SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  90
Télécharger pour lire hors ligne
Quality and Equity of Basic Education
for Sustainable Future :
Building Capacity for Every Learner
Benjalug Namfa, Ph.D.
Deputy Secretary-General, Office of the Basic Education Commission
Ministry of Education
ดร.เบญจลักษณ์น้ำฟ้ำ-รองเลขำธิกำรกพฐ.
Educational Policies
Where are we now ?
What Innovation We have ?
OUTLINE
PISA / TIMSS : Alert to the Challenge
MOE & OBEC Policies
Innovation : 5 Steps of Learning
Flip your Classroom
Where do we go Next ?
นโยบายการศึกษา
กลไกขับเคลื่อน
แนวทาง
บริหารจัดการ
8
5
2
นายจาตุรนต์ ฉายแสง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข้อเท็จจริง
 ผลการประเมินการจัดอันดับ IMD ปี 2013
- การศึกษาไทย อันดับที่ 51 จาก 60 ประเทศ
 ผล PISA ปี 2009 อันดับที่ 50 จาก 65 ประเทศ
 ผลการจัดอันดับ 400 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในโลก
Times Higher Education World Rankings
2012-2013 มีมหาวิทยาลัยไทยเพียงแห่งเดียวที่
ติดอยู่ในกลุ่ม 351-400
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให ้คิด วิเคราะห์ เรียนรู้
มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
และทักษะที่จาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21
เป้ าหมาย
2556
ปีแห่งการรวมพลังยกระดับคุณภาพการศึกษา
ภายในปี 2558
- ให ้ผลการจัดอันดับการศึกษาไทย PISA ให ้อยู่ในอันดับที่ดีขึ้น
- ให ้สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อสามัญเพิ่มขึ้นเป็น 50 : 50
- ให ้มหาวิทยาลัยไทยติดอันดับโลกมากขึ้น
- ให ้มีการกระจายโอกาสและเพิ่มความเสมอภาคทางการศึกษามากขึ้น
นโยบายการศึกษา8
พัฒนา
การศึกษา
จังหวัด
ชายแดน
ภาคใต้
กระจาย
โอกาสทาง
การศึกษา
อย่างมี
คุณภาพ
ส่งเสริม
เอกชน
ร่วมจัด/
สนับสนุน
การศึกษา
ส่งเสริมให้
อุดมศึกษา
เร่งพัฒนา
คุณภาพ/
มาตรฐาน
พัฒนา
มาตรฐาน
อาชีวศึกษา/
สอดคล้องกับ
ความต้องการ
ใช้
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ในการปฏิรูป
การเรียนรู้
ปฏิรูป
ระบบผลิต/
พัฒนาครู
ปฏิรูป
การเรียนรู้
ทั้งระบบ
ให้สัมพันธ์
เชื่อมโยงกัน
ปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบ
ให้สัมพันธ์เชื่อมโยงไปที่คุณภาพผู้เรียนและผลสัมฤทธิ์
1. ปฏิรูปหลักสูตร
2. ปฏิรูปการเรียนการสอน
3. การทดสอบ/วัดและประเมินผลผู้เรียน
4. การรับบุคคลเข้าศึกษาต่อมหาวิทยาลัย
5. การประเมินวิทยฐานะ/ความก้าวหน้าในวิชาชีพ
6. การประเมินสถานศึกษา
ปฏิรูป
หลักสูตร
ปฏิรูป
การเรียน
การสอน
ประเมินผล
ผู้เรียนรับบุคคล
เข้าศึกษา
มหาวิทยาลัย
ประเมิน
วิทยฐานะ
ประเมิน
สถานศึกษา
คุณภาพ
ผู้เรียน
สัมฤทธิผล
จาก- ผลสัมฤทธิ์ตกต่า (IMD, PISA, O-NET, อันดับมหาวิทยาลัยโลก)
- ก ้าวไม่ทันโลกยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ - ผลิตคนไม่สอดคล ้องการพัฒนาประเทศ
เป้ าหมาย – คุณภาพผู้เรียนเทียบเท่าระดับนานาชาติ
(IMD, PISA, O-NET, อันดับมหาวิทยาลัยโลก)
ปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบ
ให้สัมพันธ์เชื่อมโยงไปที่คุณภาพผู้เรียนและผลสัมฤทธิ์
5กลไกขับเคลื่อน
1. เร่งรัดจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
2. จัดตั้งสถาบันเพื่อวิจัยหลักสูตรและ
พัฒนาการเรียนการสอน
3. สร้างความเข้มแข็งของกลไกการวัดผล
ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล
4. เร่งรัดให้มีพระราชบัญญัติอุดมศึกษา
5. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
แนวทาง
บริหารจัดการ21. ตั้งคณะกรรมการ/ทางานขับเคลื่อนเรื่องสาคัญ
เช่น
คณะกรรมการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ PISA
2. จัดประชุม workshop อย่างเป็ นระบบ
ระดมความคิดและการมีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข ้องเพื่อ
ขับเคลื่อนให ้เป็นไปตามนโยบาย
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
Where are we now ?
3131
