SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
หนึ่งในแนวโน้มนวัตกรรมระดับโลกที่มาแรงคือ “Robot” หลายประเทศทั่วโลกเร่งพัฒนาเพื่อก้าวสู่ความ
เป็นผู้นํา ในมุมของเอเชียมีประเทศจีนที่รุดหน้าและตลาดมีการเติบโตสูง ขณะที่หุ่นยนต์ประเทศไทยไม่แพ้ใคร
โอกาสแค่เอื้อมขึ้นเวทีผู้นําระดับโลกด้านการแพทย์
ROBOTICS
แนวโน้มใหม่มุ่งสู่บริการเฉพาะทาง
หุ่นยนต์ (Robot) หนึ่งในอุตสาหกรรมที่รัฐบาลประกาศให้เป็น
หัวหอกเพื่อพัฒนาประเทศให้ไปสู่เป้าหมายของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ไทยในอนาคต ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มของ New S-curve หรือการยกระดับ
เป็นอุตสาหกรรมแห่งอนาคตโดยในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ยังมีโอกาสอีก
มาก เพราะปัจจุบันเป็นเพียงก้าวแรกๆ ของการน�าหุ่นยนต์มาใช้ในงาน
ต่างๆ
ที่ผ่านมาการใช้หุ่นยนต์มักจะพบในสองอุตสาหกรรมหลักคือ
ด้านการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ และด้านอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งทั้งหมดนี้จัดอยู่
ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตเป็นส่วนใหญ่อย่างไรก็ตามวิวัฒนาการของ
หุ่นยนต์ไม่ได้อยู่ในวงจ�ากัดเท่านั้น ไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ คนทั่วโลกได้สัมผัส
กับหุ่นยนต์ด้านบริการบ้างแล้วกล่าวคือหุ่นยนต์ในปัจจุบันแบ่งออกเป็น
2 ประเภท ได้แก่ หุ่นยนต์ภาคการผลิต (Industrial Robots) และ
หุ่นยนต์บริการ (Service Robots)
IT TRENDS | SPECIAL REPORT12
หากกล่าวถึง ASIMO คนจ�านวนมากมักจะคิดออกทันทีว่าเป็น
หุ่นยนต์ตัวแรกๆ ที่อยู่ในความทรงจ�าของคน ASIMO เป็นหุ่นยนต์
ฮิวแมนนอยด์หรือหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้าประเทศ
ญี่ปุ่น สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2543 ชื่อนี้ย่อมาจาก Advanced Step in
Innovative Mobility โดย ASIMO ได้รับการออกแบบให้สามารถใช้
งานได้อย่างง่าย ไม่ว่าจะเป็นการควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
หรือการควบคุมระยะไกล
อย่างไรก็ตาม หากมองถึงวิวัฒนาการของหุ่นยนต์ อาจกล่าวได้ว่า
หุ่นยนต์บริการ(ServiceRobots)จะเป็นทิศทางหรือแนวโน้มที่ส�าคัญ
ของโลกต่อจากนี้ไปซึ่งในหมวดบริการนี้ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จะมุ่ง
พัฒนาหุ่นยนต์ทางการแพทย์ ด้วยเพราะสังคมโลกก�าลังจะก้าวสู่สังคม
ผู้สูงวัย (Aging Society) ท�าให้เกิดความต้องการเครื่องทุ่นแรงและ
ระบบอัตโนมัติที่จะเข้ามาอ�านวยความสะดวกแก่มนุษย์ให้มากขึ้น
หุ่นยนต์กับโอกาสประเทศไทย
จากนโยบายรัฐบาลที่ประกาศให้อุตสาหกรรมหุ่นยนต์เป็นหนึ่ง
ในเป้าหมายของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศไทยในอนาคต ผนวก
กับมีการเรียนการสอน และมีเวทีการแข่งขันด้านหุ่นยนต์มากขึ้น นับ
เป็นโอกาสดีของคนไทยรุ่นต่อไปที่จะก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมที่ยังมีการ
เติบโตอีกยาวไกลทั้งนี้ในตลาดโลกที่ประมาณการโดยสหพันธ์หุ่นยนต์
นานาชาติ (IFR: International Federation of Robots) มีการ
คาดการณ์ว่าในปี 2020 ตลาดหุ่นยนต์จะมียอดขายถึง 521,000 ตัว
(อ่านข้อมูลเพิ่มเติมในคอลัมน์ Survey) ตัวเลขประมาณการนี้หมายถึง
โอกาสทางการตลาดของคนไทยด้วยเช่นกัน
https://www.robotics.org/blog-article.cfm/
How-Becoming-a-Certified-Robot-Integrator-Helps-Your-Business/98
photo : http://asimo.honda.com
ส�าหรับประเทศไทยปัจจุบันมีการน�าไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต
และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์เช่นเดียวกับทิศทางแนวโน้มโลกในช่วง
ที่ผ่านมาแต่หากพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการน�าไปใช้งานในอนาคต
นั้น ภาคการเกษตรจะได้รับประโยชน์อย่างมาก เพราะหุ่นยนต์สามารถ
ช่วยท�างานได้หลายรูปแบบ เช่น พ่นยาฆ่าแมลง เก็บเกี่ยวผลผลิต ยก
และเคลื่อนย้ายผลผลิต หรือคัดผลผลิต เป็นต้น
ผศ.ดร. ถวิดา มณีวรรณ์ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม
(FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้ให้สัมภาษณ์ไว้
ในเว็บไซต์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ส�านักวิจัยและบริการวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีว่าในประเทศไทยนั้นมีโจทย์เพื่อการท�าการวิจัยที่มีความ
หลากหลายไม่ว่าจะเป็นภาคอุตสาหกรรมหรือภาคการเกษตรหากเรา
สามารถออกแบบหุ่นยนต์ที่แก้ปัญหาได้ อนาคตเราก็จะสามารถเป็น
ผู้น�าด้านหุ่นยนต์ได้เช่นกัน
ในปัจจุบันเมื่อมีการจัดแข่งขันหุ่นยนต์ ประเทศไทยก็สามารถ
คว้ารางวัลกลับมาได้ดังนั้นต้องบอกว่าเรายังมีความหวังทั้งนี้เทคโนโลยี
และองค์ความรู้ด้านหุ่นยนต์ทั่วโลกในขณะนี้ยังพอๆ กันอยู่ หากเราเริ่ม
ตอนนี้ก็ไม่สายเกินไปและเรามีความสามารถเฉพาะทางที่จะน�าหุ่นยนต์
ไปแก้ปัญหาได้หากท�าส�าเร็จเราก็จะมีความเข้าใจลึกซึ้งในเรื่องเหล่านั้น
