SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  35
Télécharger pour lire hors ligne
การจัดการเชิงกลยุทธ์
(Strategic Management)
           Management)


           นางอมรรัตน์ วงศ์ โสภา
        เทคโนโลยีการสื อสาร รุ่นที4
ทําไมต้ องมีการบริหารเชิงกลยุทธ์

การมีกลยุทธ์ ทําให้ มจุดมุ่งในการไปสู่ เปาหมายทีชัดเจน
                       ี                 ้
การมีกลยุทธ์ เป็ นการเลือกวิธีการทีดีทสุ ด ในสถานการณ์
                                       ี
ทีเหมาะสม
การมีกลยุทธ์ ทําให้ เกิดความชัดเจนในภารกิจ และ
บทบาทความเกียวข้ องของบุคคลฝ่ ายต่ างๆ
การมีกลยุทธ์ ทําให้ มแนวทางทีชัดเจนในการวัดและ
                         ี
ประเมินผลสํ าเร็จ
คํานิยาม
    กลยุทธ์ หมายถึง วิธีดําเนินงานทีมันใจได้ ว่าจะนําไปสู่ ความสํ าเร็ จ
ตามวัตถุประสงค์ ขององค์ กร
    การจัดการเชิ งกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการทีต่ อเนืองและมีการ
ทบทวนกระบวนการเวี ย นไปมาตลอดเวลา เพื อให้ อ งค์ ก รโดยรวม
สามารถดํารงอยู่ในสิ งแวดล้ อมได้ อย่ างเหมาะสม
องค์ ประกอบหลักการวางแผนกลยุทธ์
                          (ขันตอนการบริหารเชิงกลยุทธ์ )
                          (Strategic Management Steps)
                                                                              ปรับยุทธการ
               กําหนดทิศทาง           การยกร่ าง
การวิเคราะห์                                               กําหนด             ดําเนินการ
               พัฒนาองค์ กร           และกําหนด
ภาวะแวดล้ อม                                               ยุทธวิธี           ด้ านกลไก&
               ด้ าน                  ยุทธศาสตร์
ภายนอก                                                     (กลวิธี)           การกํากับ
               วิสัยทัศน์             (กลยุทธ์ )
และ                                                        การ                และ
               พันธกิจ                การ
ภายใน                                                      ดําเนินงาน         ติดตาม
               วัตถุประสงค์ หลัก      พัฒนา                                   การประเมิน


                  FEEDBACK(การปรับองค์ ประกอบหลักของแผนให้ สอดรับกัน)
                                                         Source;Strategic Management, A focus process:
                                                         Samuel C. Certo; J. Pall Peter; 1988
                                                             การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ธันวาคม/2542
กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์
                                                                         -การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายนอก
                                                                         -การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายใน
การทบทวนสถานภาพองค์กร
                                                                    1. การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อม
                                                               -ภารกิจขององค์ กร
การทบทวนภารกิจและ                                              -วัตถุประสงค์ ขององค์ กร
วัตถุประสงค์ขององค์กร                                    2. การจัดวางทิศทางขององค์ กร
                                                   -กลยุทธ์ ระดับแผนงาน
การประเมินผลแผนงาน                                 -กลยุทธ์ ระดับงาน/โครงการ
การประเมินผลงาน/โครงการ                            -กลยุทธ์ ระดับกิจกรรม
การประเมินผลกระบวนการ                              3. กําหนดกลยุทธ์
                                       -โครงสร้ างขององค์ กร
โครงสร้างขององค์กร                     -วัฒนธรรมองค์ กร
วัฒนธรรมองค์กร                   4. การปฏิบัตงานตามกลยุทธ์
                                             ิ
                             -การติดตามผลการปฏิบัติงาน
การทบทวน                     -การประเมินผล
สถานภาพองค์กร
                           5. การควบคุมกลยุทธ์
ลําดับชันของกลยุทธ์ 3 ระดับ ขององค์ กรธุรกิจ

กลยุทธ์ ระดับองค์ กร (Organizational-Level Strategy)
กลยุทธ์ ระดับกิจการ (Business-Level Strategy)
กลยุทธ์ ระดับหน้ าที (Functional-Level Strategy)
ลําดับชันกลยุทธ์ 3 ระดับ ขององค์ กรภาครัฐบาล

กลยุทธ์ ระดับนโยบาย (Policy-Level Strategy)
กลยุทธ์ ระดับโครงการ (Project Purpose)
กลยุทธ์ ระดับกิจกรรม (Activity)
ภาคธุรกิจเอกชน                          ภาครัฐบาล
วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาเน้ นการ     เปาประสงค์ การพัฒนาเน้ นเชิง
                                       ้
แสวงหากําไร และเน้ นตัวชีวัดการทํา   เศรษฐกิจสั งคมและการเมือง และทํา
กําไรเป็ นหลัก                       ให้ มีตวชีวัดทีหลากหลาย
                                            ั
ยึดถือกฎเกณฑ์ และระเบียบปฏิบติั      ยึดถือกฎเกณฑ์ และระเบียบปฏิบติ
                                                                  ั
ขององค์ กรอย่ างยืดหยุ่น             ขององค์ กรอย่ างเคร่ งครัด
ไม่ มอทธิพลแทรกแซงทางการเมือง อิทธิพลแทรกแซงทางการเมืองใน
     ีิ
ในการจัดทําแผน                การจัดทําแผนมีมาก
ข้ อแนะนําในการประยุกต์ ใช้ วธีการจัดการเชิงกลยุทธ์
                                            ิ