PISA
OECDProgrammefor
InternationalStudentAssessment
ScienceCompetencies
forTomorrow’sWorld
โครงการ PISA
Programme for International Students
Assessment
(Organisation for Economic Cooperation and Development)
โดย สสวท.
ร่วมกับ
OECD
สสวท.
สถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
3232
PISA
OECDProgrammefor
InternationalStudentAssessment
ScienceCompetencies
forTomorrow’sWorld
(Organisation for Economic Cooperation and Development)
OECD
สสวท.
สถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ใช้ระดับคุณภาพการศึกษาเป็นตัวทานาย
ศักยภาพความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ของประเทศนั้นๆ
3333
PISA
OECDProgrammefor
InternationalStudentAssessment
ScienceCompetencies
forTomorrow’sWorld
OECD
และพบว่ำ ในระยะยำว
“ระดับการรู้เรื่องเฉลี่ยของประชาชนในชาติ
เป็นตัวทานายเศรษฐกิจที่ดีกว่า
คุณวุฒิทางการศึกษา”
3434
PISA
OECDProgrammefor
InternationalStudentAssessment
ScienceCompetencies
forTomorrow’sWorld
กลุ่มตัวอย่ำง
นักเรียนที่มีอายุ 15 ปี ที่กาลังศึกษาอยู่ในชั้น ม.1ขึ้นไป
จากทุกสังกัด
(สพฐ., สช., สาธิตฯ, กทม., อศ., กศท.)
3535
PISA
OECDProgrammefor
InternationalStudentAssessment
ScienceCompetencies
forTomorrow’sWorld PISA
(Programme for International Students Assessment)
สสวท.
สถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
รอบที่ 1
ระยะที่ 1
ระยะที่ 2
ระยะที่ 3
รอบที่ 2
ระยะที่ 1
ระยะที่ 2
ระยะที่ 3
PISA 2000 : การอ่าน
PISA 2003 : คณิตศาสตร์
PISA 2006 : วิทยาศาสตร์
PISA 2009 : การอ่าน
PISA 2012 : คณิตศาสตร์
PISA 2015 : วิทยาศาสตร์
3636
PISA
OECDProgrammefor
InternationalStudentAssessment
ScienceCompetencies
forTomorrow’sWorld
การรายงานผลของ PISA
สสวท.
สถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
1. คะแนนเฉลี่ย
2. ระดับสมรรถนะ
คะแนนเฉลี่ย = 500
ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 100
การอ่าน ระดับ 1 - ระดับ 5
วิทยาศาสตร์ ระดับ 1 - ระดับ 6
คณิตศาสตร์ ระดับ 1 - ระดับ 6
3737
PISA
OECDProgrammefor
InternationalStudentAssessment
ScienceCompetencies
forTomorrow’sWorld
นัยทางการศึกษา
 ผลการประเมินสูงหรือต่าไม่ขึ้นกับค่าGDP ของประเทศ นั่นคือ
ความมั่งคั่งของรายได้ประเทศไม่ใช่ตัวกาหนดคุณภาพผู้เรียน แต่เป็น
นโยบายและการปฏิบัติมากกว่า
 การจัดการศึกษาของไทยในแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันมาก ทุกด้าน
ทุกเรื่อง แสดงว่า ความเท่าเทียมทางการศึกษายังแตกต่างกันมาก และ
ชี้ไปในทางที่ว่า กลุ่มสูงได้ทรัพยากรเพิ่มขึ้น กลุ่มต่าได้ทรัพยากรลดลง
 ไทยมีนักเรียนกลุ่มสูงน้อยมาก ส่วนกลุ่มต่ามีมากอย่างท่วมท้น ซึ่ง
ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพของบุคคลทั้งส่วนตัวและตลาดแรงงาน
3838
PISA
OECDProgrammefor
InternationalStudentAssessment
ScienceCompetencies
forTomorrow’sWorld
การชี้นัยทางการศึกษา
 ประเทศไทยควร..........
- พุ่งเป้ าที่ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการเรียนรู้
(กาจัดจุดอ่อน)
- ให้ความสาคัญกับกลุ่มโรงเรียน/นักเรียนที่อยู่ในกลุ่มต่ากว่า
ระดับพื้นฐานเป็นกลุ่มเป้ าหมายแรก
- พัฒนากลุ่มสูงให้มีสัดส่วนมากขึ้น
- เปลี่ยนวิธีการสอน การวัดผล การตัดสินผลการเรียน
(นักเรียนกลุ่มอ่อนต้องได้เรียนกับครูเก่ง)
3939
PISA
OECDProgrammefor
InternationalStudentAssessment
ScienceCompetencies
forTomorrow’sWorld
โจทย์ที่รอการแก้
ทาอย่างไรเยาวชนไทยจะได้รับทักษะ
พื้นฐานสาหรับชีวิตอนาคต
โดย โครงการวิจัยนานาชาติ TIMSS 2011
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่ 11 ธันวาคม 2555
ดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
บทสรุปผลการวิจัย TIMSS 2011
(ด้านนักเรียนและครูผู้สอน)
ผลการวิจัยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้