และในอนาคตโอกาสที่เราจะส่งออกเทคโนโลยีก็สามารถท�าได้เช่นกัน
ดังนั้นทุกภาคส่วนจึงควรช่วยกันผลักดัน โดยความร่วมมือระหว่าง
สถาบันการศึกษา และผู้ประกอบการพัฒนาหุ่นยนต์มีความสามารถใน
การแก้ปัญหาเฉพาะทาง ซึ่งในอนาคตประเทศไทยเรามีศักยภาพ
เพียงพอที่อาจจะเป็นผู้น�าและผู้ส่งออกหุ่นยนต์
ส่วนวิวัฒนาการของหุ่นยนต์บริการ (Service Robots) ใน
ประเทศไทยมีความก้าวหน้าและล�้าหน้าไม่แพ้ต่างประเทศอย่าง ญี่ปุ่น
อเมริกา และเยอรมัน ฯลฯ นั่นคือ SetRobots เป็นหุ่นยนต์ที่ท�าหน้าที่
SPECIAL REPORT | IT TRENDS 13
ซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์และหุ่นยนต์ดินสอเป็นหุ่นยนต์นักบริการ
ด้านต่างๆ ที่มีความล�้าหน้ากว่าหุ่นยนต์ในหลายประเทศ
คุณเฉลิมพล ปุณโณทก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท
ซีที เอเชีย โรโบติกส์ จ�ากัด ผู้พัฒนาหุ่นยนต์อันดับหนึ่งของประเทศไทย
ให้สัมภาษณ์มุมมองต่อตลาดไทยว่าสถานการณ์ปัจจุบันประเทศไทยมี
แนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต และ
อิเล็กทรอนิกส์ขณะนี้ได้ขยายเข้าไปใช้งานในทางการแพทย์และสุขภาพ
โดยพบว่าทิศทางตลาดหุ่นยนต์เริ่มกระจายไปยังกลุ่มเฉพาะทาง
นับเป็นโอกาสอันดีที่มีผู้ประกอบการไทยมุ่งเน้นการพัฒนาหุ่นยนต์
ต่อเนื่องมาราว 9 ปี ในนาม “หุ่นยนต์ดินสอ” ที่เกิดจากแนวคิดของคุณ
เฉลิมพล ปุณโณทก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซีที เอเชีย
photo : https://www.robotics.org/blog-article.cfm/
Service-Robots-Are-Quickly-Tackling-New-Applications-Every-Day/95
(Segment) และแนวทางในการพัฒนานับจากนี้จะใช้เทคโนโลยี AI
(Artificial Intelligence) เพื่อสร้างความฉลาดให้หุ่นยนต์สามารถคิด
ประมวลผลเองจากข้อมูลที่มีอยู่
“นับเป็นข้อสังเกตว่าการใช้หุ่นยนต์ในทางการแพทย์ไทยมีความ
ก้าวหน้ากว่าประเทศญี่ปุ่น ในขณะที่ด้าน Nursing Home ของไทย
ล้าหลังกว่าญี่ปุ่นมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะประเทศไทยมีบุคลากรด้าน
การแพทย์ที่เก่ง และเป็นเหตุให้โรงพยาบาลเอกชนเข้าจดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพย์เพื่อระดมทุนได้จึงเป็นการขยายโอกาสด้านการแพทย์
ไทย อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าในอนาคตตลาด Nursing Home ของไทยจะ
ทันสมัยและเติบโตอีกมาก” คุณเฉลิมพล เสริม
คุณเฉลิมพลกล่าวถึงแนวโน้มของหุ่นยนต์โลกจากการคลุกคลีใน
แวดวงนี้มานานว่า หุ่นยนต์จะมีเส้นทางในการเติบโตแบบเดียวกับ
โทรศัพท์มือถือคือในยุคแรกของมือถือนั้นผู้ที่ใช้งานจะเป็นกลุ่มนักธุรกิจ
หรือนักปกครองและนักบริหารชั้นผู้ใหญ่ เพราะมีราคาแพง แต่ปัจจุบันมือถือ
มีใช้กันทั่วไปแทบทุกคนมีใช้เป็นของตนเอง ซึ่งเชื่อว่าหุ่นยนต์ก็เช่นกัน
ในอนาคตจะเป็นผู้ช่วยประจ�ากายของคนทั่วๆ ไป เช่น หุ่นยนต์ขับรถ
หุ่นยนต์รักษาความปลอดภัย และหุ่นยนต์ที่เป็นพนักงานคนส�าคัญใน
ร้าน หากเกิดการช�ารุด ร้านอาจจะไม่สามารถเปิดให้บริการได้ เป็นต้น
“ดินสอ” หุ่นยนต์ไทยลํ้าหน้าระดับโลก
โรโบติกส์ จ�ากัด จนถึงปัจจุบันอยู่ระหว่างพัฒนาหุ่นยนต์ดินสอรุ่นที่ 4
ที่คาดว่าจะแล้วเสร็จปลายปีนี้ อีกทั้งยังมีหุ่นยนต์ดินสอมินิแบบตั้งโต๊ะ
ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อท�าหน้าที่ดูแลผู้สูงวัย
หุ่นยนต์ดินสอ รุ่นที่ 1
ทํางานอีเวนต์
หุ่นยนต์ดินสอ รุ่นที่ 2
พนักงานเสิร์ฟ
1
2
3
4 5
หุ่นยนต์ดินสอ รุ่นที่ 3
พนักงานต้อนรับ และขายเสื้อผ้า Arrow
หุ่นยนต์ดินสอ รุ่นที่ 4
ผู้ช่วยแพทย์ และผู้ช่วยพยาบาล หุ่นยนต์ดินสอมินิ
ดูแลผู้สูงวัย
IT TRENDS | SPECIAL REPORT14
จับตาประเทศจีน เบอร์ 1
ด้านหุ่นยนต์
จากข่าวในเว็บไซต์ industryweek ได้รายงานถึงความสามารถ
ในการผลิตหุ่นยนต์ของประเทศจีนที่สูงมากกว่า 100,000 ตัว ในช่วง
เวลา 10 เดือนของช่วงปีที่ผ่านมา (2017) ซึ่งมียอดผลิตสูงกว่าตลอด
ทั้งปีของปีก่อนหน้านี้ที่ผลิตได้ราว 90,000 ตัว และคาดว่าเมื่อสิ้นสุด
ปี 2017 จะมียอดผลิตทะลุ 120,000 ตัวนั้น ตัวเลขดังกล่าวสอดคล้อง
กับการคาดการณ์ของ IFR (International Federation of Robotics)
ซึ่งเป็นข้อพิสูจน์ได้ว่า ประเทศจีนมีพัฒนาการและให้ความส�าคัญกับ
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ไม่น้อยกว่าประเทศใดในโลก
หากมองในเชิงปัจจัยสนับสนุนคือ ประเทศจีนเป็นแหล่งโรงงาน
ผลิตของโลกในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ผู้ประกอบการน้อยใหญ่
ทั่วโลกต่างส่งผลิตภัณฑ์ต้นแบบไปผลิตยังประเทศจีนเพราะมีต้นทุน
ค่าแรงค่อนข้างต�่า เมื่อเข้าสู่ยุคแรงงานเริ่มขาดแคลนและมีค่าแรงที่สูงขึ้น
ประจวบเหมาะกับพัฒนาการทางเทคโนโลยีที่สร้างหุ่นยนต์ขึ้นมาท�างาน
ในภาคส่วนต่างๆได้ส�าเร็จท�าให้เป็นโอกาสใหม่อีกด้านของประเทศจีน
ที่จะทะยานขึ้นเป็นผู้น�าอันดับต้นๆ หรือเป็นหมายเลข 1 ด้านหุ่นยนต์
ของโลกได้ไม่ยาก
ส�าหรับการใช้งานหุ่นยนต์ในประเทศจีนปัจจุบันใช้ในหลากหลาย
อุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมการผลิต การขนส่ง และด้านการแพทย์
การเกษตร ค้าปลีก เป็นต้น ข่าวจาก People’s Daily Online เผยว่า
เมื่อต้นปี2017โรงงานแห่งหนึ่งชื่อChangyingPrecisionTechnology
ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลกวางตุ้งของประเทศจีน
ใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติในการผลิตสินค้าถึง 90% นับเป็นโรงงาน
อุตสาหกรรมแห่งแรกที่ใช้หุ่นยนต์จ�านวนมาก ผลปรากฏว่าโรงงาน
แห่งนั้นสามารถผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นได้ถึง 250% และช่วยลดข้อบกพร่อง
ลงถึง 80%
ตลอด9ปีที่ผ่านมาการพัฒนาหุ่นยนต์ดินสอประสบความส�าเร็จ
เป็นอย่างดี โดยสิ่งที่ยืนยันความส�าเร็จได้คือ การส่งออกไปยังตลาด
ต่างประเทศได้แก่ญี่ปุ่นสวีเดนและล่าสุดได้พาร์ตเนอร์ในการท�าตลาด
ที่เยอรมันแล้วและเตรียมรุกตลาด นอกจากนี้ ยังมีแผนที่จะขยายตลาด
ไปยังประเทศแคนาดา และฮ่องกง ในอนาคตอันใกล้นี้ด้วย
หุ่นยนต์ดินสอ#4 คัดกรองมะเร็งปอด
อาจนับเป็นตัวแรกในโลก
หุ่นยนต์ดินสอ#4 ในขณะนี้ได้พัฒนาไปกว่า 80% แล้ว คาดว่าจะ
แล้วเสร็จพร้อมส่งสู่โรงพยาบาลได้ราวปลายปีนี้ โดยมีความสามารถด้าน
การคัดกรองคนไข้ เช่น วัดความดันโลหิต วัดชีพจร อุณหภูมิร่างกาย
ซึ่งท�าหน้าที่เป็นผู้ช่วยพยาบาลยิ่งไปกว่านั้น หุ่นยนต์ดินสอ#4ยังก้าวหน้า
ไปถึงขั้นวัดน�้าตาลในเลือด โดยใช้เข็มเจาะขนาดเล็กเพียง 1 ใน 3
ของเส้นผมมนุษย์
อีกหนึ่งความล�้าของหุ่นยนต์ดินสอ#4 ที่น่าตื่นเต้นส�าหรับ
ประเทศไทยคืออาจจัดได้ว่าเป็นหุ่นยนต์ตัวแรกของโลกด้านการคัดกรอง
มะเร็งปอด ซึ่งมีความแม่นย�ากว่า 80% ทั้งนี้คุณเฉลิมพล กล่าวว่า เรา
ได้พัฒนาให้หุ่นยนต์ดินสอ#4 “รับรู้กลิ่น และแยกแยะได้” ซึ่งเกิดจาก
ความร่วมมือกับทีมแพทย์ นักวิจัย และทีมพัฒนาหุ่นยนต์ โดยได้ร่วม
ท�าการวิจัยและพัฒนา (R&D) อย่างใกล้ชิดกับโรงพยาบาลศิริราช
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ส�าหรับการวิจัยและ
พัฒนานั้นมีแนวคิดที่จะช่วยลดอัตราการเสี่ยงของโรคมะเร็งปอดใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล (รพสต.) เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึง
ทางการแพทย์ในระดับท้องถิ่น
“อีก 3 ปี ตั้งเป้าว่าจะน�าหุ่นยนต์รุกตลาดโรงพยาบาลทั่วโลก
โดยความท้าทายคือ การพัฒนาที่ล�้าหน้า ไม่ใช่แค่ตามทันโลกเท่านั้น”
คุณเฉลิมพล กล่าวถึงเป้าหมายใหญ่ https://www.robotics.org/blog-article.cfm/
The-Latest-Technological-Innovations-in-Autonomous-Mobile-Robots/97
SPECIAL REPORT | IT TRENDS 15
ก่อนหน้าที่จะใช้หุ่นยนต์โรงงานดังกล่าวต้องใช้พนักงานราว650
คนตลอดกระบวนการผลิต แต่เมื่อน�าแขนหุ่นยนต์เข้ามาใช้ทดแทน
แรงงานมนุษย์ ซึ่งหุ่นยนต์หนึ่งแขนทดแทนคนได้ 6-8 คน ท�าให้ปัจจุบัน
ภายในโรงงานใช้พนักงานที่เป็นมนุษย์เพียง 60 คนเท่านั้น
ไม่เพียงแค่การท�างานตามค�าสั่งคอมพิวเตอร์ที่ส่งไปยังแขน
หุ่นยนต์เท่านั้นหุ่นยนต์ยังสามารถพัฒนาให้มีความฉลาดมากขึ้นได้ด้วย
ดังที่พบเห็นในปัจจุบันกับการใช้ระบบ AI (Artificial Intelligence)
ในหุ่นยนต์ ท�าให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ซึ่งเกิดจากการ
เรียนรู้จากข้อมูลที่ได้รับ หรืออาจจะกล่าวได้ว่า AI หรือปัญญาประดิษฐ์
ท�าหน้าที่คล้ายคลึงกับสมองมนุษย์นั่นเอง
อีกตัวอย่างหนึ่งของการใช้หุ่นยนต์ในประเทศจีนคือการใช้หุ่นยนต์
ท�าฟันแทนทันตแพทย์เป็นผลส�าเร็จที่ได้ประกาศไปเมื่อปลายปีที่ผ่านมา
สร้างความตื่นเต้นให้กับคนหลายสาขาวิชาชีพหุ่นยนต์ดังกล่าวสามารถ
ท�าทันตกรรมรากฟันเทียมโดยไม่จ�าเป็นต้องพึ่งพามนุษย์ในการควบคุม
หุ่นยนต์จะด�าเนินการผ่าตัดฝังรากฟันเทียมลงในเหงือกของคนไข้ด้วย
ตนเอง นอกจากนี้ยังถูกตั้งโปรแกรมให้เคลื่อนตัวไปตามอิริยาบถของ
ผู้ป่วย จนลดความผิดพลาดได้ดีอยู่ในระดับยอมรับได้อีกด้วย
หุ่นยนต์นี้เป็นผลงานความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยWuhan
University Stomatological Hospital เมืองซีอาน มณฑลส่านซี
ประเทศจีน และสถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัย Beihang University’s
robotics institute
AI หนุนอนาคตเศรษฐกิจจีนเติบโต
Adam Burden ต�าแหน่ง Global Lead for Advanced
Technology & Architecture (ATA) ของ Accenture กล่าวว่า
ในประเทศจีนจะมีอุตสาหกรรมการผลิต ค้าปลีก และการเกษตร ได้น�า
AI ไปติดตั้งและพัฒนาการใช้งานเพื่อยกระดับธุรกิจให้ดีกว่าเดิม
โดยก่อนหน้านี้การใช้หุ่นยนต์ในภาคการผลิตนั้นเป็นเพียงงานระดับ
เบื้องต้นแต่ในอนาคตIoTหรือInternetofThingsจะเข้ามามีบทบาท
มากขึ้น และช่วยเชื่อมต่อข้อมูลต่างๆ เข้ากับ AI เพื่อพัฒนาให้ท�างานที่
ยากมากขึ้น จึงเป็นการยกระดับภาคการผลิตโดยอัตโนมัติ”
ส�าหรับการประยุกต์ใช้AIในอุตสาหกรรมต่างๆจะช่วยเพิ่มมูลค่า
เพิ่มรวมของประเทศจีน หรือ GVA (Gross Value Added) ในปี 2035
ดังภาพประกอบด้านล่าง นั่นคือ AI จะยิ่งมีประโยชน์ต่อประเทศที่
ขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากในอนาคต AI จะฉลาดมากขึ้น ในขณะที่