1. ข้ อพึงระมัดระวัง
    1.1 การทํานายเหตุ การณ์ ทีจะเกิดขึนในอนาคตล่ วงหน้ าระยะยาวอาจมี
ข้ อผิดพลาด
    1.2 การแยกกระบวนการออกจากกัน เช่ น การแยกกลุ่มผู้จัดทําแผน กลุ่มผู้
วางกลยุทธ์ และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเป็ นคนละกลุ่มกัน หรือไม่ สามารถเชื อมโยง
ความคิดระหว่ างกันได้ และการแยกข้ อมูลเชิ งปริ มาณ (Quantitative Data)
และข้ อมูลเชิงคุณลักษณะ (Qualitative Data) ออกจากกัน
1.3 การนํ า เอาความรู้ สึก โดยสั ญ ชาตญาณมาใช้ ใ นการกํา หนดกลยุ ท ธ์
มากกว่ าการกําหนดระเบียบวิธีการทีเป็ นรู ปธรรม
2. ข้ อแนะนํา
     2.1 วิธีการวางแผนขององค์ กรให้ เน้ นลักษณะของการจําแนกกลยุทธ์
ออกเป็ นแผนงานตามกลยุทธ์ ทกําหนดไว้ แล้ ว
                                   ี
    2.2 แผนที จั ด ทํ า ขึ นต้ อ งมี ส่ วนประกอบของวิ ธี ก ารสื อสารเพื อการ
ประสานงาน และวิธีการควบคุมพฤติกรรมของผู้เกียวข้ องในการปฏิบัติงาน
พร้ อมไปกับการประเมินผลกลยุทธ์ ทีวางไว้ ตังแต่ ต้นและปัจจัยทีมีอิทธิพล
ต่ อการปรับเปลียนกลยุทธ์
2.3 นั กวางแผนต้ องมีบทบาทในฐานะผู้ กําหนดกลยุ ทธ์ ทีใช้ วิธีการทาง
ตรรกวิทยาในฐานะผู้วิเคราะห์ ระบบอย่ างเป็ นระบบ และในฐานะผู้กระตุ้น
ให้ ผู้บริหารทุกระดับเกิดกระบวนการเรียนรู้
แนวทางการจัดวางทิศทางขององค์ กรสํ าหรับองค์ กรเอกชน


      การจัดวางทิศทางขององค์ กร เป็ นการระบุหรือกําหนดจุดมุ่งหมาย
ปลายทางทีองค์ กรต้ องการก้ าวไปให้ ถึง การจัดวางทิศทางขององค์ กรมี
ความจําเป็ นอย่ างยิงสํ าหรับองค์ กรภาคเอกชนทีต้ องดําเนินธุรกิจภายใต้
ภาวการณ์ แ ข่ ง ขัน ที รุ น แรง หากองค์ ก รไม่ ส ามารถกํา หนดทิ ศ ทางที
ชัดเจนได้ แล้ ว กลยุทธ์ ขององค์ กรทีจะจัดทําขึนก็จะไม่ สามารถผลักดัน
ให้ องค์ กรมีความสามารถในการแข่ งขันทีเพียงพอจะทําให้ ธุรกิจอยู่รอด
ได้ หรือมีความแตกต่ างเมือเทียบกับคู่แข่ งในสายตาของลูกค้ า
วิสัยทัศน์ (Organizational Vision) คืออะไร ?

ภาพหรือตําแหน่ งในการแข่ งขันขององค์ กรในอีก 3-5 ปี ข้ างหน้ า

จินตนาการเกียวกับอนาคตขององค์ กรทีเกิดจากทัศนคติและมุมมอง
ตลอดจนแนวคิดของผู้บริหาร

ความคิดเกียวกับสภาวการณ์ ในอนาคตของสภาวะแวดล้ อมในการดําเนิน
ธุรกิจ
วิสัยทัศน์ (Organizational Vision) คืออะไร ?

ความปรารถนาหรือความทะเยอทะยานสํ าหรับอนาคต

สิ งทีก่ อให้ เกิดแรงบันดาลใจในการดําเนินธุรกิจ
พันธกิจ (Organizational Mission) คืออะไร?

     พันธกิจขององค์ กรจะบ่ งบอกถึง กิจกรรมทีองค์ กรจะต้ องทํา
เพือสนั บสนุ นให้ องค์ กรบรรลุวิสัยทัศน์ ซึ งจะช่ วยสร้ างคุ ณค่ าและ
ความแตกต่ างขององค์ กรจากองค์ กรอืน
ปัจจัยทีต้ องคํานึงถึงในการกําหนดพันธกิจขององค์ กร


องค์ กรกําลังอยู่ในธุรกิจอะไร

องค์ กรจะต้ องเปลียนแปลงพันธกิจเมือไร

องค์ กรจะมีการถ่ ายทอดพันธกิจอย่ างชัดเจนและเป็ นรู ปธรรมได้
อย่ างไร
ความสํ าคัญของการกําหนดพันธกิจขององค์ กรให้ ชัดเจน


เพือให้ สามารถระบุจุดมุ่งหมายภายในองค์ กรได้

เพือช่ วยถ่ ายทอดความคิดของผู้บริหารออกมาเป็ นทิศทางทีชัดเจน

เพือกําหนดหลักเกณฑ์ มาตรฐานในการจัดสรรทรัพยากรขององค์ กร

เพือเป็ นหลักสํ าคัญในการกําหนดวัตถุประสงค์ และเปาหมายขององค์ กร
                                                 ้
เพือความสะดวกในการแปลงความหมายวัตถุประสงค์ ในโครงสร้ างการ
ทํางาน การออกแบบระบบงาน และการกําหนดความรับผิดชอบภายใน
องค์ กร

เพือช่ วยในการตัดสิ นใจและดําเนินการของพนักงานระดับล่ างให้ เป็ นไป
ในทิศทางเดียวกัน
ข้ อควรระวังในการกําหนดพันธกิจ

การกําหนดขอบเขตของพันธกิจทีแคบหรือกว้ างเกินไป

การให้ ความสํ าคัญและการจัดสรรเวลาของผู้บริหารระดับสู งในการ
กําหนดพันธกิจ

ความเข้ าใจผิดทีว่ าเมือมีการกําหนดทิศทางขององค์ กรขึนมาแล้ วจะไม่
สามารถทีจะปรับเปลียนพันธกิจได้
วัตถุประสงค์ คืออะไร ?


