SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  73
Télécharger pour lire hors ligne
Aug , 2016
การให้วัคซีนป้องกันโรค
สาหรับบุคลากรทางการแพทย์
A. 7-8
B. 5-6
C. 3-4
D. <3
E. แข็งแรงดี ไม่ติดโรคหรอก
ท่านทางานในโรงพยาบาลท่านคิดว่า
ท่านมีภูมิคุ้มกันต่อโรคต่อไปนี้ทั้งหมดกี่โรค
1 บาดทะยัก
2 คอตีบ
3 ไอกรน
4 หัด
5 อีสุกอีใส
6 ไข้หวัดใหญ่
7 ตับอักเสบบี
8 ตับอักเสบเอ
ความสาคัญ
• บุคลากรทางการแพทย์มีโอกาสได้รับเชื้อโรคต่างๆจากผู้ป่วย
• สามารถแพร่กระจายเชื้อนั้นๆ ไปยังผู้ป่วยอื่น ผู้ร่วมงาน และ
ครอบครัว
• โรคติดเชื้อหลายชนิดสามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน
• การฉีดวัคซีนเป็นการป้องกันที่ตัวบุคลากรทางการแพทย์เองและ
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปยังผู้อื่น เช่น ผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่า
และคนใกล้ชิด
สาเหตุของการไม่ได้รับวัคซีน
• เหตุผลที่บุคลากรปฏิเสธที่จะรับวัคซีน
- กลัวอาการข้างเคียงของวัคซีน
- คิดว่าวัคซีนไม่ได้ผล (เช่น วัคซีนไข้หวัดใหญ่)
- คิดว่ามีความเสี่ยงต่าในการเกิดโรค (เช่น ไวรัสตับอักเสบบี)
• นโยบายของโรงพยาบาลที่มีการสนับสนุนการให้วัคซีนใน
บุคลากร
วัคซีนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
1.วัคซีนเชื้อตาย (Inactivated vaccine or Killed Vaccine)
2.วัคซีนเชื้ออ่อนฤทธิ์ (live attenuated vaccine)
3.วัคซีนที่ผลิตจากส่วนประกอบของเชื้อโรค (toxoid)
การให้วัคซีนในบุคลากรทางการแพทย์
Vaccines Conditions
Pregnancy Health-care
workers
Heart , COPD
Chronic
kidney
Cirrhosis,
DM
Anatomic
or
functiona
l
asplenia
HIV
(CD4+>
200 /uL)
Severe
immune
suppressive
state
Organ/BM
transplant
Td or TT or
Tdap
1-2 doses of
Td (or TT)
Boost with
1 dose of Td
(or TT) every
10 years
(substitute one-
time of Tdap)
Boost with 1 dose of Td (or TT) every 10 years
1 dose of
Tdap for
pregnancy/
post-partum
period
Substitute one-time of Td (or TT) with Tdap
Varicella Contra-
indication
2 doses
(consider
serological test
before
vaccination)
Contra-
indication
(except
CD4+
> 500 /uL)
Contra-
indication
Contra-
indication
MMR Contra-
indication
2 doses Contra-
indication
Contra-
indication
Contra-
indication
HPV 3 doses through age 26 years (female)
3 doses through age 26 years (male)
คาแนะนาการให้วัคซีนสาหรับผู้ใหญ่ที่มีโรคเรื้อรังและบุคลากรทางการแพทย์
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ปีพ.ศ. 2557
Vaccines Conditions
Pregnancy Health-
care
workers
Heart, COPD,
chronic
kidney
cirrhosis, DM
Anatomic
or
functional
asplenia
HIV
(CD4+>
200 /uL)
Severe
immune
suppressive
state
Organ/BM
transplant
Influenza 1 dose at
2nd or 3rd
trimester
1 dose annually
Hepatitis A 2 doses
(depend on
serological
results)
Hepatitis B 3 doses (consider serological test before vaccination) 3 doses
(depend on
serological
results)
23-PS 1 dose 1 dose
with re-
vaccination
1 dose
with revaccination
1 dose
with
revaccination
13-PCV 1 dose 1 dose 1 dose 1 dose
Meningococcal
Zoster Contra-
indication
Contraindication Contra-
indication
คาแนะนาการให้วัคซีนสาหรับผู้ใหญ่ที่มีโรคเรื้อรังและบุคลากรทางการแพทย์
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ปีพ.ศ. 2557
วัคซีน กาหนดการให้วัคซีน ข้อบ่งชี้
ไวรัส
ตับอักเสบบี
3 โด๊ส ครั้งละ 1.0 มล.
ที่อายุ 0, 1 และ 6
เดือน
บุคลากรทางการแพทย์ทุกคน
ยกเว้น ตรวจแล้วมีภูมิคุ้มกัน หรือเป็นพาหะ
ของโรค