o ผลคะแนนเฉลี่ย
วิชาคณิตศาสตร์ จัดอยู่ในอันดับที่ 34
วิชาวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในอันดับที่ 29
จากทั้งหมด 52 ประเทศ และรัฐที่เข ้าร่วมเปรียบเทียบ 7 รัฐ
ด้านครูผู้สอน
o ครูไทยส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (86%)
สูงกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติและสูงกว่าสิงคโปร์
แต่มีพื้นความรู้ไม่ตรงกับวิชาที่สอนสูงกว่าค่าเฉลี่ยเช่นกัน
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
ผลการวิจัยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ คะแนนเฉลี่ย
วิชาคณิตศาสตร์ จัดอยู่ในอันดับที่ 28
วิชาวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในอันดับที่ 25
จากทั้งหมด 45 ประเทศ และรัฐที่เข ้าร่วมเปรียบเทียบ 14 รัฐ
ในระดับอาเซียน ไทยเป็นอันดับสองรองจากสิงคโปร์
นาหน้ามาเลเซียในวิชาวิทยาศาสตร์ และตามติดในวิชาคณิตศาสตร์
ด้านครูผู้สอน
ครูม.2 สองวิชาจบการศึกษาระดับปริญญาตรีสูงกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ
ในระดับอาเซียน
ครูไทยมีวุฒิปริญญาตรี/สูงกว่าปริญญาตรี สูงกว่าทุกประเทศที่เข ้าร่วม
แต่มีพื้นความรู้ไม่ตรงกับวิชาที่สอนสูงกว่าค่าเฉลี่ยเช่นกัน
TIMSS
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
•(ค.ศ. 1995 – 1999) ชื่อ
Third International Mathematics and Science Study
•ค.ศ. 2003 ชื่อ
Trends in International Mathematics and Science Study
•ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของนักเรียนป.4 (grade 4)
และม.2 (grade 8)
•เริ่มประเมินครั้งแรกค.ศ. 1995และประเมินต่อเนื่องกันทุก 4 ปี
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
ประเทศไทย
•ป. 4 ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011)
•ม. 2 ได ้ดาเนินการมาแล ้วตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 1999 2007
และ 2011 (เว ้น 2003)
TIMSS 2011
•ป. 4 : 52 ประเทศ + รัฐที่เข ้าร่วมเปรียบเทียบ 7 รัฐ
•ม. 2 : 45 ประเทศ + รัฐที่เข ้าร่วมเปรียบเทียบ 14 รัฐ
TIMSS
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
ด้านครูผู้สอน
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการศึกษา
( McKinsey report)
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
ครู
สถานศึกษา Resources และการสนับสนุน
นักเรียน
ข้อเสนอแนะสาหรับประเทศไทย
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
• ครู - พัฒนาและสร้างแรงจูงใจครู
–จัดหาเอกสารและสื่อการสอน
–ฝึกฝนด ้านการสร ้างหลักสูตรระดับสถานศึกษา
–กาหนดเวลาในการจัดการเรียนการสอนให ้เหมาะสม
–เยี่ยมและให ้คาแนะนาโรงเรียนจากหน่วยงานกลาง
–สร ้างแรงจูงใจและให ้รางวัลกับผลการปฏิบัติงาน
ข้อเสนอแนะสาหรับประเทศไทย
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
•สถานศึกษา-พัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพถึงมาตรฐาน
–ใช ้ผลการเรียนเป็นเป้าหมายของโรงเรียน
–ให ้การสนับสนุนโรงเรียนตามสัมฤทธิผลของการจัดการ
เรียนการสอน
–ให ้การสนับสนุนการปรับปรุงโครงสร ้างพื้นฐานของโรงเรียน
–จัดหาสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพอย่าง
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
ข้อเสนอแนะสาหรับประเทศไทย
• นักเรียน - จัดให้นักเรียนมีที่เรียน
–จัดสถานศึกษาให ้นักเรียนอย่างเพียงพอ
–สร ้างแรงจูงใจให ้นักเรียน
–เตรียมนักเรียนให ้มีพื้นฐานและความพร ้อมต่อการเรียนรู้
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
What Innovation We
Have ?
5 จุดเน้นผู้เรียน
เป็ นเลิศวิชาการ
สื่อสาร 2 ภาษา
ล้าหน้าทางความคิด
ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
กระบวนทัศน์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ซึ่งจะเป็นบันไดพัฒนาผู้เรียนไปสู่
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
Focus on learning skills development
for lifelong learning : 5 Learning Steps