       วัตถุประสงค์ คือ การกําหนดพันธกิจของธุรกิจให้ อยู่บนรู ป
ของผลลัพธ์ สําคัญทีต้ องการหรื อเป็ นการกําหนดสิ งทีต้ องการใน
อนาคต ซึ งองค์ กรจะต้ องพยายามทําให้ เกิดขึนหลังจากการกําหนด
วัตถุประสงค์ แล้ วจะช่ วยทําให้ ผ้ ูบริ หารทราบถึงผลทีธุรกิจต้ องการ
จะบรรลุ
วัตถุประสงค์ ทดีต้องมีการจัดแบ่ งออกเป็ น 4 ด้ าน ดังนี
                     ี

วัตถุประสงค์ ด้านการเงิน (Financial Perspective)

วัตถุประสงค์ ด้านลูกค้ า (Customer Perspective)

วัตถุประสงค์ ด้านกระบวนการธุรกิจภายใน (Internal Process
Perspective)

วัตถุประสงค์ ด้านองค์ กรและการเรียนรู้ (Learning and Growth
Perspective)
เป้ าหมาย คืออะไร ?

         เป าหมาย คือ การระบุ วัต ถุ ป ระสงค์ ใ ห้ มี ค วามชั ด เจน
           ้
เฉพาะเจาะจง สามารถวัดได้ เปาหมายจะมีลกษณะทีสามารถวัด
                              ้              ั
ได้ หรื อเขียนไว้ ในรู ปแบบทีระบุ ปริ มาณไว้ อย่ างชั ดเจน มีการ
กําหนดระยะเวลาทีแน่ นอนในการบรรลุถงสิ งทีต้ องการ
                                         ึ
ลักษณะเป้ าหมายทีดี

สามารถบรรลุได้ ไม่ ยากเกินไป
มีความท้ าทาย ไม่ ง่ายเกินไป
สามารถวัดผลได้ ภายในระยะเวลาทีกําหนด
สนับสนุนภารกิจหลักและวัตถุประสงค์ หลัก
พนักงานมีส่วนร่ วมในการกําหนด
มีความยืดหยุ่นต่ อการเปลียนแปลงทีเกิดขึน
ก่ อให้ เกิดแรงจูงใจในกลุ่มพนักงาน
ชัดเจน เข้ าใจง่ าย และเป็ นทีเข้ าใจตรงกัน
การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม
         (SWOT Analysis)
การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT Analysis)


เป็ นเครืองมือในการวิเคราะห์ สถานการณ์ เพือให้ ผู้บริหารรู้ จุดแข็ง
               จุดอ่ อน โอกาส และอุปสรรคขององค์ กร
          ซึงจะช่ วยให้ ทราบว่ าองค์ กรได้ เดินทางมาถูกทิศและ
 ไม่ หลงทาง นอกจากนียังบอกได้ ว่าองค์ กรมีแรงขับไปยังเปาหมาย ้
      ได้ ดีหรือไม่ มันใจได้ อย่ างไรว่ าระบบการทํางานในองค์ กร
      ยังมีประสิ ทธิภาพอยู่ มีจุดอ่ อนทีจะต้ องปรับปรุงอย่ างไร
การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT Analysis)

                  ปัจจัยทีควรนํามาพิจารณา 2 ส่ วน

1. ปัจจัยภายใน (Internal Environment Analysis) ได้ แก่
         1.1 S มาจาก Strengths หมายถึง จุดเด่ นหรือจุดแข็ง ซึงเป็ นผล
มาจากปัจจัยภายใน เป็ นข้ อดีทเกิดจากสภาพแวดล้ อมภายในองค์ กร เช่ น
                             ี
จุดแข็งด้ านส่ วนประสม จุดแข็งด้ านการเงิน จุดแข็งด้ านการผลิต
จุดแข็งด้ านทรัพยากรบุคคล องค์ กรจะต้ องใช้ ประโยชน์ จากจุดแข็ง
ในการกําหนดกลยุทธ์
การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT Analysis)

             ปัจจัยทีควรนํามาพิจารณา 2 ส่ วน


1. ปัจจัยภายใน (Internal Environment Analysis) ได้ แก่
    1.2 W มาจาก Weaknesses หมายถึง จุดด้ อยหรือจุดอ่ อน
ซึงเป็ นผลมาจากปัจจัยภายใน เป็ นปัญหาหรือข้ อบกพร่ องทีเกิด
จากสภาพแวดล้ อมภายในต่ างๆ ขององค์ กร ซึงองค์ กรจะต้ องหา
วิธีในการแก้ ปัญหานัน
การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT Analysis)

                  ปัจจัยทีควรนํามาพิจารณา 2 ส่ วน
2. ปัจจัยภายนอก (External Environment Analysis)
    2.1ได้ แก่ O มาจาก Opportunities หมายถึง โอกาส เป็ นผลจากการ
ทีสภาพแวดล้อมภายนอกขององค์ กรเอือประโยชน์ หรือ ส่ งเสริมการ
ดําเนินงานขององค์ กร โอกาสแตกต่ างจากจุดแข็งตรงทีโอกาสนันเป็ น
ผลมาจากสภาพแวดล้ อมภายนอก แต่ จุดแข็งนันเป็ นผลมาจาก
สภาพแวดล้ อมภายในผู้บริหารทีดีจะต้ องเสาะแสวงหาโอกาสอยู่เสมอ
และใช้ ประโยชน์ จากโอกาสนัน
การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT Analysis)