บุคลากรที่เกิดก่อนปี พ.ศ 2535
-ไม่เคยได้รับวัคซีน/มีประวัติวัคซีนไม่ชัดเจน
ให้ตรวจ AntiHBc หากเป็นลบให้ฉีด
วัคซีน หรือ
-ฉีดวัคซีนโดยไม่ต้องตรวจเลือด
บุคลากรที่เกิดหลังปี พ.ศ 2535
-ให้ฉีดวัคซีนหนึ่งเข็ม และตรวจเลือดหา
AntiHBs (หลังฉีด 1-2 เดือน ถ้าเป็น
บวกไม่ต้องฉีดวัคซีนเข็มที่สองและสาม
วัคซีนที่แนะนาสาหรับบุคลากรทางการแพทย์โดยกรมควบคุมโรค
วัคซีน ข้อบ่งชี้ จานวนครั้งที่ให้
ไข้หวัดใหญ่ บุคลากรทางการแพทย์ทุกคนที่สัมผัสกับ
ผู้ป่วยหรือสารคัดหลั่งของผู้ป่วยรวมทั้ง
เภสัชกรที่จ่ายยาให้กับผู้ป่วย
1 โด๊ส ทุกปี
ครั้งละ 0.5 มล.
หัด-คางทูม-
หัดเยอรมัน
บุคลากรทางการแพทย์ทุกคนที่ดูแล
สัมผัสผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มปฏิบัติงานโดยเร็ว
ที่สุด
1 โด๊ส
ปริมาณ 0.5 มล.
อีสุกอีใส บุคลากรทางการแพทย์ทุกคน
ยกเว้น มีหลักฐานว่าได้รับภูมิคุ้มกันครบ
2 ครั้ง หรือมีประวัติเป็นสุกใส หรือตรวจ
มีภูมิคุ้มกันต่อสุกใส
2 โด๊ส ครั้งละ 0.5 มล.
ห่างกัน 4 สัปดาห์
วัคซีนที่แนะนาสาหรับบุคลากรทางการแพทย์โดยกรมควบคุมโรค
วัคซีน ข้อบ่งชี้ จานวนครั้งที่ให้
ไอกรน
(Tdap)
บุคลากรทางการแพทย์ทุกคน 1 โด๊ส
ปริมาณ 0.5 มล.
ไวรัส
ตับอักเสบเอ
บุคลากรในหน่วยโภชนาการ 2 โด๊ส
ครั้งละ 1 มล.
ห่างกัน 6-12 เดือน
วัคซีนอื่นๆที่แนะนาสาหรับบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้แก่บุคลากรทางการแพทย์
• บุคลากรทางการแพทย์ทุกคนควรได้รับ:
วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนไข้หวัดใหญ่,หัด คางทูม หัดเยอรมัน
ไอกรน
• บุคลากรทางการแพทย์ทุกคนที่มีความเสี่ยงในการสัมผัส
เลือด หรือสารคัดหลั่ง :
วัคซีนตับอักเสบบี
เพิ่งรับเจ้าหน้าที่มาไม่ทราบประวัติวัคซีน ควรทาอย่างไร
เพื่อช่วยพิจารณาการให้วัคซีนสุกใสและ MMR
A. ตรวจเลือดดูภูมิคุ้มกันต่อเฉพาะหัด
B. ตรวจเลือดดูภูมิคุ้มกันต่อเฉพาะสุกใส
C. ตรวจเลือดดูภูมิคุ้มกันต่อเฉพาะหัด กับสุกใส
D. ไม่ต้องตรวจใดๆ แนะนาฉีดวัคซีนเลย
ผู้ป่วย อายุ 5 ปี มาโรงพยาบาลเพื่อให้เคมีบาบัด
รักษาโรคมะเร็งในเม็ดเลือดขาว
หลังจากอยู่รพ.ได้ 3 วัน เริ่มมีผื่นเป็นตุ่มใสขึ้นที่แขน-ขา
ท่านสารวจในหอผู้ป่วยนั้นพบว่า
-มี RN 1 คน ที่ยังไม่เคยเป็นอีสุกอีใส
-PN 1 คน ไม่แน่ใจว่าเคยเป็นหรือไม่
และทั้ง 2 ยังไม่เคยฉีดวัคซีน
-มีคนไข้เด็กนอนอยู่เตียงข้างๆ เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือด
ขาวเหมือนกัน
A. ตรวจเลือดก่อนทั้ง 2 คน
B. ฉีดวัคซีนเลยทั้ง 2 คน
C. RN 1 ฉีดวัคซีนเลย ,
RN 2 ตรวจเลือดก่อน
D. ให้ IVIG
E. ทาอะไรไม่ได้ ให้สังเกตอาการ
1. ท่านจะจัดการอย่างไรกับ PN และ RN ที่ยังไม่เคยเป็น
อีสุกอีใส
A. ตรวจเลือดก่อน
B. ฉีดวัคซีนอีสุกอีใสเลยทั้ง 2 คน
C. ให้ IVIG
D. ให้ Acyclovir IV
E. ไม่ทันแล้ว ให้แยกสังเกตอาการ
2. คนไข้เด็ก นอนอยู่เตียงข้างๆ เป็นโรคมะเร็งเม็ด
เลือดขาวเหมือนกัน ยังไม่เคยเป็นอีสุกอีใส และไม่เคย
ได้วัคซีนอีสุกอีใส
ท่านจะทาอย่างไรเพื่อป้องกัน?
การป้องกันอีสุกอีใส
ในบุคลากรทางการแพทย์
•ติดต่อทางการหายใจ (airborne)
และการสัมผัส
•ระยะฟักตัวของโรค 10-21 วัน
•ระยะแพร่เชื้อ 24-48 ชั่วโมงก่อนตุ่มขึ้น
จนถึงตุ่มตกสะเก็ด
•การแพร่กระจายเชื้อเกิดได้ทั้งจากผู้ป่วย
จากญาติ และบุคลากรทางการแพทย์
•ในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่าจะเกิด
ภาวะแทรกซ้อนจนถึงแก่ชีวิตได้
โรคอีสุกอีใส
• ผู้ป่วยที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน โรคมะเร็ง ใช้ยาสเตียรอยด์ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี หรือผู้
ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ
• เป็นกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อ