ราคาถูกลง เอื้อให้ธุรกิจสามารถลงทุนในเทคโนโลยี AI ได้ง่ายขึ้น
photo : https://www.digitalagemag.com
photo : https://www.accenture.com/cn-en/insight-artificial-intelligence-china
26275
Projected growth
without AI
Projected growth with AI's
Impact limited to TFP
THREE GROWTH SCENARIOS FOR CHINA'S ECONOMY
Projected growth with as
new factor of production
CHINA'S GVA
AI-INDUCED TFP
ADDITIONAL AI-INDUCED
GROWTH
26275
831
26275
831
6280
CHINA'S GVA in 2035 (US$ billion)
Source : Accenture and Frontier Economics
ผลสํารวจ ARM SURVEY
พบ หุ่นยนต์ช่วยมนุษย์ทํางาน-
ไม่ได้ทํางานแทน
เคมบริดจ์ อังกฤษ–(BUSINESS WIRE)–27 มิ.ย. 2560 (แปลจากhttp://www.thainewsy.com)
การส�ารวจอิสระของARMด้วยการสอบถามผู้บริโภคเกือบ4,000
คนทั่วโลก พบว่า มีผู้บริโภคเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่เชื่อว่า AI ที่มาในรูป
ของหุ่นยนต์จะเข้ามาแทนที่การท�างานของมนุษย์จนก่อให้เกิดความ
ปั่นป่วนในตลาดแรงงาน เมื่อถามว่าในอนาคต AI จะเข้ามามีบทบาทใน
ชีวิตประจ�าวันเพิ่มขึ้นในด้านใดบ้าง ผู้บริโภค 30% บอกว่า ผลกระทบ
ที่ส�าคัญที่สุดคือ“จะท�าให้มนุษย์มีงานท�าลดลงหรือท�างานที่ไม่เหมือนเดิม”
อย่างไรก็ตามผู้ที่เข้ารับการส�ารวจยังคงมองโลกในแง่ดีว่าในการท�างาน
ส่วนใหญ่นั้น หุ่นยนต์จะเข้ามาช่วยเหลือมนุษย์มากกว่าแทนที่มนุษย์
โดยจะเข้ามาช่วยงานส่วนที่น่าเบื่อหรืออันตรายให้มีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น
IT TRENDS | SPECIAL REPORT16
สรุปการค้นพบที่สําคัญ: ประโยชน์และผลกระทบที่จะตกสู่ผู้บริโภค
photo : https://www.freepik.com
Joyce Kim รองประธานฝ่ายการสื่อสาร แบรนด์ และการตลาด
ระดับโลกของ ARM กล่าวว่า “เป็นที่น่ายินดีที่ผลการส�ารวจ
แสดงให้เห็นมุมมองในแง่บวกและโอกาสที่มีต่อ AI แต่อย่างไรก็ตาม
เป็นเพียงค�าถามเกี่ยวกับศักยภาพส่วนน้อยของ AI เท่านั้น AI จะ
ส่งผลต่อการท�างานอย่างแน่นอน แต่เป็นไปในระดับที่ควบคุมได้
และเป็นผลกระทบในทางที่ดี โดยจะเพิ่มโอกาสและยกระดับชีวิต
ของคน”
ทั้งนี้การส�ารวจดังกล่าวจัดท�าโดยNorthstarResearchPartners
ร่วมมือกับ ARM โดยนักวิจัยท�าการส�ารวจเฉพาะผู้บริโภคที่พอมี
ความรู้เกี่ยวกับ AI อยู่บ้าง จากนั้นจึงประเมินความคิดเห็นของผู้ตอบ
แบบสอบถามเกือบ 4,000 คน จากประเทศสหรัฐฯ สหราชอาณาจักร
สวีเดน เยอรมนี จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้
37% 30%
29% 20%
19% 18%
11% 12%
5% 11%
9%
เชื่อว่า พัฒนาการดังกล่าว
จะช่วยเหลือมนุษย์ได้ เช่น
ด้านวิทยาศาตร์และยารักษาโรค
เชื่อว่า จะทําให้มนุษย์มีงานทํา
ลดลงหรือทํางานที่ไม่เหมือนเดิม
เชื่อว่า หุ่นยนต์จะเข้ามาทํางาน
ส่วนที่น่าเบื่อหรืออันตราย
เชื่อว่า เครื่องจักรจะเข้ามา
มีบทบาทในการควบคุมชีวิต
ตนเองส่วนหนึ่ง
เชื่อว่า จะลดต้นทุนการดําเนิน
ธุรกิจ พร้อมยกระดับบริการใน
ราคาที่ลดลง
เชื่อว่า ในโลกออนไลน์จะมีการ
ส่งผ่านข้อมูลมากขึ้น และอาจ
ทําให้มีการขโมยข้อมูลมากขึ้น
มองว่า จะลดความเสี่ยงที่มนุษย์
จะประสบอุบัติเหตุหรือเกิดความ
ผิดพลาด
มองว่าอาจก่อให้เกิดปัญหา
สังคม เนื่องจากมนุษย์มีโอกาส
ลดลง หรือรู้สึกไร้ประโยชน์ หรือ
มีเวลาว่างมากเกินไป
คิดว่าจะมีเวลาว่างมากขึ้น เชื่อว่า เครื่องจักรจะมีอิสรภาพ
มากขึ้น และสามารถคิดเองได้
เชื่อว่า อาจมีการสร้างความ
สัมพันธ์กับเครื่องจักรมากกว่า
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
หาก AI เข้ามามีบทบาทมากมายในชีวิตประจําวัน
จะก่อให้เกิดประโยชน์ใดมากที่สุดในอนาคต
หาก AI เข้ามามีบทบาทมากมายในชีวิตประจําวัน
จะก่อให้เกิดความเสียหายใดมากที่สุดในอนาคต
ผู้เข้ารับการส�ารวจเชื่อว่าเทคโนโลยีAIใหม่ๆจะเข้ามามีบทบาท
ในภาคการผลิตและการธนาคารมากที่สุด ขณะที่อาชีพเกี่ยวกับการท�า
อาหาร ดับเพลิง และเกษตรกรรมจะยังคงต้องใช้แรงงานมนุษย์ ส�าหรับ
ความเห็นดังกล่าวมาจากความเห็นส่วนใหญ่ของผู้ตอบแบบสอบถาม
เกี่ยวกับอนาคตของหุ่นยนต์ โดยผู้บริโภคในเอเชียมีความคิดเห็นไปใน
แง่บวกมากที่สุด ตามด้วยสหรัฐฯ และยุโรปตามล�าดับ
ส�าหรับในภาพรวมนั้นผู้บริโภคมีความเห็นต่ออนาคตในแง่บวก
มากจนน่าประหลาดใจ โดย 61% เชื่อว่า “สังคมจะดีขึ้น” หากมี
การน�าระบบอัตโนมัติและ AI มาใช้งาน ผู้บริโภคยังสนับสนุนการ
ใช้งาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการดูแลสุขภาพและวิทยาศาสตร์
อีกทั้งยังพร้อมมอบความไว้วางใจให้มีการน�าเครื่องจักรมาวินิจฉัยโรค
ขับรถ และเป็นเพื่อนคู่กายด้วย
SPECIAL REPORT | IT TRENDS 17
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง

Contenu connexe

Plus de IMC Institute

Plus de IMC Institute (20)

Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
 
บทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIบทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AI
