy and Web 2.0 :  is it just hype?”
“Information Literacy and Web 2.0 : is it just hype?”
 
Working with Data in iBooks Author
Working with Data in iBooks AuthorWorking with Data in iBooks Author
Working with Data in iBooks Author
 
Sencillos pasos para publicar en timetoast
Sencillos pasos para publicar en timetoastSencillos pasos para publicar en timetoast
Sencillos pasos para publicar en timetoast
 
The 2nd and 3rd marketing revolutions darwinian revolution and neuroscientist...
The 2nd and 3rd marketing revolutions darwinian revolution and neuroscientist...The 2nd and 3rd marketing revolutions darwinian revolution and neuroscientist...
The 2nd and 3rd marketing revolutions darwinian revolution and neuroscientist...
 
“How do you provide for everyone: success with diverse populations in the UK ...
“How do you provide for everyone: success with diverse populations in the UK ...“How do you provide for everyone: success with diverse populations in the UK ...
“How do you provide for everyone: success with diverse populations in the UK ...
 
“Library spaces in the knowledge society – knotting together global and local”
“Library spaces in the knowledge society – knotting together global and local”“Library spaces in the knowledge society – knotting together global and local”
“Library spaces in the knowledge society – knotting together global and local”
 
Rufty Senior Center The Importance Of Land Conservation
Rufty Senior Center   The Importance Of Land ConservationRufty Senior Center   The Importance Of Land Conservation
Rufty Senior Center The Importance Of Land Conservation
 
“Libraries as common denominator: from the citizen, country and global perspe...
“Libraries as common denominator: from the citizen, country and global perspe...“Libraries as common denominator: from the citizen, country and global perspe...
“Libraries as common denominator: from the citizen, country and global perspe...
 
Rao bc2013
Rao bc2013Rao bc2013
Rao bc2013
 
Evoluzione Degli Obiettivi Di Mktg Per Rendere Efficace La Vendita
Evoluzione Degli Obiettivi Di Mktg Per Rendere Efficace La VenditaEvoluzione Degli Obiettivi Di Mktg Per Rendere Efficace La Vendita
Evoluzione Degli Obiettivi Di Mktg Per Rendere Efficace La Vendita
 
407
407407
407
 
AG Update
AG UpdateAG Update
AG Update
 
From the Client Side: JavaScript in Plone
From the Client Side: JavaScript in PloneFrom the Client Side: JavaScript in Plone
From the Client Side: JavaScript in Plone
 
The 7th Revolution Marketing the Chaosian Paradox bt20120606_slide_share6
The 7th Revolution Marketing the Chaosian Paradox bt20120606_slide_share6The 7th Revolution Marketing the Chaosian Paradox bt20120606_slide_share6
The 7th Revolution Marketing the Chaosian Paradox bt20120606_slide_share6
 
Adobe Touch Apps
Adobe Touch AppsAdobe Touch Apps
Adobe Touch Apps
 

Similaire à Cell and structure of cell

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
Takky Pinkgirl
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
Wichai Likitponrak
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
mu_nin
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์
Chidchanok Puy
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 

Similaire à Cell and structure of cell (20)

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
Brands biology
Brands biologyBrands biology
Brands biology
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Cell2558
Cell2558Cell2558
Cell2558
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 

Plus de Phattarawan Wai

Plus de Phattarawan Wai (13)

409
409409
409
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
Kosum
KosumKosum
Kosum
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
Structure of cell
Structure of cellStructure of cell
Structure of cell
 
Cell
CellCell
Cell
 
Cell
CellCell
Cell
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Lab1
Lab1Lab1
Lab1
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 

Cell and structure of cell