• มีอัตราการตายที่สูงมากเมื่อเทียบกับคนปกติ
โรคอีสุกอีใสในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่า
• ทารกอาจได้รับเชื้อจากมารดาที่มีการติดเชื้อ VZV
ในขณะตั้งครรภ์ใกล้คลอด หรือได้รับเชื้อหลังคลอดจากมารดา
• การติดเชื้อ VZV ในทารกแรกเกิดมีอาการรุนแรง
• มีอัตราตายสูงถึงร้อยละ 25
โรคอีสุกอีใสในทารกแรกเกิด(Neonatal varicella)
1. การป้องกันแบบก่อนสัมผัสโรค
2. การป้องกันแบบหลังสัมผัสโรค
การป้องกันการติดเชื้อ varicella
• เด็กปกติตั้งแต่อายุ 1 ปีขึ้นไป ทั้งนี้วัคซีนยังไม่บรรจุในแผนการสร้าง
ภูมิคุ้มกันของกระทรวงสาธารณสุข
• เด็กโต และผู้ใหญ่ที่ยังไม่เคยมีประวัติเป็นโรคนี้ ควรพิจารณาให้
วัคซีนอย่างยิ่ง เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนสูงกว่าใน
เด็กเล็ก
• ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดหรืออยู่บ้านเดียวกันกับผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกัน
บกพร่อง เนื่องจากมีโอกาสแพร่เชื้อให้ผู้ที่มีภาวะที่เสี่ยงเหล่านี้ได้สูง
• ควรให้วัคซีนในผู้ที่มีโอกาสสัมผัสเชื้อมากหรือมีโอกาสแพร่กระจาย
เชื้อให้ผู้อื่นได้มาก เช่น บุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่
สถานพยาบาล ครู หรือผู้ที่ทางานกับเด็กจานวนมาก
1. การป้องกันการติดเชื้อ varicella
แบบก่อนสัมผัสโรค (Preexposure prophylaxis)
ฉีดวัคซีนป้องกันอีสุกอีใส ในบุคลากรทางการแพทย์
ที่มีหน้าที่ดูแลผู้ป่วยทุกคน
โดยเฉพาะผู้ที่ดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิด
ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงซึ่ง ได้แก่
-เด็กทารกคลอดก่อนกาหนด
-หญิงมีครรภ์
-ผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่า
1. การป้องกันการติดเชื้อ varicella
แบบก่อนสัมผัสโรค (Preexposure prophylaxis)
วัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสควรให้แก่บุคลากรทางการแพทย์
ทุกคน โดยฉีด 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน
ยกเว้น
1. มีหลักฐานได้วัคซีนครบ 2 ครั้ง หรือ
2. มีประวัติป่วยเป็นอีสุกอีใส หรืองูสวัด
(ที่วินิจฉัยโดยแพทย์) หรือ
3. ตรวจคัดกรองว่ามีภูมิคุ้มกันต่ออีสุกอีใส
1. การป้องกันการติดเชื้อ varicella
แบบก่อนสัมผัสโรค (Preexposure prophylaxis)
บุคลากรและผู้ป่วยที่สัมผัสโรคและมีความเสี่ยงในการเกิด
โรค
(ไม่มีภูมิคุ้มกัน) พิจารณาให้
•วัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใส :มีประสิทธิภาพถ้าให้ภายใน
3 วันหลังสัมผัสโรค และอาจได้ผลถ้าให้ภายใน 5 วัน
กรณีมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือมีข้อห้ามให้วัคซีนอีสุกอีใส เช่น
ตั้งครรภ์
•ให้ VZIG ภายใน 10 วัน
•IVIG ถ้าไม่มี VZIG
•Acyclovir วันที่ 7-10 หลังสัมผัสโรค เป็นเวลา 7 วัน
2. การป้องกันการติดเชื้อ varicella
แบบหลังสัมผัสโรค (Postexposure prophylaxis)
A. ตรวจเลือดก่อน
B. ฉีดวัคซีนเลยทั้ง 2 คน
C. ให้กิน Acyclovir 7 วันเพื่อป้องกัน
D. ทาอะไรไม่ได้ ให้สังเกตอาการว่าเป็น อีสุกอีใส
หรือไม่
1. ท่านจะจัดการอย่างไรกับ PN และ RN ที่ยังไม่เคยเป็น
อีสุกอีใส
ราคาโดยประมาณ (บาท)
VZV vaccine x2 2,000
Serology 350
Cost for interventions
บุคลากรที่สัมผัสโรค
•ถ้าบุคลากรไม่มีประวัติเคยเป็นโรคนี้ หรือไม่ทราบว่า
ตนเองมีภูมิคุ้มกันต่อโรคนี้
•ให้ตรวจเลือด varicella lgG
•ถ้าผลตรวจบวกแสดงว่ามีภูมิคุ้มกันแล้ว
2. การป้องกันการติดเชื้อ varicella
แบบหลังสัมผัสโรค (Postexposure prophylaxis)
ราคาโดยประมาณ (บาท)
VZV vaccine x2 2,000
Serology 350
IVIG 1 dose (25,000/10gm)
Cost of Absence11 days ??
Cost for interventions
A. ควรรอเสียเงินฉีด Quadrivalent influenza vaccine