การเรียนรู้
ตั้งคาถาม
กระบวนทัศน์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ซึ่งจะเป็นบันได
พัฒนาผู้เรียนไปสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์
•เป็นจุดเริ่มต ้นการพัฒนาการคิด
การเรียนรู้ตลอดชีวิต
•การที่จะส่งเสริมให ้นักเรียนคิด
วิเคราะห์ จะต ้องเริ่มจากการฝึกให ้
ผู้เรียนมีความช่างสังเกต เกิด
ความสงสัยที่จะหาคาอธิบาย
•ครูจะมีบทบาทสาคัญในการให ้
นักเรียนฝึกตั้งคาถามให ้เป็นอย่าง
สร ้างสรรค์
ดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ ำ รองเลขำธิกำรกพฐ.
Focus on learning skills development
for lifelong learning : 5 Learning Steps
การเรียนรู้
แสวงหา
สารสนเทศ
กระบวนทัศน์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ซึ่งจะเป็นบันได
พัฒนาผู้เรียนไปสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์
เป็นการสืบค ้น สอบถาม
สัมภาษณ์ หรือใช ้วิธีการทดลอง
ทดสอบ เพื่อรวบรวมข ้อมูลจาก
แหล่งต่าง ๆ
นาข ้อมูลและสารสนเทศมา
กลั่นกรอง และคัดสรรในส่วนที่
เป็นประโยชน์มาใช ้ในชีวิต
ประจาวันหรือภารกิจหน้าที่ที่
รับผิดชอบ
ดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ ำ รองเลขำธิกำรกพฐ.
Focus on learning skills development
for lifelong learning : 5 Learning Steps
การเรียนรู้
เพื่อสร้าง
องค์ความรู้
กระบวนทัศน์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ซึ่งจะเป็นบันได
พัฒนาผู้เรียนไปสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์
•เป้าหมายของการเรียนรู้ เพราะการ
เรียนรู้ที่ดีที่สุดผู้เรียนต ้องมีความ
เข ้าใจในการสรุปเหตุผล
ซึ่งจะต ้องผ่านกระบวนการที่
หลากหลาย ทั้งวิธี Deductive และ
Inductive มีการอภิปราย ถกแถลงใน
ชั้นเรียน
•ครูจะทาหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนการ
เรียนรู้ (Facilitator)
ดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ ำ รองเลขำธิกำรกพฐ.
Focus on learning skills development
for lifelong learning : 5 Learning Steps
การเรียนรู้
เพื่อสื่อสาร
กระบวนทัศน์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ซึ่งจะเป็นบันได
พัฒนาผู้เรียนไปสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์
•เป็นทักษะที่มีความจาเป็นยิ่งใน
โลกปัจจุบัน
•ผู้เรียนจะต ้องเรียนรู้ และฝึกฝน
ให ้มีทักษะด ้านภาษา ตลอดจน
พัฒนาเทคนิคและศิลปะวิธีการ
นาเสนอ ซึ่งครอบคลุมการใช ้
สื่อเทคโนโลยี เพื่อให ้การ
นาเสนอมีประสิทธิภาพ
ดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ ำ รองเลขำธิกำรกพฐ.
Focus on learning skills development
for lifelong learning : 5 Learning Steps
การเรียนรู้
เพื่อตอบ
แทนสังคม
กระบวนทัศน์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ซึ่งจะเป็นบันได
พัฒนาผู้เรียนไปสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์
เป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดประการหนึ่ง
ของการจัดการศึกษา
•บทบาทของการศึกษานอกจาก
การพัฒนาปัจเจกบุคคล คือการ
สร ้างจิตสานึกของความเป็น
พลเมือง
•ให ้ผู้เรียนเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกัน
ปฏิบัติหน้าที่ในทางสร ้างสรรค์
เกื้อกูลกัน มีจิตสาธารณะ หาทาง
ในการพัฒนาสังคมให ้ดีกว่า เพื่อ
สังคมที่สันติสุขและยั่งยืน
ดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ ำ รองเลขำธิกำรกพฐ.
กระบวนทัศน์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ซึ่งจะเป็นบันไดพัฒนาผู้เรียนไปสู่
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ
Where do we go next ?
คุณภาพการศึกษาสาหรับเด็กทุกคน
Building Capacity for Every Child
การยกระดับ
คุณภาพ
ผู้เรียน
ระบบเรียนรู้
ระบบดูแลนักเรียน
ระบบบริหารจัดการ
ดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟ้ำ - รองเลขำธิกำร กพฐ.
We Are
All
Players
การศึกษาคือปัจจัยสาคัญ
ในการพัฒนาประเทศ
to create
bright future
of
our country
Working together