              ปัจจัยทีควรนํามาพิจารณา 2 ส่ วน


2. ปัจจัยภายนอก (External Environment Analysis)
   2.2 T มาจาก Threats หมายถึง อุปสรรค เป็ นข้ อจํากัดทีเกิดจาก
สภาพแวดล้ อมภายนอก ซึงการบริหารจําเป็ นต้ องปรับกลยุทธ์ ให้
สอดคล้ องและพยายามขจัดอุปสรรค ต่ างๆ ทีเกิดขึนให้ ได้ จริง
ความสํ าคัญการประเมินสภาพแวดล้ อมภายในองค์ กร

การประเมินสภาพแวดล้ อมภายในองค์ กร จะเป็ นการประเมินปัจจัยต่ าง ๆ
ทีอยู่ภายใต้ การควบคุมขององค์ กร เช่ น ทรัพยากรทางการเงิน เครืองจักร
อาคาร สถานที บุคลากร และการดําเนินการต่ าง ๆ ภายในองค์ กร ทุก ๆ ด้ าน
เพือทีจะระบุจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์ กร

ช่ วยให้ เกิดการใช้ ทรัพยากรทีคุ้มค่ า สร้ างความได้ เปรียบในการดําเนิน
กิจกรรม /โครงการ และเป็ นปัจจัยทีสํ าคัญในการสร้ างคุณค่ าให้ เกิดขึนกับ
ลูกค้ า ดังนันผู้บริหารจึงควรให้ ความสํ าคัญกับการพิจารณาปัจจัยและ
ทรัพยากรต่ าง ๆ ขององค์ กร ซึงจะเป็ นข้ อมูลพืนฐานทีสํ าคัญในการ
กําหนดทิศทางและกลยุทธ์ ขององค์ กรทีมีประสิ ทธิภาพ
Model ทีใช้ ในการวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายใน


1. PRIMO-F analysis
2. 4 P
3. Seven-S Framework of McKinsey
4. MMPF
5. ห่ วงโซ่ คุณค่ า (Value Chain)
6. 2 S 4M
Model ทีใช้ ในการวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายใน

                 รู ปแบบ 4 P analysis
รู ปแบบ หรือ Model นีมาจากตัวย่ อของปัจจัย 4 ปัจจัยด้ วยกันคือ
P = People บุคลากร หมายถึงทรัพยากรมนุษย์
    - บุคลากรและทักษะ
    - การพัฒนาบุคลากรเป็ นอย่ างไร
P = Properties ทรัพย์ สิน
    - อาคาร
    - เครืองจักร
    - สิ งอํานวยความสะดวกอืนๆ
Model ทีใช้ ในการวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายใน
                       รู ปแบบ 4 P analysis
P = Processes กระบวนการ
   - การเงินเป็ นอย่ างไร (อัตราส่ วนหนีสิ นต่ อทรัพย์ สิน และอัตราส่ วน
     ทางการเงินต่ างๆ)
   - การปกครอง
   - การบริหารจัดการ และภาวะผู้นํา
   - การติดต่ อสื อสาร
P = Products and Services ผลิตภัณฑ์ และการบริการ
   - ลูกค้ า
   - การขาย
   - ผลิตภัณฑ์
   - การตลาด
ขอบคุณคะ

Contenu connexe

Tendances

การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้Prachyanun Nilsook
 
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.ประพันธ์ เวารัมย์
 
Strategy กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร
Strategy  กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กรStrategy  กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร
Strategy กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กรmaruay songtanin
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016sakarinkhul
 
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyบทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyWatcharin Chongkonsatit
 
New strategic management 2013
New  strategic management 2013New  strategic management 2013
New strategic management 2013DrDanai Thienphut
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการpop Jaturong
 
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)Tum Aditap
 
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่   กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่ DrDanai Thienphut
 

Tendances (18)

การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้
 
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
No1
No1No1
No1
 
Po
PoPo
Po
 
Strategy กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร
Strategy  กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กรStrategy  กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร
Strategy กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร
 
Strategic Management
Strategic ManagementStrategic Management
Strategic Management
 
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
DGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selectionDGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selection
 
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyบทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
 
New strategic management 2013
New  strategic management 2013New  strategic management 2013
New strategic management 2013
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
Strategy Map K
Strategy Map KStrategy Map K
Strategy Map K
 
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
 
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่   กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
 

En vedette

02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ tp universitythammasat university
 
Chapter 4 strategic information system
Chapter 4 strategic information systemChapter 4 strategic information system
Chapter 4 strategic information systemPa'rig Prig
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรSirirat Pongpid
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp universitythammasat university
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 

En vedette (13)

02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ tp university
 
Mi sch5
Mi sch5Mi sch5
Mi sch5
 
Chapter 4 strategic information system
Chapter 4 strategic information systemChapter 4 strategic information system
Chapter 4 strategic information system
 
ch4
ch4ch4
ch4
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์
 
Swot
SwotSwot
Swot
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
 
วิเคราะห์Swotเบื้องต้น
วิเคราะห์Swotเบื้องต้นวิเคราะห์Swotเบื้องต้น
วิเคราะห์Swotเบื้องต้น
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 

Similaire à Strategic management

Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planningKan Yuenyong
 
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนประพันธ์ เวารัมย์
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
strategicmanagement.ppt
strategicmanagement.pptstrategicmanagement.ppt
strategicmanagement.pptthananwut
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
แผนกลยุทธ์ในการบริหารงาน
แผนกลยุทธ์ในการบริหารงานแผนกลยุทธ์ในการบริหารงาน
แผนกลยุทธ์ในการบริหารงานguest7530ba
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงRadanat Chiachai
 
Pre oneness seminar rayong
Pre oneness seminar  rayongPre oneness seminar  rayong
Pre oneness seminar rayongmaruay songtanin
 
รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์ รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์ pthaiwong
 

Similaire à Strategic management (20)

Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
Po
PoPo
Po
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
management style
management stylemanagement style
management style
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Developing Our Strategy In Thai
Developing Our Strategy In ThaiDeveloping Our Strategy In Thai
Developing Our Strategy In Thai
 
strategicmanagement.ppt
strategicmanagement.pptstrategicmanagement.ppt
strategicmanagement.ppt
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
14321
1432114321
14321
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
แผนกลยุทธ์ในการบริหารงาน
แผนกลยุทธ์ในการบริหารงานแผนกลยุทธ์ในการบริหารงาน
แผนกลยุทธ์ในการบริหารงาน
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
Execution premium
Execution premiumExecution premium
Execution premium
 
Sp6 6
Sp6 6Sp6 6
Sp6 6
 
Pre oneness seminar rayong
Pre oneness seminar  rayongPre oneness seminar  rayong
Pre oneness seminar rayong
 
รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์ รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์
 

Plus de Tum Aditap

รายงานการประเมินตนเอง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
รายงานการประเมินตนเอง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)รายงานการประเมินตนเอง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
รายงานการประเมินตนเอง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)Tum Aditap
 
ปฏิทินวิชาการปีกาศึกษา 2558 โรงเรียนชัยนาคำวิทยา
ปฏิทินวิชาการปีกาศึกษา 2558 โรงเรียนชัยนาคำวิทยาปฏิทินวิชาการปีกาศึกษา 2558 โรงเรียนชัยนาคำวิทยา
ปฏิทินวิชาการปีกาศึกษา 2558 โรงเรียนชัยนาคำวิทยาTum Aditap
 
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)Tum Aditap
 
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)Tum Aditap
 
โครงการแก้มลิง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
โครงการแก้มลิง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)โครงการแก้มลิง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
โครงการแก้มลิง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)Tum Aditap
 
วิวัฒนาการ ความเป็นมา แท็บเล็ต โดยนายอดิเทพ ไชยสิทธิ์
วิวัฒนาการ ความเป็นมา แท็บเล็ต โดยนายอดิเทพ ไชยสิทธิ์วิวัฒนาการ ความเป็นมา แท็บเล็ต โดยนายอดิเทพ ไชยสิทธิ์
วิวัฒนาการ ความเป็นมา แท็บเล็ต โดยนายอดิเทพ ไชยสิทธิ์Tum Aditap
 
The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)Tum Aditap
 
The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)Tum Aditap
 

Plus de Tum Aditap (9)

รายงานการประเมินตนเอง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
รายงานการประเมินตนเอง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)รายงานการประเมินตนเอง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
รายงานการประเมินตนเอง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
 
ปฏิทินวิชาการปีกาศึกษา 2558 โรงเรียนชัยนาคำวิทยา
ปฏิทินวิชาการปีกาศึกษา 2558 โรงเรียนชัยนาคำวิทยาปฏิทินวิชาการปีกาศึกษา 2558 โรงเรียนชัยนาคำวิทยา
ปฏิทินวิชาการปีกาศึกษา 2558 โรงเรียนชัยนาคำวิทยา
 
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
 
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
แท็บเล็ตเทคโนโลยีการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน (อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
 
โครงการแก้มลิง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
โครงการแก้มลิง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)โครงการแก้มลิง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
โครงการแก้มลิง(อดิเทพ ไชยสิทธิ์)
 
วิวัฒนาการ ความเป็นมา แท็บเล็ต โดยนายอดิเทพ ไชยสิทธิ์
วิวัฒนาการ ความเป็นมา แท็บเล็ต โดยนายอดิเทพ ไชยสิทธิ์วิวัฒนาการ ความเป็นมา แท็บเล็ต โดยนายอดิเทพ ไชยสิทธิ์
วิวัฒนาการ ความเป็นมา แท็บเล็ต โดยนายอดิเทพ ไชยสิทธิ์
 
Csr
CsrCsr
Csr
 
The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)
 
The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)The balanced scorecard (bsc)
The balanced scorecard (bsc)
 

Strategic management

  • 1. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) Management) นางอมรรัตน์ วงศ์ โสภา เทคโนโลยีการสื อสาร รุ่นที4
  • 2. ทําไมต้ องมีการบริหารเชิงกลยุทธ์ การมีกลยุทธ์ ทําให้ มจุดมุ่งในการไปสู่ เปาหมายทีชัดเจน ี ้ การมีกลยุทธ์ เป็ นการเลือกวิธีการทีดีทสุ ด ในสถานการณ์ ี ทีเหมาะสม การมีกลยุทธ์ ทําให้ เกิดความชัดเจนในภารกิจ และ บทบาทความเกียวข้ องของบุคคลฝ่ ายต่ างๆ การมีกลยุทธ์ ทําให้ มแนวทางทีชัดเจนในการวัดและ ี ประเมินผลสํ าเร็จ
  • 3. คํานิยาม กลยุทธ์ หมายถึง วิธีดําเนินงานทีมันใจได้ ว่าจะนําไปสู่ ความสํ าเร็ จ ตามวัตถุประสงค์ ขององค์ กร การจัดการเชิ งกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการทีต่ อเนืองและมีการ ทบทวนกระบวนการเวี ย นไปมาตลอดเวลา เพื อให้ อ งค์ ก รโดยรวม สามารถดํารงอยู่ในสิ งแวดล้ อมได้ อย่ างเหมาะสม
  • 4. องค์ ประกอบหลักการวางแผนกลยุทธ์ (ขันตอนการบริหารเชิงกลยุทธ์ ) (Strategic Management Steps) ปรับยุทธการ กําหนดทิศทาง การยกร่ าง การวิเคราะห์ กําหนด ดําเนินการ พัฒนาองค์ กร และกําหนด ภาวะแวดล้ อม ยุทธวิธี ด้ านกลไก& ด้ าน ยุทธศาสตร์ ภายนอก (กลวิธี) การกํากับ วิสัยทัศน์ (กลยุทธ์ ) และ การ และ พันธกิจ การ ภายใน ดําเนินงาน ติดตาม วัตถุประสงค์ หลัก พัฒนา การประเมิน FEEDBACK(การปรับองค์ ประกอบหลักของแผนให้ สอดรับกัน) Source;Strategic Management, A focus process: Samuel C. Certo; J. Pall Peter; 1988 การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ธันวาคม/2542
  • 5. กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ -การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายนอก -การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายใน การทบทวนสถานภาพองค์กร 1. การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อม -ภารกิจขององค์ กร การทบทวนภารกิจและ -วัตถุประสงค์ ขององค์ กร วัตถุประสงค์ขององค์กร 2. การจัดวางทิศทางขององค์ กร -กลยุทธ์ ระดับแผนงาน การประเมินผลแผนงาน -กลยุทธ์ ระดับงาน/โครงการ การประเมินผลงาน/โครงการ -กลยุทธ์ ระดับกิจกรรม การประเมินผลกระบวนการ 3. กําหนดกลยุทธ์ -โครงสร้ างขององค์ กร โครงสร้างขององค์กร -วัฒนธรรมองค์ กร วัฒนธรรมองค์กร 4. การปฏิบัตงานตามกลยุทธ์ ิ -การติดตามผลการปฏิบัติงาน การทบทวน -การประเมินผล สถานภาพองค์กร 5. การควบคุมกลยุทธ์
  • 6. ลําดับชันของกลยุทธ์ 3 ระดับ ขององค์ กรธุรกิจ กลยุทธ์ ระดับองค์ กร (Organizational-Level Strategy) กลยุทธ์ ระดับกิจการ (Business-Level Strategy) กลยุทธ์ ระดับหน้ าที (Functional-Level Strategy)
  • 7. ลําดับชันกลยุทธ์ 3 ระดับ ขององค์ กรภาครัฐบาล กลยุทธ์ ระดับนโยบาย (Policy-Level Strategy) กลยุทธ์ ระดับโครงการ (Project Purpose) กลยุทธ์ ระดับกิจกรรม (Activity)
  • 8. ภาคธุรกิจเอกชน ภาครัฐบาล วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาเน้ นการ เปาประสงค์ การพัฒนาเน้ นเชิง ้ แสวงหากําไร และเน้ นตัวชีวัดการทํา เศรษฐกิจสั งคมและการเมือง และทํา กําไรเป็ นหลัก ให้ มีตวชีวัดทีหลากหลาย ั ยึดถือกฎเกณฑ์ และระเบียบปฏิบติั ยึดถือกฎเกณฑ์ และระเบียบปฏิบติ ั ขององค์ กรอย่ างยืดหยุ่น ขององค์ กรอย่ างเคร่ งครัด ไม่ มอทธิพลแทรกแซงทางการเมือง อิทธิพลแทรกแซงทางการเมืองใน ีิ ในการจัดทําแผน การจัดทําแผนมีมาก
  • 9. ข้ อแนะนําในการประยุกต์ ใช้ วธีการจัดการเชิงกลยุทธ์ ิ 1. ข้ อพึงระมัดระวัง 1.1 การทํานายเหตุ การณ์ ทีจะเกิดขึนในอนาคตล่ วงหน้ าระยะยาวอาจมี ข้ อผิดพลาด 1.2 การแยกกระบวนการออกจากกัน เช่ น การแยกกลุ่มผู้จัดทําแผน กลุ่มผู้ วางกลยุทธ์ และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเป็ นคนละกลุ่มกัน หรือไม่ สามารถเชื อมโยง ความคิดระหว่ างกันได้ และการแยกข้ อมูลเชิ งปริ มาณ (Quantitative Data) และข้ อมูลเชิงคุณลักษณะ (Qualitative Data) ออกจากกัน
  • 10. 1.3 การนํ า เอาความรู้ สึก โดยสั ญ ชาตญาณมาใช้ ใ นการกํา หนดกลยุ ท ธ์ มากกว่ าการกําหนดระเบียบวิธีการทีเป็ นรู ปธรรม