B. รอฉีด Quadrivalent influenza vaccine เพราะกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
ได้ดีกว่า
C. แนะนา Trivalent influenza vaccine เพราะcost effective
D. แนะนาฉีดของฟรี แบบไหนก็ได้
E. ไม่จาเป็นต้องฉีดวัคซีนแนะนาให้ทานอาหารที่มีประโยชน์
ออกกาลังกาย นอนหลับให้เพียงพอก็พอแล้ว
พยาบาลอายุ 30 ปี ไม่มีโรคประจาตัว
ท่านจะแนะนาให้วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่อย่างไร
การป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่
ในบุคลากรทางการแพทย์
• บุคลากรทางการแพทย์ที่ติดเชื้อสามารถถ่ายทอด เชื้อ
ไวรัสไปยังผู้ป่วย หรือผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่า เช่น ผู้ป่วยเด็ก
ผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยที่รับเคมีบาบัดตั้งแต่ระยะที่ยังไม่
ปรากฎอาการ
• เป็นโรคที่ทาให้เกิดการเจ็บป่วยรุนแรงและเสียชีวิต แต่
สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้
โรคไข้หวัดใหญ่
1. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข
2. หญิงมีครรภ์ อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป
3. โรคอ้วน (น้าหนัก > 100 กก. หรือ BMI > 35 กก. ต่อตรม.)
4. ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
5. บุคคลที่มีโรคเรื้อรัง 7 โรค ดังนี้ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ
หลอดเลือดสมอง ไตวาย มะเร็งที่อยู่ระหว่างได้เคมีบาบัด เบาหวาน
ผู้ป่ วยธาลัสซีเมีย ผู้ป่ วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมถึง HIV)
6. ผู้สูงอายุ > 65 ปี
7. เด็ก 6 เดือน-2 ปี ทุกคน
วัคซีนไข้หวัดใหญ่
แผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกระทรวงสาธารณสุข
สายพันธุ์ขั้วโลกเหนือ : กาหนดเดือนกุมภาพันธ์
ใช้ตุลาคม - ธันวาคม
สายพันธุ์ขั้วโลกใต้ : กาหนดเดือนกันยายน
ใช้เมษายน – มิถุนายน
Composition of
Seasonal Influenza Vaccine
Trivalent : 3 strains
2A, 1B
-A H1N1
-A H3N2
-B
Composition of
Seasonal Influenza Vaccine
• 2 antigenically distinct
influenza B lineages
(B/Yamagata and B/Victoria)
have co-circulated globally
• Trivalent influenza vaccines
provide limited or no cross-
reactive protection between
the 2 influenza B lineages
• QIV contains an influenza B
strain from B/Yamagata +
B/Victoria lineage
Ambrose CS, et al. Human Vaccines &
Immunotherapeutics 2012;8(1):81-8.
B/Yamagata
lineage
B/Victoria
lineage
2 antigenically distinct influenza B lineages
Quadrivalent
- A H1N1
- A H3N2
- B Yamagata lineage
- B Victoria lineage
Trivalent : 2A, 1B
-A: H1N1
-A : H3N2
-B
Composition of
Seasonal Influenza Vaccine
Global circulation of influenza viruses
http://www.who.int/flunet
Thailand circulation of influenza virus
http://www.who.int/flunet
2016 Southern hemisphere
Apr-June 2016
• A/California/7/2009
(H1N1)pdm09-like virus;
• A/Hong Kong/4801/2014
(H3N2)-like virus;
• B/Brisbane/60/2008-like virus
(Victoria lineage)
• Quadrivalent vaccines:
B/Phuket/3073/2013-like virus
(Yamagata lineage)
http://www.who.int/influenza/vaccines/virus/recommendations/2015_16_nort
h/en/://www.who.int/influenza/vaccines/virus/recommendations/en/
2016-2017 Northern
hemisphere : Oct-Dec 2016
• A/California/7/2009
(H1N1)pdm09-like virus
• A/Hong Kong/4801/2014
(H3N2)-like virus;
• B/Brisbane/60/2008-like virus
(Victoria lineage)
• Quadrivalent vaccines:
B/Phuket/3073/2013-like virus
(Yamagata lineage)
Inactivated Influenza Vaccine
Adverse Reactions
• Local reactions 15%-20%
• Fever, malaise not common
• Allergic reactions rare
• Neurological very rare
reactions
• Guillian - Barre syndrome ~ 1 : 1,000,000 dose
การป้องกันโรคหัด คางทูม หัดเยอรมัน
ในบุคลากรทางการแพทย์
โรคหัด
• เป็นโรคไข้ออกผื่นที่ติดต่อทางการหายใจ (airborne
transmission)
• ระยะฟักตัว 10-12 วัน
• ผู้ป่วยสามารถแพร่เชื้อได้ตั้งแต่ 4 วัน ก่อนผื่นขึ้น ถึง 4 วันหลัง
ผื่นขึ้น
• ผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่าอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง
2520-2524 2525-2529 2530-2534 2535-2539 2540-2544 2545-2552 ตั้งแต่ 2553
BCG BCG BCG BCG BCG BCG BCG
DTP DTP DTP DTP DTP DTP DTP
OPV OPV OPV OPV OPV OPV OPV
T* T* T* T* T* dT* dT*
หัด 9 mo หัด หัด หัด หัด MMR
หัดเยอรมัน หัดเยอรมัน หัดเยอรมัน - - -
dT** dT** dT** dT** dT** dT**
JE JE JE JE JE
HB HB HB HB
MMR ป1 MMR MMR
DTP-HB DTP-HB
ไข้หวัดใหญ่*** ไข้หวัดใหญ่***
Ty Ty Ty - - - -
วัคซีนที่ให้บริการในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตั้งแต่ พ.ศ. 2520 ถึงปัจจุบัน
*เป็นวัคซีนหญิงมีครรภ์ ** เป็นวัคซีนสำหรับนักเรียน *** วัคซีนกลุ่มเสี่ยงทั้งเด็กและผู้ใหญ่
ปี พ.ศ.2559
การให้บริการวัคซีนหัดในช่วงเวลาที่ผ่านมา
• ผู้ที่ได้รับวัคซีนหัด 2 เข็ม เป็นเด็กเกิดตั้งแต่ปี 2533 (ป.1 เริ่ม ปี
2540) ในปี พ.ศ. 2559 จะมีอายุน้อยกว่า 26 ปี (มักไม่เสี่ยงต่อ
โรค)
• ผู้ที่ได้รับวัคซีนหัด 1 เข็ม (เริ่มปี 2527) ปัจจุบันอายุ 26-32 ปี
(อาจเสี่ยงต่อโรคถ้ามี Ab waning)
• ผู้ที่ไม่ได้รับวัคซีนหัดเลย > 32 ปี (ถ้าไม่มีการติดเชื้อตาม
ธรรมชาติ จะเสี่ยงต่อโรค)
การป้องกันโรคหัดในบุคลากรทางการแพทย์
1. การป้องกันการติดเชื้อแบบก่อนสัมผัสโรค
2. การป้องกันการติดเชื้อแบบหลังสัมผัสโรค
การป้องกันโรคหัดก่อนสัมผัสโรค
• บุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยทุกคนควรจะมี
ภูมิคุ้มกันต่อโรคนี้ ยกเว้น
-มีหลักฐานว่าได้รับวัคซีนครบ 2 ครั้ง
-เจาะเลือดมีภูมิคุ้มกันต่อโรคนี้
(ประวัติเคยเป็นโรค ไม่เพียงพอในการยืนยันว่ามี
ภูมิคุ้มกันต้อโรคนี้ ต้องตรวจเลือดยืนยัน)
การป้องกันโรคหัดในบุคลากรทางการแพทย์
การป้องกันโรคหัดแบบหลังสัมผัสโรค
• บุคลากรที่สัมผัสโรค ถ้าไม่มีภูมิคุ้มกันโรค อาจให้วัคซีน MMR
โดยให้ภายใน 72 ชั่วโมงหลังสัมผัสโรค
• วัคซีนเป็นชนิดเชื้อเป็น ห้ามใช้ในหญิงที่ตั้งครรภ์ และผู้ป่วยที่
มีภูมิคุ้มกันต่า
• ผู้ที่มีข้อห้ามของการใช้วัคซีนและผู้ที่มีโอกาสสูงที่จะเกิด
ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงอาจพิจารณาใช้อิมมูนโกลบุลิน
การป้องกันโรคหัดในบุคลากรทางการแพทย์
การให้วัคซีนโรคตับอักเสบบี
ในบุคลากรทางการแพทย์
•เป็นโรคติดต่อทางเลือด ในบุคลากรทางการแพทย์เพียงโรค
เดียวที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
•เกิดจากการสัมผัสเลือดและสารคัดหลั่งของผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัส
ตับอักเสบบีอยู่ในร่างกาย
•การสัมผัสเกิดโดยโดนของมีคม หรือสัมผัสเลือดหรือสารคัด
หลั่งบริเวณเยื่อบุหรือผิวหนังที่มีบาดแผล
โรคตับอักเสบบี
•ถ้าเลือดที่สัมผัสมี HBeAg เป็นบวก = 37-62 %
•ถ้าเลือดที่สัมผัสมี HBeAg เป็นลบ = 1-6 %
•สูงกว่า HIV และ HCV มาก (HIV=0.03%) (HCV=1.8%)
อัตราการเกิดภาวะตับอักเสบ
สามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบ
1.ก่อนสัมผัสโรค (Pre-exposure vaccination)
2.หลังสัมผัสโรค (Post-exposure vaccination)
การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบี
• บุคลากรทางการแพทย์ทุกคนที่มีโอกาสสัมผัสเลือดและ
สารคัดคลั่งของผู้ป่วยควรได้รับวัคซีนตับอักเสบบี 3 โด๊ส