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valley
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9 IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
 
Digital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgDigital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.org
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
 

บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง

  • 1. หนึ่งในแนวโน้มนวัตกรรมระดับโลกที่มาแรงคือ “Robot” หลายประเทศทั่วโลกเร่งพัฒนาเพื่อก้าวสู่ความ เป็นผู้นํา ในมุมของเอเชียมีประเทศจีนที่รุดหน้าและตลาดมีการเติบโตสูง ขณะที่หุ่นยนต์ประเทศไทยไม่แพ้ใคร โอกาสแค่เอื้อมขึ้นเวทีผู้นําระดับโลกด้านการแพทย์ ROBOTICS แนวโน้มใหม่มุ่งสู่บริการเฉพาะทาง หุ่นยนต์ (Robot) หนึ่งในอุตสาหกรรมที่รัฐบาลประกาศให้เป็น หัวหอกเพื่อพัฒนาประเทศให้ไปสู่เป้าหมายของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ไทยในอนาคต ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มของ New S-curve หรือการยกระดับ เป็นอุตสาหกรรมแห่งอนาคตโดยในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ยังมีโอกาสอีก มาก เพราะปัจจุบันเป็นเพียงก้าวแรกๆ ของการน�าหุ่นยนต์มาใช้ในงาน ต่างๆ ที่ผ่านมาการใช้หุ่นยนต์มักจะพบในสองอุตสาหกรรมหลักคือ ด้านการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ และด้านอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งทั้งหมดนี้จัดอยู่ ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตเป็นส่วนใหญ่อย่างไรก็ตามวิวัฒนาการของ หุ่นยนต์ไม่ได้อยู่ในวงจ�ากัดเท่านั้น ไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ คนทั่วโลกได้สัมผัส กับหุ่นยนต์ด้านบริการบ้างแล้วกล่าวคือหุ่นยนต์ในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ หุ่นยนต์ภาคการผลิต (Industrial Robots) และ หุ่นยนต์บริการ (Service Robots) IT TRENDS | SPECIAL REPORT12
  • 2. หากกล่าวถึง ASIMO คนจ�านวนมากมักจะคิดออกทันทีว่าเป็น หุ่นยนต์ตัวแรกๆ ที่อยู่ในความทรงจ�าของคน ASIMO เป็นหุ่นยนต์ ฮิวแมนนอยด์หรือหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้าประเทศ ญี่ปุ่น สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2543 ชื่อนี้ย่อมาจาก Advanced Step in Innovative Mobility โดย ASIMO ได้รับการออกแบบให้สามารถใช้ งานได้อย่างง่าย ไม่ว่าจะเป็นการควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หรือการควบคุมระยะไกล อย่างไรก็ตาม หากมองถึงวิวัฒนาการของหุ่นยนต์ อาจกล่าวได้ว่า หุ่นยนต์บริการ(ServiceRobots)จะเป็นทิศทางหรือแนวโน้มที่ส�าคัญ ของโลกต่อจากนี้ไปซึ่งในหมวดบริการนี้ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จะมุ่ง พัฒนาหุ่นยนต์ทางการแพทย์ ด้วยเพราะสังคมโลกก�าลังจะก้าวสู่สังคม ผู้สูงวัย (Aging Society) ท�าให้เกิดความต้องการเครื่องทุ่นแรงและ ระบบอัตโนมัติที่จะเข้ามาอ�านวยความสะดวกแก่มนุษย์ให้มากขึ้น หุ่นยนต์กับโอกาสประเทศไทย จากนโยบายรัฐบาลที่ประกาศให้อุตสาหกรรมหุ่นยนต์เป็นหนึ่ง ในเป้าหมายของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศไทยในอนาคต ผนวก กับมีการเรียนการสอน และมีเวทีการแข่งขันด้านหุ่นยนต์มากขึ้น นับ เป็นโอกาสดีของคนไทยรุ่นต่อไปที่จะก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมที่ยังมีการ เติบโตอีกยาวไกลทั้งนี้ในตลาดโลกที่ประมาณการโดยสหพันธ์หุ่นยนต์ นานาชาติ (IFR: International Federation of Robots) มีการ คาดการณ์ว่าในปี 2020 ตลาดหุ่นยนต์จะมียอดขายถึง 521,000 ตัว (อ่านข้อมูลเพิ่มเติมในคอลัมน์ Survey) ตัวเลขประมาณการนี้หมายถึง โอกาสทางการตลาดของคนไทยด้วยเช่นกัน https://www.robotics.org/blog-article.cfm/ How-Becoming-a-Certified-Robot-Integrator-Helps-Your-Business/98 photo : http://asimo.honda.com ส�าหรับประเทศไทยปัจจุบันมีการน�าไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์เช่นเดียวกับทิศทางแนวโน้มโลกในช่วง ที่ผ่านมาแต่หากพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการน�าไปใช้งานในอนาคต นั้น ภาคการเกษตรจะได้รับประโยชน์อย่างมาก เพราะหุ่นยนต์สามารถ ช่วยท�างานได้หลายรูปแบบ เช่น พ่นยาฆ่าแมลง เก็บเกี่ยวผลผลิต ยก และเคลื่อนย้ายผลผลิต หรือคัดผลผลิต เป็นต้น ผศ.ดร. ถวิดา มณีวรรณ์ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้ให้สัมภาษณ์ไว้ ในเว็บไซต์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ส�านักวิจัยและบริการวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีว่าในประเทศไทยนั้นมีโจทย์เพื่อการท�าการวิจัยที่มีความ หลากหลายไม่ว่าจะเป็นภาคอุตสาหกรรมหรือภาคการเกษตรหากเรา สามารถออกแบบหุ่นยนต์ที่แก้ปัญหาได้ อนาคตเราก็จะสามารถเป็น ผู้น�าด้านหุ่นยนต์ได้เช่นกัน ในปัจจุบันเมื่อมีการจัดแข่งขันหุ่นยนต์ ประเทศไทยก็สามารถ คว้ารางวัลกลับมาได้ดังนั้นต้องบอกว่าเรายังมีความหวังทั้งนี้เทคโนโลยี และองค์ความรู้ด้านหุ่นยนต์ทั่วโลกในขณะนี้ยังพอๆ กันอยู่ หากเราเริ่ม ตอนนี้ก็ไม่สายเกินไปและเรามีความสามารถเฉพาะทางที่จะน�าหุ่นยนต์ ไปแก้ปัญหาได้หากท�าส�าเร็จเราก็จะมีความเข้าใจลึกซึ้งในเรื่องเหล่านั้น และในอนาคตโอกาสที่เราจะส่งออกเทคโนโลยีก็สามารถท�าได้เช่นกัน ดังนั้นทุกภาคส่วนจึงควรช่วยกันผลักดัน โดยความร่วมมือระหว่าง สถาบันการศึกษา และผู้ประกอบการพัฒนาหุ่นยนต์มีความสามารถใน การแก้ปัญหาเฉพาะทาง ซึ่งในอนาคตประเทศไทยเรามีศักยภาพ เพียงพอที่อาจจะเป็นผู้น�าและผู้ส่งออกหุ่นยนต์ ส่วนวิวัฒนาการของหุ่นยนต์บริการ (Service Robots) ใน ประเทศไทยมีความก้าวหน้าและล�้าหน้าไม่แพ้ต่างประเทศอย่าง ญี่ปุ่น อเมริกา และเยอรมัน ฯลฯ นั่นคือ SetRobots เป็นหุ่นยนต์ที่ท�าหน้าที่ SPECIAL REPORT | IT TRENDS 13
  • 3. ซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์และหุ่นยนต์ดินสอเป็นหุ่นยนต์นักบริการ ด้านต่างๆ ที่มีความล�้าหน้ากว่าหุ่นยนต์ในหลายประเทศ คุณเฉลิมพล ปุณโณทก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซีที เอเชีย โรโบติกส์ จ�ากัด ผู้พัฒนาหุ่นยนต์อันดับหนึ่งของประเทศไทย ให้สัมภาษณ์มุมมองต่อตลาดไทยว่าสถานการณ์ปัจจุบันประเทศไทยมี แนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต และ อิเล็กทรอนิกส์ขณะนี้ได้ขยายเข้าไปใช้งานในทางการแพทย์และสุขภาพ โดยพบว่าทิศทางตลาดหุ่นยนต์เริ่มกระจายไปยังกลุ่มเฉพาะทาง นับเป็นโอกาสอันดีที่มีผู้ประกอบการไทยมุ่งเน้นการพัฒนาหุ่นยนต์ ต่อเนื่องมาราว 9 ปี ในนาม “หุ่นยนต์ดินสอ” ที่เกิดจากแนวคิดของคุณ เฉลิมพล ปุณโณทก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซีที เอเชีย photo : https://www.robotics.org/blog-article.cfm/ Service-Robots-Are-Quickly-Tackling-New-Applications-Every-Day/95 (Segment) และแนวทางในการพัฒนานับจากนี้จะใช้เทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) เพื่อสร้างความฉลาดให้หุ่นยนต์สามารถคิด ประมวลผลเองจากข้อมูลที่มีอยู่ “นับเป็นข้อสังเกตว่าการใช้หุ่นยนต์ในทางการแพทย์ไทยมีความ ก้าวหน้ากว่าประเทศญี่ปุ่น ในขณะที่ด้าน Nursing Home ของไทย ล้าหลังกว่าญี่ปุ่นมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะประเทศไทยมีบุคลากรด้าน การแพทย์ที่เก่ง และเป็นเหตุให้โรงพยาบาลเอกชนเข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์เพื่อระดมทุนได้จึงเป็นการขยายโอกาสด้านการแพทย์ ไทย อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าในอนาคตตลาด Nursing Home ของไทยจะ ทันสมัยและเติบโตอีกมาก” คุณเฉลิมพล เสริม คุณเฉลิมพลกล่าวถึงแนวโน้มของหุ่นยนต์โลกจากการคลุกคลีใน แวดวงนี้มานานว่า หุ่นยนต์จะมีเส้นทางในการเติบโตแบบเดียวกับ โทรศัพท์มือถือคือในยุคแรกของมือถือนั้นผู้ที่ใช้งานจะเป็นกลุ่มนักธุรกิจ หรือนักปกครองและนักบริหารชั้นผู้ใหญ่ เพราะมีราคาแพง แต่ปัจจุบันมือถือ มีใช้กันทั่วไปแทบทุกคนมีใช้เป็นของตนเอง ซึ่งเชื่อว่าหุ่นยนต์ก็เช่นกัน ในอนาคตจะเป็นผู้ช่วยประจ�ากายของคนทั่วๆ ไป เช่น หุ่นยนต์ขับรถ หุ่นยนต์รักษาความปลอดภัย และหุ่นยนต์ที่เป็นพนักงานคนส�าคัญใน ร้าน หากเกิดการช�ารุด ร้านอาจจะไม่สามารถเปิดให้บริการได้ เป็นต้น “ดินสอ” หุ่นยนต์ไทยลํ้าหน้าระดับโลก โรโบติกส์ จ�ากัด จนถึงปัจจุบันอยู่ระหว่างพัฒนาหุ่นยนต์ดินสอรุ่นที่ 4 ที่คาดว่าจะแล้วเสร็จปลายปีนี้ อีกทั้งยังมีหุ่นยนต์ดินสอมินิแบบตั้งโต๊ะ ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อท�าหน้าที่ดูแลผู้สูงวัย หุ่นยนต์ดินสอ รุ่นที่ 1 ทํางานอีเวนต์ หุ่นยนต์ดินสอ รุ่นที่ 2 พนักงานเสิร์ฟ 1 2 3 4 5 หุ่นยนต์ดินสอ รุ่นที่ 3 พนักงานต้อนรับ และขายเสื้อผ้า Arrow หุ่นยนต์ดินสอ รุ่นที่ 4 ผู้ช่วยแพทย์ และผู้ช่วยพยาบาล หุ่นยนต์ดินสอมินิ ดูแลผู้สูงวัย IT TRENDS | SPECIAL REPORT14
  • 4. จับตาประเทศจีน เบอร์ 1 ด้านหุ่นยนต์ จากข่าวในเว็บไซต์ industryweek ได้รายงานถึงความสามารถ ในการผลิตหุ่นยนต์ของประเทศจีนที่สูงมากกว่า 100,000 ตัว ในช่วง เวลา 10 เดือนของช่วงปีที่ผ่านมา (2017) ซึ่งมียอดผลิตสูงกว่าตลอด ทั้งปีของปีก่อนหน้านี้ที่ผลิตได้ราว 90,000 ตัว และคาดว่าเมื่อสิ้นสุด ปี 2017 จะมียอดผลิตทะลุ 120,000 ตัวนั้น ตัวเลขดังกล่าวสอดคล้อง กับการคาดการณ์ของ IFR (International Federation of Robotics) ซึ่งเป็นข้อพิสูจน์ได้ว่า ประเทศจีนมีพัฒนาการและให้ความส�าคัญกับ อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ไม่น้อยกว่าประเทศใดในโลก หากมองในเชิงปัจจัยสนับสนุนคือ ประเทศจีนเป็นแหล่งโรงงาน ผลิตของโลกในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ผู้ประกอบการน้อยใหญ่ ทั่วโลกต่างส่งผลิตภัณฑ์ต้นแบบไปผลิตยังประเทศจีนเพราะมีต้นทุน ค่าแรงค่อนข้างต�่า เมื่อเข้าสู่ยุคแรงงานเริ่มขาดแคลนและมีค่าแรงที่สูงขึ้น ประจวบเหมาะกับพัฒนาการทางเทคโนโลยีที่สร้างหุ่นยนต์ขึ้นมาท�างาน ในภาคส่วนต่างๆได้ส�าเร็จท�าให้เป็นโอกาสใหม่อีกด้านของประเทศจีน ที่จะทะยานขึ้นเป็นผู้น�าอันดับต้นๆ หรือเป็นหมายเลข 1 ด้านหุ่นยนต์ ของโลกได้ไม่ยาก ส�าหรับการใช้งานหุ่นยนต์ในประเทศจีนปัจจุบันใช้ในหลากหลาย อุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมการผลิต การขนส่ง และด้านการแพทย์ การเกษตร ค้าปลีก เป็นต้น ข่าวจาก People’s Daily Online เผยว่า เมื่อต้นปี2017โรงงานแห่งหนึ่งชื่อChangyingPrecisionTechnology ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลกวางตุ้งของประเทศจีน ใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติในการผลิตสินค้าถึง 90% นับเป็นโรงงาน อุตสาหกรรมแห่งแรกที่ใช้หุ่นยนต์จ�านวนมาก ผลปรากฏว่าโรงงาน แห่งนั้นสามารถผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นได้ถึง 250% และช่วยลดข้อบกพร่อง ลงถึง 80% ตลอด9ปีที่ผ่านมาการพัฒนาหุ่นยนต์ดินสอประสบความส�าเร็จ เป็นอย่างดี โดยสิ่งที่ยืนยันความส�าเร็จได้คือ การส่งออกไปยังตลาด ต่างประเทศได้แก่ญี่ปุ่นสวีเดนและล่าสุดได้พาร์ตเนอร์ในการท�าตลาด ที่เยอรมันแล้วและเตรียมรุกตลาด นอกจากนี้ ยังมีแผนที่จะขยายตลาด ไปยังประเทศแคนาดา และฮ่องกง ในอนาคตอันใกล้นี้ด้วย หุ่นยนต์ดินสอ#4 คัดกรองมะเร็งปอด อาจนับเป็นตัวแรกในโลก หุ่นยนต์ดินสอ#4 ในขณะนี้ได้พัฒนาไปกว่า 80% แล้ว คาดว่าจะ แล้วเสร็จพร้อมส่งสู่โรงพยาบาลได้ราวปลายปีนี้ โดยมีความสามารถด้าน การคัดกรองคนไข้ เช่น วัดความดันโลหิต วัดชีพจร อุณหภูมิร่างกาย ซึ่งท�าหน้าที่เป็นผู้ช่วยพยาบาลยิ่งไปกว่านั้น หุ่นยนต์ดินสอ#4ยังก้าวหน้า ไปถึงขั้นวัดน�้าตาลในเลือด โดยใช้เข็มเจาะขนาดเล็กเพียง 1 ใน 3 ของเส้นผมมนุษย์ อีกหนึ่งความล�้าของหุ่นยนต์ดินสอ#4 ที่น่าตื่นเต้นส�าหรับ ประเทศไทยคืออาจจัดได้ว่าเป็นหุ่นยนต์ตัวแรกของโลกด้านการคัดกรอง มะเร็งปอด ซึ่งมีความแม่นย�ากว่า 80% ทั้งนี้คุณเฉลิมพล กล่าวว่า เรา ได้พัฒนาให้หุ่นยนต์ดินสอ#4 “รับรู้กลิ่น และแยกแยะได้” ซึ่งเกิดจาก ความร่วมมือกับทีมแพทย์ นักวิจัย และทีมพัฒนาหุ่นยนต์ โดยได้ร่วม ท�าการวิจัยและพัฒนา (R&D) อย่างใกล้ชิดกับโรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ส�าหรับการวิจัยและ พัฒนานั้นมีแนวคิดที่จะช่วยลดอัตราการเสี่ยงของโรคมะเร็งปอดใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล (รพสต.) เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึง ทางการแพทย์ในระดับท้องถิ่น “อีก 3 ปี ตั้งเป้าว่าจะน�าหุ่นยนต์รุกตลาดโรงพยาบาลทั่วโลก โดยความท้าทายคือ การพัฒนาที่ล�้าหน้า ไม่ใช่แค่ตามทันโลกเท่านั้น” คุณเฉลิมพล กล่าวถึงเป้าหมายใหญ่ https://www.robotics.org/blog-article.cfm/ The-Latest-Technological-Innovations-in-Autonomous-Mobile-Robots/97 SPECIAL REPORT | IT TRENDS 15
  • 5. ก่อนหน้าที่จะใช้หุ่นยนต์โรงงานดังกล่าวต้องใช้พนักงานราว650 คนตลอดกระบวนการผลิต แต่เมื่อน�าแขนหุ่นยนต์เข้ามาใช้ทดแทน แรงงานมนุษย์ ซึ่งหุ่นยนต์หนึ่งแขนทดแทนคนได้ 6-8 คน ท�าให้ปัจจุบัน ภายในโรงงานใช้พนักงานที่เป็นมนุษย์เพียง 60 คนเท่านั้น ไม่เพียงแค่การท�างานตามค�าสั่งคอมพิวเตอร์ที่ส่งไปยังแขน หุ่นยนต์เท่านั้นหุ่นยนต์ยังสามารถพัฒนาให้มีความฉลาดมากขึ้นได้ด้วย ดังที่พบเห็นในปัจจุบันกับการใช้ระบบ AI (Artificial Intelligence) ในหุ่นยนต์ ท�าให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ซึ่งเกิดจากการ เรียนรู้จากข้อมูลที่ได้รับ หรืออาจจะกล่าวได้ว่า AI หรือปัญญาประดิษฐ์ ท�าหน้าที่คล้ายคลึงกับสมองมนุษย์นั่นเอง อีกตัวอย่างหนึ่งของการใช้หุ่นยนต์ในประเทศจีนคือการใช้หุ่นยนต์ ท�าฟันแทนทันตแพทย์เป็นผลส�าเร็จที่ได้ประกาศไปเมื่อปลายปีที่ผ่านมา สร้างความตื่นเต้นให้กับคนหลายสาขาวิชาชีพหุ่นยนต์ดังกล่าวสามารถ ท�าทันตกรรมรากฟันเทียมโดยไม่จ�าเป็นต้องพึ่งพามนุษย์ในการควบคุม หุ่นยนต์จะด�าเนินการผ่าตัดฝังรากฟันเทียมลงในเหงือกของคนไข้ด้วย ตนเอง นอกจากนี้ยังถูกตั้งโปรแกรมให้เคลื่อนตัวไปตามอิริยาบถของ ผู้ป่วย จนลดความผิดพลาดได้ดีอยู่ในระดับยอมรับได้อีกด้วย หุ่นยนต์นี้เป็นผลงานความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยWuhan University Stomatological Hospital เมืองซีอาน มณฑลส่านซี ประเทศจีน และสถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัย Beihang University’s robotics institute AI หนุนอนาคตเศรษฐกิจจีนเติบโต Adam Burden ต�าแหน่ง Global Lead for Advanced Technology & Architecture (ATA) ของ Accenture กล่าวว่า ในประเทศจีนจะมีอุตสาหกรรมการผลิต ค้าปลีก และการเกษตร ได้น�า AI ไปติดตั้งและพัฒนาการใช้งานเพื่อยกระดับธุรกิจให้ดีกว่าเดิม โดยก่อนหน้านี้การใช้หุ่นยนต์ในภาคการผลิตนั้นเป็นเพียงงานระดับ เบื้องต้นแต่ในอนาคตIoTหรือInternetofThingsจะเข้ามามีบทบาท มากขึ้น และช่วยเชื่อมต่อข้อมูลต่างๆ เข้ากับ AI เพื่อพัฒนาให้ท�างานที่ ยากมากขึ้น จึงเป็นการยกระดับภาคการผลิตโดยอัตโนมัติ” ส�าหรับการประยุกต์ใช้AIในอุตสาหกรรมต่างๆจะช่วยเพิ่มมูลค่า เพิ่มรวมของประเทศจีน หรือ GVA (Gross Value Added) ในปี 2035 ดังภาพประกอบด้านล่าง นั่นคือ AI จะยิ่งมีประโยชน์ต่อประเทศที่ ขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากในอนาคต AI จะฉลาดมากขึ้น ในขณะที่ ราคาถูกลง เอื้อให้ธุรกิจสามารถลงทุนในเทคโนโลยี AI ได้ง่ายขึ้น photo : https://www.digitalagemag.com photo : https://www.accenture.com/cn-en/insight-artificial-intelligence-china 26275 Projected growth without AI Projected growth with AI's Impact limited to TFP THREE GROWTH SCENARIOS FOR CHINA'S ECONOMY Projected growth with as new factor of production CHINA'S GVA AI-INDUCED TFP ADDITIONAL AI-INDUCED GROWTH 26275 831 26275 831 6280 CHINA'S GVA in 2035 (US$ billion) Source : Accenture and Frontier Economics ผลสํารวจ ARM SURVEY พบ หุ่นยนต์ช่วยมนุษย์ทํางาน- ไม่ได้ทํางานแทน เคมบริดจ์ อังกฤษ–(BUSINESS WIRE)–27 มิ.ย. 2560 (แปลจากhttp://www.thainewsy.com) การส�ารวจอิสระของARMด้วยการสอบถามผู้บริโภคเกือบ4,000 คนทั่วโลก พบว่า มีผู้บริโภคเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่เชื่อว่า AI ที่มาในรูป ของหุ่นยนต์จะเข้ามาแทนที่การท�างานของมนุษย์จนก่อให้เกิดความ ปั่นป่วนในตลาดแรงงาน เมื่อถามว่าในอนาคต AI จะเข้ามามีบทบาทใน ชีวิตประจ�าวันเพิ่มขึ้นในด้านใดบ้าง ผู้บริโภค 30% บอกว่า ผลกระทบ ที่ส�าคัญที่สุดคือ“จะท�าให้มนุษย์มีงานท�าลดลงหรือท�างานที่ไม่เหมือนเดิม” อย่างไรก็ตามผู้ที่เข้ารับการส�ารวจยังคงมองโลกในแง่ดีว่าในการท�างาน ส่วนใหญ่นั้น หุ่นยนต์จะเข้ามาช่วยเหลือมนุษย์มากกว่าแทนที่มนุษย์ โดยจะเข้ามาช่วยงานส่วนที่น่าเบื่อหรืออันตรายให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น IT TRENDS | SPECIAL REPORT16
  • 6. สรุปการค้นพบที่สําคัญ: ประโยชน์และผลกระทบที่จะตกสู่ผู้บริโภค photo : https://www.freepik.com Joyce Kim รองประธานฝ่ายการสื่อสาร แบรนด์ และการตลาด ระดับโลกของ ARM กล่าวว่า “เป็นที่น่ายินดีที่ผลการส�ารวจ แสดงให้เห็นมุมมองในแง่บวกและโอกาสที่มีต่อ AI แต่อย่างไรก็ตาม เป็นเพียงค�าถามเกี่ยวกับศักยภาพส่วนน้อยของ AI เท่านั้น AI จะ ส่งผลต่อการท�างานอย่างแน่นอน แต่เป็นไปในระดับที่ควบคุมได้ และเป็นผลกระทบในทางที่ดี โดยจะเพิ่มโอกาสและยกระดับชีวิต ของคน” ทั้งนี้การส�ารวจดังกล่าวจัดท�าโดยNorthstarResearchPartners ร่วมมือกับ ARM โดยนักวิจัยท�าการส�ารวจเฉพาะผู้บริโภคที่พอมี ความรู้เกี่ยวกับ AI อยู่บ้าง จากนั้นจึงประเมินความคิดเห็นของผู้ตอบ แบบสอบถามเกือบ 4,000 คน จากประเทศสหรัฐฯ สหราชอาณาจักร สวีเดน เยอรมนี จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ 37% 30% 29% 20% 19% 18% 11% 12% 5% 11% 9% เชื่อว่า พัฒนาการดังกล่าว จะช่วยเหลือมนุษย์ได้ เช่น ด้านวิทยาศาตร์และยารักษาโรค เชื่อว่า จะทําให้มนุษย์มีงานทํา ลดลงหรือทํางานที่ไม่เหมือนเดิม เชื่อว่า หุ่นยนต์จะเข้ามาทํางาน ส่วนที่น่าเบื่อหรืออันตราย เชื่อว่า เครื่องจักรจะเข้ามา มีบทบาทในการควบคุมชีวิต ตนเองส่วนหนึ่ง เชื่อว่า จะลดต้นทุนการดําเนิน ธุรกิจ พร้อมยกระดับบริการใน ราคาที่ลดลง เชื่อว่า ในโลกออนไลน์จะมีการ ส่งผ่านข้อมูลมากขึ้น และอาจ ทําให้มีการขโมยข้อมูลมากขึ้น มองว่า จะลดความเสี่ยงที่มนุษย์ จะประสบอุบัติเหตุหรือเกิดความ ผิดพลาด มองว่าอาจก่อให้เกิดปัญหา สังคม เนื่องจากมนุษย์มีโอกาส ลดลง หรือรู้สึกไร้ประโยชน์ หรือ มีเวลาว่างมากเกินไป คิดว่าจะมีเวลาว่างมากขึ้น เชื่อว่า เครื่องจักรจะมีอิสรภาพ มากขึ้น และสามารถคิดเองได้ เชื่อว่า อาจมีการสร้างความ สัมพันธ์กับเครื่องจักรมากกว่า ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หาก AI เข้ามามีบทบาทมากมายในชีวิตประจําวัน จะก่อให้เกิดประโยชน์ใดมากที่สุดในอนาคต หาก AI เข้ามามีบทบาทมากมายในชีวิตประจําวัน จะก่อให้เกิดความเสียหายใดมากที่สุดในอนาคต ผู้เข้ารับการส�ารวจเชื่อว่าเทคโนโลยีAIใหม่ๆจะเข้ามามีบทบาท ในภาคการผลิตและการธนาคารมากที่สุด ขณะที่อาชีพเกี่ยวกับการท�า อาหาร ดับเพลิง และเกษตรกรรมจะยังคงต้องใช้แรงงานมนุษย์ ส�าหรับ ความเห็นดังกล่าวมาจากความเห็นส่วนใหญ่ของผู้ตอบแบบสอบถาม เกี่ยวกับอนาคตของหุ่นยนต์ โดยผู้บริโภคในเอเชียมีความคิดเห็นไปใน แง่บวกมากที่สุด ตามด้วยสหรัฐฯ และยุโรปตามล�าดับ ส�าหรับในภาพรวมนั้นผู้บริโภคมีความเห็นต่ออนาคตในแง่บวก มากจนน่าประหลาดใจ โดย 61% เชื่อว่า “สังคมจะดีขึ้น” หากมี การน�าระบบอัตโนมัติและ AI มาใช้งาน ผู้บริโภคยังสนับสนุนการ ใช้งาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการดูแลสุขภาพและวิทยาศาสตร์ อีกทั้งยังพร้อมมอบความไว้วางใจให้มีการน�าเครื่องจักรมาวินิจฉัยโรค ขับรถ และเป็นเพื่อนคู่กายด้วย SPECIAL REPORT | IT TRENDS 17