  • 11. 2. ข้ อแนะนํา 2.1 วิธีการวางแผนขององค์ กรให้ เน้ นลักษณะของการจําแนกกลยุทธ์ ออกเป็ นแผนงานตามกลยุทธ์ ทกําหนดไว้ แล้ ว ี 2.2 แผนที จั ด ทํ า ขึ นต้ อ งมี ส่ วนประกอบของวิ ธี ก ารสื อสารเพื อการ ประสานงาน และวิธีการควบคุมพฤติกรรมของผู้เกียวข้ องในการปฏิบัติงาน พร้ อมไปกับการประเมินผลกลยุทธ์ ทีวางไว้ ตังแต่ ต้นและปัจจัยทีมีอิทธิพล ต่ อการปรับเปลียนกลยุทธ์
  • 12. 2.3 นั กวางแผนต้ องมีบทบาทในฐานะผู้ กําหนดกลยุ ทธ์ ทีใช้ วิธีการทาง ตรรกวิทยาในฐานะผู้วิเคราะห์ ระบบอย่ างเป็ นระบบ และในฐานะผู้กระตุ้น ให้ ผู้บริหารทุกระดับเกิดกระบวนการเรียนรู้
  • 13. แนวทางการจัดวางทิศทางขององค์ กรสํ าหรับองค์ กรเอกชน การจัดวางทิศทางขององค์ กร เป็ นการระบุหรือกําหนดจุดมุ่งหมาย ปลายทางทีองค์ กรต้ องการก้ าวไปให้ ถึง การจัดวางทิศทางขององค์ กรมี ความจําเป็ นอย่ างยิงสํ าหรับองค์ กรภาคเอกชนทีต้ องดําเนินธุรกิจภายใต้ ภาวการณ์ แ ข่ ง ขัน ที รุ น แรง หากองค์ ก รไม่ ส ามารถกํา หนดทิ ศ ทางที ชัดเจนได้ แล้ ว กลยุทธ์ ขององค์ กรทีจะจัดทําขึนก็จะไม่ สามารถผลักดัน ให้ องค์ กรมีความสามารถในการแข่ งขันทีเพียงพอจะทําให้ ธุรกิจอยู่รอด ได้ หรือมีความแตกต่ างเมือเทียบกับคู่แข่ งในสายตาของลูกค้ า
  • 14. วิสัยทัศน์ (Organizational Vision) คืออะไร ? ภาพหรือตําแหน่ งในการแข่ งขันขององค์ กรในอีก 3-5 ปี ข้ างหน้ า จินตนาการเกียวกับอนาคตขององค์ กรทีเกิดจากทัศนคติและมุมมอง ตลอดจนแนวคิดของผู้บริหาร ความคิดเกียวกับสภาวการณ์ ในอนาคตของสภาวะแวดล้ อมในการดําเนิน ธุรกิจ
  • 15. วิสัยทัศน์ (Organizational Vision) คืออะไร ? ความปรารถนาหรือความทะเยอทะยานสํ าหรับอนาคต สิ งทีก่ อให้ เกิดแรงบันดาลใจในการดําเนินธุรกิจ
  • 16. พันธกิจ (Organizational Mission) คืออะไร? พันธกิจขององค์ กรจะบ่ งบอกถึง กิจกรรมทีองค์ กรจะต้ องทํา เพือสนั บสนุ นให้ องค์ กรบรรลุวิสัยทัศน์ ซึ งจะช่ วยสร้ างคุ ณค่ าและ ความแตกต่ างขององค์ กรจากองค์ กรอืน
  • 17. ปัจจัยทีต้ องคํานึงถึงในการกําหนดพันธกิจขององค์ กร องค์ กรกําลังอยู่ในธุรกิจอะไร องค์ กรจะต้ องเปลียนแปลงพันธกิจเมือไร องค์ กรจะมีการถ่ ายทอดพันธกิจอย่ างชัดเจนและเป็ นรู ปธรรมได้ อย่ างไร
  • 18. ความสํ าคัญของการกําหนดพันธกิจขององค์ กรให้ ชัดเจน เพือให้ สามารถระบุจุดมุ่งหมายภายในองค์ กรได้ เพือช่ วยถ่ ายทอดความคิดของผู้บริหารออกมาเป็ นทิศทางทีชัดเจน เพือกําหนดหลักเกณฑ์ มาตรฐานในการจัดสรรทรัพยากรขององค์ กร เพือเป็ นหลักสํ าคัญในการกําหนดวัตถุประสงค์ และเปาหมายขององค์ กร ้
  • 19. เพือความสะดวกในการแปลงความหมายวัตถุประสงค์ ในโครงสร้ างการ ทํางาน การออกแบบระบบงาน และการกําหนดความรับผิดชอบภายใน องค์ กร เพือช่ วยในการตัดสิ นใจและดําเนินการของพนักงานระดับล่ างให้ เป็ นไป ในทิศทางเดียวกัน
  • 20. ข้ อควรระวังในการกําหนดพันธกิจ การกําหนดขอบเขตของพันธกิจทีแคบหรือกว้ างเกินไป การให้ ความสํ าคัญและการจัดสรรเวลาของผู้บริหารระดับสู งในการ กําหนดพันธกิจ ความเข้ าใจผิดทีว่ าเมือมีการกําหนดทิศทางขององค์ กรขึนมาแล้ วจะไม่ สามารถทีจะปรับเปลียนพันธกิจได้
  • 21. วัตถุประสงค์ คืออะไร ? วัตถุประสงค์ คือ การกําหนดพันธกิจของธุรกิจให้ อยู่บนรู ป ของผลลัพธ์ สําคัญทีต้ องการหรื อเป็ นการกําหนดสิ งทีต้ องการใน อนาคต ซึ งองค์ กรจะต้ องพยายามทําให้ เกิดขึนหลังจากการกําหนด วัตถุประสงค์ แล้ วจะช่ วยทําให้ ผ้ ูบริ หารทราบถึงผลทีธุรกิจต้ องการ จะบรรลุ
  • 22. วัตถุประสงค์ ทดีต้องมีการจัดแบ่ งออกเป็ น 4 ด้ าน ดังนี ี วัตถุประสงค์ ด้านการเงิน (Financial Perspective) วัตถุประสงค์ ด้านลูกค้ า (Customer Perspective) วัตถุประสงค์ ด้านกระบวนการธุรกิจภายใน (Internal Process Perspective) วัตถุประสงค์ ด้านองค์ กรและการเรียนรู้ (Learning and Growth Perspective)
  • 23. เป้ าหมาย คืออะไร ? เป าหมาย คือ การระบุ วัต ถุ ป ระสงค์ ใ ห้ มี ค วามชั ด เจน ้ เฉพาะเจาะจง สามารถวัดได้ เปาหมายจะมีลกษณะทีสามารถวัด ้ ั ได้ หรื อเขียนไว้ ในรู ปแบบทีระบุ ปริ มาณไว้ อย่ างชั ดเจน มีการ กําหนดระยะเวลาทีแน่ นอนในการบรรลุถงสิ งทีต้ องการ ึ
  • 24. ลักษณะเป้ าหมายทีดี สามารถบรรลุได้ ไม่ ยากเกินไป มีความท้ าทาย ไม่ ง่ายเกินไป สามารถวัดผลได้ ภายในระยะเวลาทีกําหนด สนับสนุนภารกิจหลักและวัตถุประสงค์ หลัก พนักงานมีส่วนร่ วมในการกําหนด มีความยืดหยุ่นต่ อการเปลียนแปลงทีเกิดขึน ก่ อให้ เกิดแรงจูงใจในกลุ่มพนักงาน ชัดเจน เข้ าใจง่ าย และเป็ นทีเข้ าใจตรงกัน
  • 26. การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT Analysis) เป็ นเครืองมือในการวิเคราะห์ สถานการณ์ เพือให้ ผู้บริหารรู้ จุดแข็ง จุดอ่ อน โอกาส และอุปสรรคขององค์ กร ซึงจะช่ วยให้ ทราบว่ าองค์ กรได้ เดินทางมาถูกทิศและ ไม่ หลงทาง นอกจากนียังบอกได้ ว่าองค์ กรมีแรงขับไปยังเปาหมาย ้ ได้ ดีหรือไม่ มันใจได้ อย่ างไรว่ าระบบการทํางานในองค์ กร ยังมีประสิ ทธิภาพอยู่ มีจุดอ่ อนทีจะต้ องปรับปรุงอย่ างไร
  • 27. การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT Analysis) ปัจจัยทีควรนํามาพิจารณา 2 ส่ วน 1. ปัจจัยภายใน (Internal Environment Analysis) ได้ แก่ 1.1 S มาจาก Strengths หมายถึง จุดเด่ นหรือจุดแข็ง ซึงเป็ นผล มาจากปัจจัยภายใน เป็ นข้ อดีทเกิดจากสภาพแวดล้ อมภายในองค์ กร เช่ น ี จุดแข็งด้ านส่ วนประสม จุดแข็งด้ านการเงิน จุดแข็งด้ านการผลิต จุดแข็งด้ านทรัพยากรบุคคล องค์ กรจะต้ องใช้ ประโยชน์ จากจุดแข็ง ในการกําหนดกลยุทธ์
  • 28. การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT Analysis) ปัจจัยทีควรนํามาพิจารณา 2 ส่ วน 1. ปัจจัยภายใน (Internal Environment Analysis) ได้ แก่ 1.2 W มาจาก Weaknesses หมายถึง จุดด้ อยหรือจุดอ่ อน ซึงเป็ นผลมาจากปัจจัยภายใน เป็ นปัญหาหรือข้ อบกพร่ องทีเกิด จากสภาพแวดล้ อมภายในต่ างๆ ขององค์ กร ซึงองค์ กรจะต้ องหา วิธีในการแก้ ปัญหานัน
  • 29. การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT Analysis) ปัจจัยทีควรนํามาพิจารณา 2 ส่ วน 2. ปัจจัยภายนอก (External Environment Analysis) 2.1ได้ แก่ O มาจาก Opportunities หมายถึง โอกาส เป็ นผลจากการ ทีสภาพแวดล้อมภายนอกขององค์ กรเอือประโยชน์ หรือ ส่ งเสริมการ ดําเนินงานขององค์ กร โอกาสแตกต่ างจากจุดแข็งตรงทีโอกาสนันเป็ น ผลมาจากสภาพแวดล้ อมภายนอก แต่ จุดแข็งนันเป็ นผลมาจาก สภาพแวดล้ อมภายในผู้บริหารทีดีจะต้ องเสาะแสวงหาโอกาสอยู่เสมอ และใช้ ประโยชน์ จากโอกาสนัน
  • 30. การวิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT Analysis) ปัจจัยทีควรนํามาพิจารณา 2 ส่ วน 2. ปัจจัยภายนอก (External Environment Analysis) 2.2 T มาจาก Threats หมายถึง อุปสรรค เป็ นข้ อจํากัดทีเกิดจาก สภาพแวดล้ อมภายนอก ซึงการบริหารจําเป็ นต้ องปรับกลยุทธ์ ให้ สอดคล้ องและพยายามขจัดอุปสรรค ต่ างๆ ทีเกิดขึนให้ ได้ จริง
  • 31. ความสํ าคัญการประเมินสภาพแวดล้ อมภายในองค์ กร การประเมินสภาพแวดล้ อมภายในองค์ กร จะเป็ นการประเมินปัจจัยต่ าง ๆ ทีอยู่ภายใต้ การควบคุมขององค์ กร เช่ น ทรัพยากรทางการเงิน เครืองจักร อาคาร สถานที บุคลากร และการดําเนินการต่ าง ๆ ภายในองค์ กร ทุก ๆ ด้ าน เพือทีจะระบุจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์ กร ช่ วยให้ เกิดการใช้ ทรัพยากรทีคุ้มค่ า สร้ างความได้ เปรียบในการดําเนิน กิจกรรม /โครงการ และเป็ นปัจจัยทีสํ าคัญในการสร้ างคุณค่ าให้ เกิดขึนกับ ลูกค้ า ดังนันผู้บริหารจึงควรให้ ความสํ าคัญกับการพิจารณาปัจจัยและ ทรัพยากรต่ าง ๆ ขององค์ กร ซึงจะเป็ นข้ อมูลพืนฐานทีสํ าคัญในการ กําหนดทิศทางและกลยุทธ์ ขององค์ กรทีมีประสิ ทธิภาพ
  • 32. Model ทีใช้ ในการวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายใน 1. PRIMO-F analysis 2. 4 P 3. Seven-S Framework of McKinsey 4. MMPF 5. ห่ วงโซ่ คุณค่ า (Value Chain) 6. 2 S 4M
  • 33. Model ทีใช้ ในการวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายใน รู ปแบบ 4 P analysis รู ปแบบ หรือ Model นีมาจากตัวย่ อของปัจจัย 4 ปัจจัยด้ วยกันคือ P = People บุคลากร หมายถึงทรัพยากรมนุษย์ - บุคลากรและทักษะ - การพัฒนาบุคลากรเป็ นอย่ างไร P = Properties ทรัพย์ สิน - อาคาร - เครืองจักร - สิ งอํานวยความสะดวกอืนๆ
  • 34. Model ทีใช้ ในการวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายใน รู ปแบบ 4 P analysis P = Processes กระบวนการ - การเงินเป็ นอย่ างไร (อัตราส่ วนหนีสิ นต่ อทรัพย์ สิน และอัตราส่ วน ทางการเงินต่ างๆ) - การปกครอง - การบริหารจัดการ และภาวะผู้นํา - การติดต่ อสื อสาร P = Products and Services ผลิตภัณฑ์ และการบริการ - ลูกค้ า - การขาย - ผลิตภัณฑ์ - การตลาด