• ฉีดเข้ากล้ามในวันที่ 0, 1 และ 6 เดือน
1. การป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบีก่อนสัมผัสโรค
(Pre-exposure vaccination)
-ตรวจระดับ anti-HBs หลังให้เข็มที่ 3 ประมาณ 1-2 เดือน
-ถ้า anti-HBs >10 mIU/ml ถือว่าป้องกันโรคได้
-ถ้า anti-HBs <10 mIU/ml ถือว่าไม่มีภูมิคุ้มกัน
: ให้ฉีดใหม่ทั้งหมด (0,1,6)
: เจาะเลือดใหม่
: ถ้า anti-HBs < 10 miU/ml ไม่ตอบสนองวัคซีน หาก
สัมผัสโรคต้องใช้ Immunoglobulin
หลังได้รับวัคซีน
- ใช้ในผู้ที่สัมผัสโรคแต่ไม่มีภูมิคุ้มกันมาก่อน ได้แก่ ไม่เคยรับ
วัคซีน หรือเคยรับวัคซีนแล้วแต่ผล anti-HBs เป็นลบ
- วิธีการ คือ
วัคซีนไวรัสตับอักเสบบี + Hepatitis B Immunoglobulin
(HBIG)
หลังสัมผัสโรคทันที หรือเร็วที่สุด
ตามด้วยวัคซีนเข็ม 2 และ 3 ตามกาหนด
ในผู้ไม่ตอบสนองต่อวัคซีน ให้ HBIG 2 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือนแทน
2. การฉีดวัคซีนแบบหลังสัมผัสโรค
(Post-exposure vaccination)
ถ้าพยาบาลตั้งครรภ์ อายุครรภ์ 28 สัปดาห์
ท่านจะแนะนาให้ฉีดวัคซีนอะไร
A. TT
B. influenza vaccine
C. MMR
D. Tdap, influenza vaccine
E. ช่วงตั้งครรภ์ไม่ควรเสี่ยงให้วัคซีน เพราะอาจมีผลต่อเด็กได้
การให้วัคซีนในหญิงตั้งครรภ์
• ทฤษฎี หญิงตั้งครรภ์ถ้าได้วัคซีนชนิดเชื้อเป็น
มีโอกาสเสี่ยงเกิดความผิดปกติของทารกในครรภ์
• ห้ามให้วัคซีนชนิดเชื้อเป็น เช่น วัคซีนป้องกันฝี ดาษ วัคซีน
หัด-หัดเยอรมัน-คางทูม และวัคซีนอีสุกอีใสในหญิงตั้งครรภ์
• เฉพาะวัคซีนป้องกันฝีดาษที่ทราบว่ามีผลต่อทารกในครรภ์
• ยังไม่มีรายงานทารกในครรภ์ผิดปกติจากหญิงตั้งครรภ์ที่
ได้รับวัคซีนชนิดเชื้อเป็นอื่น
การให้วัคซีนในหญิงตั้งครรภ์
• หญิงตั้งครรภ์ในช่วงไตรมาสที่ 2 และ 3 ถ้าเป็นไข้หวัด
ใหญ่จะเสี่ยงต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
• ดังนั้นจึงแนะนาให้ inactivated influenza
vaccine ในผู้หญิงทุกคนที่คาดว่าจะตั้งครรภ์
ในช่วงที่มีการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่
• Influenza vaccine : 2nd- 3rd trimester during influenza
season
• TT, Td : Indicate in lack of primary series or no
booster within past 10 years
• Tdap (3rd Trimester, post-partum): Reduced infection
in baby
• Post-exposure rabies prophylaxis (vaccine-
immunoglobulin)
Live vaccines : Contraindication
Others : Probable benefit of vaccine in woman at risk-
Hepatitis A, Travel vaccines (typhoid vaccine, yellow
fever vaccine, meningococcal vaccine,etc.)
การให้วัคซีนในหญิงตั้งครรภ์
การป้องกันโรคไอกรน
ในบุคลากรทางการแพทย์
• อาการรุนแรงในเด็ก
• ในผู้ใหญ่เกิดจากภูมิคุ้มกันจากวัยเด็กเริ่มหายไป
• การระบาดเกิดได้ทั้งจากผู้ป่วยและบุคลากร
ทางการแพทย์
• บุคลากรทางการแพทย์เสี่ยงจะติดโรคและแพร่เชื้อ
ไปให้ผู้ป่วย
โรคไอกรน
3http://www.cdc.gov/pertussis/sur–reporting.html
U.S.A.3
พบผู้ป่ วยในวัยรุ่นและหนุ่มสาว และทารก
โรคไอกรนพบการกลับมาระบาดในหลายประเทศทั่วโลก
วัคซีนที่ใช้
: acellular pertussis (Tdap) 1 เข็ม
หลังจากนั้นฉีดกระตุ้นด้วย dT ทุก 10 ปี
วัคซีนที่ควรให้แก่บุคลากรทางการแพทย์
• วัคซีนพิเศษในบุคลากรทางการแพทย์บางกลุ่ม
เฉพาะบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่
ห้องปฏิบัติการที่มีความเสี่ยงต่อโรค
ได้แก่ ไวรัสตับอักเสบเอ โปลิโอ มินนิงโกคอคคัส วัณโรค
พิษสุนัขบ้า กาฬโรค และทัยฟอยด์
•บุคลากรที่ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับเชื้อแอน
แทรกซ์ ควรได้วัคซีนแอนแทรกซ์
•บุคลากรที่ปฏิบัติงานวิจัยหรือทางานในห้องทดลองที่เกี่ยวข้องกับเชื้อกาฬ
โรค ควรได้วัคซีนกาฬโรค
•เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการที่ทางานเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า ควรได้วัคซีนพิษ
สุนัขบ้า
•บุคลากรที่ดูแลผู้ป่ วยโรคโปลิโอ หรือปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการที่
เกี่ยวข้องกับเชื้อโปลิโอ ควรได้รับวัคซีนโปลิโอ
•บุคลากรที่ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับเชื้อ Salmonella typhi
ควรได้รับวัคซีนทัยฟอยด์
วัคซีนที่ควรให้แก่บุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้แก่บุคลากรทางการแพทย์
• บุคลากรทางการแพทย์ทุกคน ควรได้รับวัคซีนที่ได้รับ
การแนะนาตามปกติสาหรับผู้ใหญ่ทั่วไป
เช่น วัคซีนนิวโมคอคคัส เอชพีวี งูสวัด
วัคซีนที่ได้รับการแนะนาตามปกติ
สาหรับผู้ใหญ่ทั่วไป
Vaccines Age
19 – 26 yr 27 – 64 yr > 65 yr
Td or TT or Tdap Boost with 1 dose of Td (or TT) every 10 yr
Substitute one-time of Td (or TT) with Tdap
Varicella 2 doses (consider serological test before vaccination)
MMR 2 doses
HPV 3 doses (female)
3 doses (male)
Influenza 1 dose annually 1 dose annually
Hepatitis A 2 doses (consider serological test before vaccination)
Hepatitis B 3 doses (consider serological test before vaccination)
23-PS 1 dose (with re-vaccination) 1 dose
PCV 13 1 dose 1 dose (age > 50 yr)
Meningococcal For high risk persons
Zoster 1 dose (age > 60 yr)
Recommended
vaccine
Optional vaccine (considered in specific
conditions: ตารางที่ 2)
Not
recommended
Contraindication
คาแนะนาการให้วัคซีนสาหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย 2557
ช่วงอายุ วัคซีนป้องกันโรค
ที่แนะนาให้ฉีด
หมายเหตุ
ผู้ใหญ่ช่วงต้น
(อายุ 18-26 ปี)
วัคซีนบาดทะยักและคอตีบ
วัคซีนไข้หวัดใหญ่
วัคซีนหัด-คางทูม- หัดเยอรมัน
วัคซีนเอชพีวี
วัคซีนตับอักเสบบี
- ฉีดกระตุ้นทุก 10 ปี
- ฉีดกระตุ้นทุก 1 ปี
- ฉีด 1 เข็ม
- ควรฉีดตั้งแต่วัยรุ่นตอนต้น (การฉีด
วัคซีนไม่สามารถทดแทนการตรวจคัด
กรองมะเร็งปากมดลูก)
- ควรตรวจภูมิคุ้มกันก่อนฉีดวัคซีน
ผู้ใหญ่
(อายุ 27-65 ปี)
วัคซีนบาดทะยักและคอตีบ
วัคซีนไข้หวัดใหญ่
วัคซีนตับอักเสบบี
- ฉีดกระตุ้นทุก 10 ปี
- ฉีดกระตุ้นทุก 1 ปี
- ควรตรวจภูมิคุ้มกันก่อนฉีดวัคซีน
คาแนะนาการให้วัคซีนป้องกันโรคสาหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ ปีพ.ศ. 2557
คาแนะนาการให้วัคซีนป้องกันโรคสาหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ ปีพ.ศ. 2557
ช่วงอายุ วัคซีนป้องกันโรค
ที่แนะนาให้ฉีด
หมายเหตุ
ผู้สูงอายุ
(อายุมากกว่า 65 ปี)
วัคซีนบาดทะยักและคอตีบ
วัคซีนไข้หวัดใหญ่
วัคซีนป้องกันนิวโมคอคคัส
- ฉีดกระตุ้นทุก 10 ปี
- ฉีดกระตุ้นทุก 1 ปี
ผู้ที่มีโรคเรื้อรั้ง (ไม่มี
ม้าม หัวใจวาย ปอด
อุดกั้นเรื้อรัง ไตวาย
เรื้อรัง ตับวาย ติดเชื้อ
เอดส์ รับยากด
ภูมิคุ้มกัน)
วัคซีนไข้หวัดใหญ่
วัคซีนตับอักเสบบี
วัคซีนป้องกันนิวโมคอคคัส
- ฉีดกระตุ้นทุก 1 ปี
- ควรตรวจภูมิคุ้มกันก่อนฉีดวัคซีน
• บุคลากรทางการแพทย์ทุกคน ถ้าไม่เคยได้วัคซีนและไม่มี
ภูมิคุ้มกันถ้าไม่มีข้อห้ามควรได้รับวัคซีนหัด คางทูม หัดเยอรมัน
และอีสุกอีใส สาหรับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ต้องได้ทุกปี และควรได้รับ
วัคซีน Tdap 1 โด๊ส
• ถ้าเสี่ยงในการสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งควรได้รับวัคซีน
ไวรัสตับอักเสบบี
• บุคลากรบางกลุ่มอาจต้องได้รับวัคซีนพิเศษ เช่นวัคซีนตับ
อักเสบเอ แอนแทรกซ์ โปลิโอ กาฬโรค ทัยฟอยด์ และพิษสุนัข
บ้าเป็นต้น
• บุคลากรทางการแพทย์ควรได้รับวัคซีนนิวโมคอคคัส เอชพีวี
งูสวัด ตามคาแนะนาเหมือนในประชากรทั่วไป
สรุป

Contenu connexe

Tendances

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านUtai Sukviwatsirikul
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ใบงาน วิชาเพศศึกษา
ใบงาน วิชาเพศศึกษาใบงาน วิชาเพศศึกษา
ใบงาน วิชาเพศศึกษาTepasoon Songnaa
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)ภูเบศ เศรษฐบุตร
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)Anawat Supappornchai
 

Tendances (20)

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
ภูมิแพ้
ภูมิแพ้ภูมิแพ้
ภูมิแพ้
 
ใบงาน วิชาเพศศึกษา
ใบงาน วิชาเพศศึกษาใบงาน วิชาเพศศึกษา
ใบงาน วิชาเพศศึกษา
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
 

En vedette

การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนดการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนดงานควบคุมโรคต รพ.ธรรมศาสตร์
 
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)mintwrsr15
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนWitsalut Saetae
 
การให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTการให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTChananart Yuakyen
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนPawat Logessathien
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆUtai Sukviwatsirikul
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา Utai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 

En vedette (20)

การติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาล
การติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาลการติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาล
การติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาล
 
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อการทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
 
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนดการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
 
The successful handwashing in ophthalmology ward
The successful handwashing in ophthalmology wardThe successful handwashing in ophthalmology ward
The successful handwashing in ophthalmology ward
 
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
PPE Hospital
PPE HospitalPPE Hospital
PPE Hospital
 
การให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTการให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dT
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
กสพท. ชีววิทยา 2559
กสพท. ชีววิทยา 2559กสพท. ชีววิทยา 2559
กสพท. ชีววิทยา 2559
 
กสพท. ภาษาไทย 2559
กสพท. ภาษาไทย 2559กสพท. ภาษาไทย 2559
กสพท. ภาษาไทย 2559
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
 
กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
กสพท. คณิตศาสตร์ 2559กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
 

Similaire à วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์

Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidstWee Wii
 
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenThorsang Chayovan
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 

Similaire à วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ (20)

Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
Pediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine programPediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine program
 
[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst
 
Adult vaccine recommendation 2014
Adult vaccine recommendation 2014Adult vaccine recommendation 2014
Adult vaccine recommendation 2014
 
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 

วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์