Contenu connexe

Tendances

พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษา8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษาkruwaeo
 
๑.๕ นโยบาย รมต.ศธ(จาตุรงค์)จักราวุธ คำทวี
๑.๕ นโยบาย รมต.ศธ(จาตุรงค์)จักราวุธ คำทวี๑.๕ นโยบาย รมต.ศธ(จาตุรงค์)จักราวุธ คำทวี
๑.๕ นโยบาย รมต.ศธ(จาตุรงค์)จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607
สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607
สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607Pattie Pattie
 

Tendances (9)

เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754
เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754
เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754
 
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11
 
Stem ศึกษา
Stem ศึกษาStem ศึกษา
Stem ศึกษา
 
8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษา8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษา
 
๑.๕ นโยบาย รมต.ศธ(จาตุรงค์)จักราวุธ คำทวี
๑.๕ นโยบาย รมต.ศธ(จาตุรงค์)จักราวุธ คำทวี๑.๕ นโยบาย รมต.ศธ(จาตุรงค์)จักราวุธ คำทวี
๑.๕ นโยบาย รมต.ศธ(จาตุรงค์)จักราวุธ คำทวี
 
สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607
สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607
สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607
 

En vedette (14)

Smedu award
Smedu awardSmedu award
Smedu award
 
Coup d'état
Coup d'étatCoup d'état
Coup d'état
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
About
AboutAbout
About
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
Unit11
Unit11Unit11
Unit11
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
Unit13
Unit13Unit13
Unit13
 
Unit12
Unit12Unit12
Unit12
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit9
Unit9Unit9
Unit9
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit7
Unit7Unit7
Unit7
 

Similaire à การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Kittipun Udomseth
 
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย (thailand ste...
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล  ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย  (thailand ste...รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล  ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย  (thailand ste...
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย (thailand ste...chaiwat vichianchai
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคตแนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคตPrachyanun Nilsook
 
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisa
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisaการเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisa
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisaพัน พัน
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง Jaru O-not
 
เอสารนโยบาย
เอสารนโยบายเอสารนโยบาย
เอสารนโยบายqlf
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญnophon
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญnophon
 

Similaire à การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59
 
What is e clip?
What is e clip?What is e clip?
What is e clip?
 
ส่วนที่ ๓
ส่วนที่  ๓ส่วนที่  ๓
ส่วนที่ ๓
 
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย (thailand ste...
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล  ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย  (thailand ste...รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล  ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย  (thailand ste...
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย (thailand ste...
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคตแนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต
 
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisa
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisaการเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisa
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisa
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
 
Ugp 630910
Ugp 630910Ugp 630910
Ugp 630910
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
เอสารนโยบาย
เอสารนโยบายเอสารนโยบาย
เอสารนโยบาย
 
A1
A1A1
A1
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 

Plus de Chommy Rainy Day (16)

Covid Diary
Covid DiaryCovid Diary
Covid Diary
 
Google docs
Google docsGoogle docs
Google docs
 
ความภาคภูมิใจ
ความภาคภูมิใจความภาคภูมิใจ
ความภาคภูมิใจ
 
รวม 7 เรื่อง
รวม 7 เรื่องรวม 7 เรื่อง
รวม 7 เรื่อง
 
6.2 st
6.2 st6.2 st
6.2 st
 
Flochart 33
Flochart 33Flochart 33
Flochart 33
 
Flochart 22
Flochart 22Flochart 22
Flochart 22
 
Boxx
BoxxBoxx
Boxx
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
1381741909 622573
1381741909 6225731381741909 622573
1381741909 622573
 
About
AboutAbout
About
 
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
 
Pm61885(0)
Pm61885(0)Pm61885(0)
Pm61885(0)
 
St h
St hSt h
St h
 

การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา