SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  63
Télécharger pour lire hors ligne
รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน ว30101
                       ครูทวีศักดิ์ ภู่ชัย




Powerpoint Templates
                                             Page 1
คําถามกอนเรียน

1.คลืื่นคืืออะไร ?
              ไ
2.คลนมกชนด อะไรบาง
2 คลื่นมีกี่ชนิด อะไรบาง ?
3.สวนประกอบของคลื่นมีอะไรบาง ?
4.สมบัติของคลื่นมีอะไรบาง ?




                 Powerpoint Templates
                                        Page 2
คลื่น คือ อะไร???

       คลื่น คือ การรบกวนระบบใดๆในธรรมชาติ ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงไป
จากสภาวะสมดล ณ บริ เ วณใดบริ เ วณหนึ่ ง ในระบบ ซึ่ ง การเปลี่ ย นแปลงนั้ น
               ุ
สามารถแพรขยายไปยังสวนอื่นๆของระบบนี้

         เชน การใชมือจุมน้ําในขัน ในตุม ในสระ ในแมน้ําลําคลอง หรือขวาง
วัตถุลงไปในน้ํา เราจะมองเห็นผิวน้ํากระเพื่อม แลวแผเปนวงกลมออกไปโดยรอบ
ซึ่งลักษณะนี้วา คลื่นน้ําเกิดขึ้นบนผิวน้ํา




                         Powerpoint Templates
                                                                       Page 3
คลื่นมีกี่ชนิด???

ในการจําแนกคลื่นเราสารถจําแนกได้หลายวิธี เช่น
                                   ไ ้
     1. จําแนกคลื่นตามความจําเป็นของการใช้ตัวกลางในการแผ่ โดยแบ่งได้ 2 ชนิดคือ
           1.1 คลื่นกล (Mechanical Wave) เป็นคลื่นที่จําเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการ
แผ่ คลื่นประเภทนี้ได้แก่ คลื่นน้ํา คลื่นน้ําในเส้นเชือก คลื่นเสียง
           1.2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) เป็นคลื่นที่เกิดจากการ
เหนยวนาใหเกดการเปลยนแปลงของสนามแมเหลกและสนามไฟฟาในทศทางตงฉากซง
เหนี่ยวนําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าในทิศทางตั้งฉากซึ่ง
กันและกัน เช่น คลื่นวิทยุ เรดาร์ ไมโครเวฟ แสง รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอ็กซ์



                             Powerpoint Templates
                                                                         Page 4
คลื่นมีกี่ชนิด(ตอ)

      2. จําแนกคลื่นตามลักษณะของการสั่นของแหล่งกําเนิดหรือตามลักษณะการแผ่ การ
จาแนกประเภทน แบ่งคลื่นออกได้ ชนด
จําแนกประเภทนี้ แบงคลนออกได 2 ชนิด
           2.1 คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) เป็นคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลาง
หรอทศทาง ตงฉากกบทศทางการแผ (ทศทางการเคลอนทของคลน) เชน คลนในเสนเชอก
หรือทิศทาง ตั้งฉากกับทิศทางการแผ่ (ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น) เช่น คลื่นในเส้นเชือก
คลื่นน้ํา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นตามขวางอาจมีทั้งคลื่นกลและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็ได้
           2.2 คลืื่นตามยาว (Longitudinal Wave ) เป็็นคลืื่นทีี่มีทิศทางการสัั่นของ
ตัวกลางอยู่ในแนวขนานกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัดและ
การขยายตัวในขดลวดสปริง และคลื่นตามยาวทุกชนิดจะเป็นคลื่นกลทั้งสิ้น

                               Powerpoint Templates
                                                                            Page 5
คลื่นมีกี่ชนิด (ตอ)

     3. จําแนกตามความต่อเนื่องของแหล่งกําเนิดแบ่งออกได้ 2 ชนิด
              3.1 คลนดล
              3 1 คลื่นดล (Pulse Wave) เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกําเนิดสั่น หรือรบกวน
                                          เปนคลนทเกดจากแหลงกาเนดสน หรอรบกวน
ตัวกลางเป็นช่วงเวลาสั่นๆ แผ่ออกไปจํานวนน้อยๆ เพียง 1 หรือ 2 คลื่น เช่นการนิ้ว
จุ่มที่ผิวนํ้ําเพีียงครั้งหรืือ 2 ครัั้ง
       ี                 ั
              3.2 คลื่นต่อเนื่อง (Continuous Wave) เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกําเนิดสั่น
หรือรบกวนตัวกลางอย่างต่อเนื่อง ทําให้เกิดคลื่นแผ่ออกไปเป็นขบวนอย่างต่อเนื่อง
เช่นการเกิดคลื่นผิวน้ําเนื่องจากแหล่งกําเนิดติดกับมอเตอร์ หรือการสะบัดเชือกอย่าง
ต่อเนื่องแล้วแผ่เป็นวงกลมออกไปโดยรอบซึ่งลักษณะนี้ว่า คลื่นน้ําเกิดขึ้นบนผิวน้ํา

                                Powerpoint Templates
                                                                                 Page 6
สวนประกอบคลื่น




            Powerpoint Templates
                                   Page 7
อัตราเร็วคลื่น




                 Powerpoint Templates
                                        Page 8
อัตราเร็วคลื่น




http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/waves/equation/velocity.html

                                 Powerpoint Templates
                                                                   Page 9
อุปกรณเพื่อการศึกษาคลื่น


ถาดคลื่น (Ripple tank) มีส่วนประกอบที่สาคัญ ได้แก่
         ( pp        )                 ํ
      – ตัวถาดคลืน่
      – ตัวกําเนิดคลืน
                     ่
      – โ ไฟ
        โคมไฟ




                                 Powerpoint Templates
                                                        Page 10
อุปกรณเพื่อการศึกษาคลื่น (ตอ)




                                  • ส่วนประกอบที่สาคัญของถาดคลื่น
                                                   ํ
                                     – จุดกึ่งกลางของแถบมืดแทนตําแหน่งของ
                                        ทองคลน
                                        ท้องคลืน
                                               ่
                                     – จุดกึ่งกลางของแถบสว่างแทนตําแหน่ง
                                        ของสันคลืน
                                                 ่



                         Powerpoint Templates
                                                                   Page 11
หนาคลื่น

หน้าคลื่น (Wave front) เป็นแนวทางเดินของตําแหน่งบนคลืนทีมีเฟสเท่ากัน
                                                     ่ ่




              หน้าคลืนตรง
                     ่                          หน้าคลื่นวงกลม
                            Powerpoint Templates
                                                                       Page 12
หนาคลื่น (ตอ)
• ลักษณะของหน้าคลืน        ่
   – คลืนหน้้าตรงทิิศทางคลืนขนานกััน
        ื่                      ื่
   – คลืนหน้าโค้งวงกลมทิศทางคลืนเป็นแนวรัศมีของวงกลม
           ่                            ่
   – ทิศทางคลืนจะตั้งฉากกับหน้าคลื่นเสมอ
                 ่
   – หน้้าคลืื่นทีี่ติดกันจะห่างกัันเท่ากับความยาวคลืื่น
                         ั                ั




                          Powerpoint Templates
                                                           Page 13
การซอนทับกันของคลื่น

• การซ้อนทับหรือการรวมกันของคลื่น
   – การรวมกันแบบเสริม (Constructive Superposition)
      • การกระจัดของคลื่นอยูในทิศเดียวกัน
                            ่




                          Powerpoint Templates
                                                  Page 14
การซอนทับกันแบบเสริม




                    Powerpoint Templates
                                           Page 15
การซอนทับกันของคลื่น (ตอ)

• การซ้อนทับหรือการรวมกันของคลื่น
   – การรวมกันแบบหักล้าง (Destructive Superposition)
      • การกระจัดของคลื่นอยูในทิศตรงข้ามกัน
                            ่




                        Powerpoint Templates
                                                   Page 16
การซอนทับกันแบบหักลาง




                    Powerpoint Templates
                                           Page 17
คําถาม
     (10 นาทีี)

คําชี้แจง: หลังจากนักเรียนศึกษาวิดีโอเรื่องการเคลื่อนที่ของคลื่นกล ให้
นกเรยนตอบคาถามตอไปน
นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้
    1. คลื่นตามขวางมีลักษณะอย่างไร
    2. คลื่นสะท้อนปลายอิสระจะมีเฟสเหมือนหรือต่างไปจากเดิม อย่างไร
Hint: เฟส (phase) ในทางฟิสิกส์ คือ ปริมาณที่ใช้บอกตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งใน
                     ในทางฟสกส คอ ปรมาณทใชบอกตาแหนงใดตาแหนงหนงใน
ระหว่างการเปลี่ยนแปลงของคลื่น
    3.
    3 การรวมกนไดของคลน (S
             ั ไ ้   ื่ (Superposition) เปนอยางไร
                                 iti ) ป็ ่ ไ

                            Powerpoint Templates
                                                                       Page 18
คําถาม
     (10 นาทีี)

คําชี้แจง: หลังจากนักเรียนศึกษาวิดีโอเรื่องการเคลื่อนที่ของคลื่นกล ให้
นกเรยนตอบคาถามตอไปน
นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้
    1. คลื่นตามขวางมีลักษณะอย่างไร
    2. คลื่นสะท้อนปลายอิสระจะมีเฟสเหมือนหรือต่างไปจากเดิม อย่างไร
Hint: เฟส (phase) ในทางฟิสิกส์ คือ ปริมาณที่ใช้บอกตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งใน
                     ในทางฟสกส คอ ปรมาณทใชบอกตาแหนงใดตาแหนงหนงใน
ระหว่างการเปลี่ยนแปลงของคลื่น
    3.
    3 การรวมกนไดของคลน (S
             ั ไ ้   ื่ (Superposition) เปนอยางไร
                                 iti ) ป็ ่ ไ

                            Powerpoint Templates
                                                                       Page 19
Powerpoint Templates
                       Page 20
สมบัติของคลื่น
• จะเรียกสิงใดว่าคลื่น ต้องมีสมบัติ 4 ประการ
           ่
   – การสะท้อน(Reflection)
   – การหักเห(R f ti )
     การหกเห(Refraction)
   – การแทรกสอด(Interference)
   – การเลียวเบน(Diffraction)
             ้




                       Powerpoint Templates
                                               Page 21
การสะทอนของคลืน
                ่

การสะท้้อนของคลืื่น (W reflection) เกิิดเมืื่อคลืื่น
                     (Wave fl ti )
เคลอนทไปกระทบสงกดขวาง
เคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวาง




                   Powerpoint Templates
                                                   Page 22
การสะทอนของคลืน
                    ่
การสะท้อนของคลืนในเส้นเชือก
               ่
     • การสะท้อนของคลืนในเส้นเชือกเมื่อจดสะท้อนเป็นจดตรึงแน่น
        การสะทอนของคลนในเสนเชอกเมอจุดสะทอนเปนจุดตรงแนน
                         ่
         – เฟสเปลี่ยน 180 องศา(เฟสตรงข้ามกัน)
     • การสะท้อนของคลืนในเส้นเชือกเมื่อจุดสะท้อนอิสระ
                           ่
         – เฟสไม่เปลี่ยน (เฟสตรงกัน)
           เฟสไมเปลยน (เฟสตรงกน)




                           Powerpoint Templates
                                                                Page 23
การสะทอนของคลืน
                    ่
การสะท้อนของคลืนในเส้นเชือก
               ่




                              Powerpoint Templates
                                                     Page 24
การสะทอนของคลืน
                    ่
การสะท้อนของคลืนน้ํา เฟสของคลื่นสะท้อนจะไม่เปลี่ยน
               ่




                             Powerpoint Templates
                                                     Page 25
การสะทอนของคลืน
                    ่

การสะท้้อนของคลืนนํ้ํา มุมตกกระทบเท่ากบมุมสะท้อน (  )
                ื่                  ่ ั       ้




                            Powerpoint Templates
                                                             Page 26
การสะทอนของคลืน
                    ่
การสะท้อนของคลืนน้ําวงกลมสะท้อนผิวเรียบตรง
               ่




                           Powerpoint Templates
                                                  Page 27
การสะทอนของคลืน
                    ่
การสะท้อนของคลืนน้ําหน้าตรงสะท้อนผิวโค้งพาราโบลา
               ่




                           Powerpoint Templates
                                                   Page 28
การสะทอนของคลืน
               ่




             Powerpoint Templates
                                    Page 29
Powerpoint Templates
                       Page 30
ความถี่ คือ จํานวนลูกคลื่น (หรือตัวกลางสันครบ 1 รอบ) ที่เคลื่อนทีไดใน 1 วินาที
                                          ่                      ่
คาบเวลา คือ เวลาที่คลืนเคลื่อนที่ (หรือตัวกลางสันครบ 1 รอบ) ครบ 1 รอบ
                      ่                         ่
                              Powerpoint Templates
                                                                                  Page 31
ขนท วาดรูป
ขันที่ 1 วาดรป
  ้




                 Powerpoint Templates
                                        Page 32
ขันที่ 2 โจทยบอก
  ้




ขันที่ 3 สมการ/การวิเคราะห
  ้




                              Powerpoint Templates
                                                     Page 33
ขันที่ 4 แทนคา
  ้




                  Powerpoint Templates
                                         Page 34
คําถาม                                                  20




ความถี่ คือ จํานวนลูกคลื่น (หรือตัวกลางสันครบ 1 รอบ) ที่เคลื่อนทีไดใน 1 วินาที
                                          ่                      ่
คาบเวลา คือ เวลาที่คลืนเคลื่อนที่ (หรือตัวกลางสันครบ 1 รอบ) ครบ 1 รอบ
                      ่                         ่
                              Powerpoint Templates
                                                                                  Page 35
การหักเหของคลืน
              ่




              Powerpoint Templates
                                     Page 36
การหักเหของคลืน
                 ่

การหัักเหของคลืน (wave refraction) เกิดเมืื่อคลืื่น
               ่ื
  เคลือนทีผ่านตวกลางต่่างชนิดกน
      ื่ ี่       ั         ิ ั




                    Powerpoint Templates
                                                  Page 37
การหักเหของคลืน
                  ่

     คลืื่นเคลืื่อนทีี่ผ่านตวกลางตางชนิิดกนพบวา อตราเรว ของคลื่นและความยาว
                            ั     ่       ั   ่ ั     ็      ื
คลืนเปลี่ยนแปลง แต่ ความถี่คงเดิม
   ่




                            Powerpoint Templates
                                                                       Page 38
การหักเหของคลืน
              ่

คลืนเคลือนทีผ่านตวกลางตางชนิิดกนทิิศทางของคลืนตงฉากกบรอยตอ
   ื่ ื่ ี่      ั     ่       ั             ่ื ั้  ั    ่




                    Powerpoint Templates
                                                             Page 39
การหักเหของคลืน
               ่

  คลืนเคลือนทีผ่านตวกลางตางชนิิดกน
     ื่ ื่ ี่      ั     ่       ั




ทิิศทางของคลืนตัั้งฉากกัับรอยต่อ
             ื่                      ทิิศทางของคลืนไ ตั้งฉากกัับรอยต่อ
                                                  ื่ ไม่
                          Powerpoint Templates
                                                                         Page 40
การหักเหของคลืน
                 ่
    “กฎของสเนลล” Snell’s law




พจารณาการหกเหของคลนนาทรอยตอของนาลกกบนาตน
พิจารณาการหักเหของคลื่นน้ําที่รอยตอของน้าลึกกับน้าตื้น
                                         ํ        ํ
                           Powerpoint Templates
                                                          Page 41
การหักเหของคลืน
                       ่
     • ลักษณะการหักเหของคลืน
                           ่
          – จากบริเวณน้้ําตื้นไปสูน้ําลึก
                                  ่




คลื่นเคลือนที่จากน้ําตื้น(v น้อย , น้อย) สู่น้ําลึก (v มาก , มาก) ทิศทางคลื่นหักเหจะเบนออกจากเส้นแนวฉาก
         ่
                                       Powerpoint Templates
                                                                                              Page 42
การหักเหของคลืน
                       ่
     • ลักษณะการหักเหของคลืน
                           ่                                                       พระเจ้า จ๊อด มัน
                                                                                      ยอดมาก
          – จากบริเวณน้้ําลึกไปสูน้ําตื้น
                                 ่




คลื่นเคลือนที่จากน้ําลึก(v มาก ,มาก) สู่น้ําตื้น (v น้อย ,น้อย) ทิศทางคลื่นหักเหจะเบนเข้าหาเส้นแนวฉาก
         ่
                                      Powerpoint Templates
                                                                                              Page 43
การหักเหของคลืน
              ่




              Powerpoint Templates
                                     Page 44
การหักเหของคลืน
              ่




              Powerpoint Templates
                                     Page 45
การหักเหของคลืน
              ่




              Powerpoint Templates
                                     Page 46
การหักเหของคลืน
              ่




              Powerpoint Templates
                                     Page 47
การหักเหของคลืน
              ่




              Powerpoint Templates
                                     Page 48
การหักเหของคลืน
                ่
• มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมด
   –   เมื่อคลื่นผิวน้ําเคลื่อนทีจากบริเวณ
                                 ่           น้้ําตื้นเข้าสู่บริเวณน้้ําลึก
   – มุมตกกระทบที่ทาให้เกิดมุมหักเหมีค่าเท่ากับ 90 เรียกว่า มุมวิกฤต
                   ํ
   – มุมตกกระทบโตมากกว่ามุมวิกฤต จะเกิดการสะท้อนขึ้นที่รอยต่อของตัวกลางทั้งสอง เรียกปรากฏการณ์นี้
     ว่า การสะท้อนกลับหมด




                                                                          การสะท้อนกลับหมด

                                     “มุมวิกฤต” ( Critical Angle ; c )
                                      Powerpoint Templates
                                                                                             Page 49
การแทรกสอดของคลืน
การแทรกสอดของคลน่




             Powerpoint Templates
                                    Page 50
การแทรกสอดของคลน
  การแทรกสอดของคลืน
                  ่

การแทรกสอดของคลืน (wave interference) เกิดเมืื่อ
                   ื่
  คลืนสองขบวนเคลืื่อนทีี่มาพบกน
     ื่                       ั




                  Powerpoint Templates
                                            Page 51
การแทรกสอดของคลน
การแทรกสอดของคลืน
                ่




             Powerpoint Templates
                                    Page 52
การรวมตัวกันของคลื่นแบบเสริม




                      Powerpoint Templates
                                             Page 53
การรวมตัวกันของคลื่นแบบเสริม




                      Powerpoint Templates
                                             Page 54
การรวมตัวกันของคลื่นแบบหักลาง




                    Powerpoint Templates
                                           Page 55
การรวมตัวกันของคลื่นแบบหักลาง




                      Powerpoint Templates
                                             Page 56
การเลยวเบนของคลน
การเลี้ยวเบนของคลืน
                  ่




               Powerpoint Templates
                                      Page 57
การเลยวเบนของคลน
   การเลี้ยวเบนของคลืน
                     ่

การเลีี้ยวเบนของคลืน (wave diffraction) เกิดเมืื่อ
                   ื่
  คลืนเคลือนทีผ่านสิิ่งกดขวาง
     ื่ ื่ ี่           ั




                    Powerpoint Templates
                                                 Page 58
การเลยวเบนของคลน
การเลี้ยวเบนของคลืน
                  ่




               Powerpoint Templates
                                      Page 59
การเลยวเบนของคลน
การเลี้ยวเบนของคลืน
                  ่




               Powerpoint Templates
                                      Page 60
การเลยวเบนของคลน
การเลี้ยวเบนของคลืน
                  ่




               Powerpoint Templates
                                      Page 61
การเลยวเบนของคลน
การเลี้ยวเบนของคลืน
                  ่




               Powerpoint Templates
                                      Page 62
Powerpoint Templates
                       Page 63

Contenu connexe

Tendances

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)Physics Lek
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)wiriya kosit
 

Tendances (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 

En vedette

03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงkrukhunnaphat
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)Physics Lek
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruauiwiriya kosit
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ
การเคลื่อนที่ใน  1 มิติการเคลื่อนที่ใน  1 มิติ
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติTaweesak Poochai
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงThepsatri Rajabhat University
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพTaweesak Poochai
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระwebsite22556
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นChakkrawut Mueangkhon
 

En vedette (20)

03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
WAVEs
WAVEsWAVEs
WAVEs
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
 
01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ
การเคลื่อนที่ใน  1 มิติการเคลื่อนที่ใน  1 มิติ
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ
 
Sci31101 rain
Sci31101 rainSci31101 rain
Sci31101 rain
 
1D-motion
1D-motion1D-motion
1D-motion
 
Basics phys intro
Basics phys introBasics phys intro
Basics phys intro
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
Sci31101 moment
Sci31101 momentSci31101 moment
Sci31101 moment
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 

Similaire à คลื่น

ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอwattumplavittayacom
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 

Similaire à คลื่น (7)

ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 

Plus de Taweesak Poochai

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63Taweesak Poochai
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกTaweesak Poochai
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑Taweesak Poochai
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายTaweesak Poochai
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีTaweesak Poochai
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์Taweesak Poochai
 

Plus de Taweesak Poochai (20)

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
 
nano safety short
nano safety shortnano safety short
nano safety short
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
 
Sound
SoundSound
Sound
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
Nuclear
NuclearNuclear
Nuclear
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
JfePresent
JfePresentJfePresent
JfePresent
 
JFEs
JFEsJFEs
JFEs
 
GYI3rpt1
GYI3rpt1GYI3rpt1
GYI3rpt1
 
Sunny ars report
Sunny ars reportSunny ars report
Sunny ars report
 

คลื่น

  • 1. รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน ว30101 ครูทวีศักดิ์ ภู่ชัย Powerpoint Templates Page 1
  • 2. คําถามกอนเรียน 1.คลืื่นคืืออะไร ? ไ 2.คลนมกชนด อะไรบาง 2 คลื่นมีกี่ชนิด อะไรบาง ? 3.สวนประกอบของคลื่นมีอะไรบาง ? 4.สมบัติของคลื่นมีอะไรบาง ? Powerpoint Templates Page 2
  • 3. คลื่น คือ อะไร??? คลื่น คือ การรบกวนระบบใดๆในธรรมชาติ ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงไป จากสภาวะสมดล ณ บริ เ วณใดบริ เ วณหนึ่ ง ในระบบ ซึ่ ง การเปลี่ ย นแปลงนั้ น ุ สามารถแพรขยายไปยังสวนอื่นๆของระบบนี้ เชน การใชมือจุมน้ําในขัน ในตุม ในสระ ในแมน้ําลําคลอง หรือขวาง วัตถุลงไปในน้ํา เราจะมองเห็นผิวน้ํากระเพื่อม แลวแผเปนวงกลมออกไปโดยรอบ ซึ่งลักษณะนี้วา คลื่นน้ําเกิดขึ้นบนผิวน้ํา Powerpoint Templates Page 3
  • 4. คลื่นมีกี่ชนิด??? ในการจําแนกคลื่นเราสารถจําแนกได้หลายวิธี เช่น ไ ้ 1. จําแนกคลื่นตามความจําเป็นของการใช้ตัวกลางในการแผ่ โดยแบ่งได้ 2 ชนิดคือ 1.1 คลื่นกล (Mechanical Wave) เป็นคลื่นที่จําเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการ แผ่ คลื่นประเภทนี้ได้แก่ คลื่นน้ํา คลื่นน้ําในเส้นเชือก คลื่นเสียง 1.2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) เป็นคลื่นที่เกิดจากการ เหนยวนาใหเกดการเปลยนแปลงของสนามแมเหลกและสนามไฟฟาในทศทางตงฉากซง เหนี่ยวนําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าในทิศทางตั้งฉากซึ่ง กันและกัน เช่น คลื่นวิทยุ เรดาร์ ไมโครเวฟ แสง รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอ็กซ์ Powerpoint Templates Page 4
  • 5. คลื่นมีกี่ชนิด(ตอ) 2. จําแนกคลื่นตามลักษณะของการสั่นของแหล่งกําเนิดหรือตามลักษณะการแผ่ การ จาแนกประเภทน แบ่งคลื่นออกได้ ชนด จําแนกประเภทนี้ แบงคลนออกได 2 ชนิด 2.1 คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) เป็นคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลาง หรอทศทาง ตงฉากกบทศทางการแผ (ทศทางการเคลอนทของคลน) เชน คลนในเสนเชอก หรือทิศทาง ตั้งฉากกับทิศทางการแผ่ (ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น) เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นน้ํา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นตามขวางอาจมีทั้งคลื่นกลและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็ได้ 2.2 คลืื่นตามยาว (Longitudinal Wave ) เป็็นคลืื่นทีี่มีทิศทางการสัั่นของ ตัวกลางอยู่ในแนวขนานกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัดและ การขยายตัวในขดลวดสปริง และคลื่นตามยาวทุกชนิดจะเป็นคลื่นกลทั้งสิ้น Powerpoint Templates Page 5
  • 6. คลื่นมีกี่ชนิด (ตอ) 3. จําแนกตามความต่อเนื่องของแหล่งกําเนิดแบ่งออกได้ 2 ชนิด 3.1 คลนดล 3 1 คลื่นดล (Pulse Wave) เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกําเนิดสั่น หรือรบกวน เปนคลนทเกดจากแหลงกาเนดสน หรอรบกวน ตัวกลางเป็นช่วงเวลาสั่นๆ แผ่ออกไปจํานวนน้อยๆ เพียง 1 หรือ 2 คลื่น เช่นการนิ้ว จุ่มที่ผิวนํ้ําเพีียงครั้งหรืือ 2 ครัั้ง ี ั 3.2 คลื่นต่อเนื่อง (Continuous Wave) เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกําเนิดสั่น หรือรบกวนตัวกลางอย่างต่อเนื่อง ทําให้เกิดคลื่นแผ่ออกไปเป็นขบวนอย่างต่อเนื่อง เช่นการเกิดคลื่นผิวน้ําเนื่องจากแหล่งกําเนิดติดกับมอเตอร์ หรือการสะบัดเชือกอย่าง ต่อเนื่องแล้วแผ่เป็นวงกลมออกไปโดยรอบซึ่งลักษณะนี้ว่า คลื่นน้ําเกิดขึ้นบนผิวน้ํา Powerpoint Templates Page 6
  • 7. สวนประกอบคลื่น Powerpoint Templates Page 7
  • 8. อัตราเร็วคลื่น Powerpoint Templates Page 8
  • 10. อุปกรณเพื่อการศึกษาคลื่น ถาดคลื่น (Ripple tank) มีส่วนประกอบที่สาคัญ ได้แก่ ( pp ) ํ – ตัวถาดคลืน่ – ตัวกําเนิดคลืน ่ – โ ไฟ โคมไฟ Powerpoint Templates Page 10
  • 11. อุปกรณเพื่อการศึกษาคลื่น (ตอ) • ส่วนประกอบที่สาคัญของถาดคลื่น ํ – จุดกึ่งกลางของแถบมืดแทนตําแหน่งของ ทองคลน ท้องคลืน ่ – จุดกึ่งกลางของแถบสว่างแทนตําแหน่ง ของสันคลืน ่ Powerpoint Templates Page 11
  • 12. หนาคลื่น หน้าคลื่น (Wave front) เป็นแนวทางเดินของตําแหน่งบนคลืนทีมีเฟสเท่ากัน ่ ่ หน้าคลืนตรง ่ หน้าคลื่นวงกลม Powerpoint Templates Page 12
  • 13. หนาคลื่น (ตอ) • ลักษณะของหน้าคลืน ่ – คลืนหน้้าตรงทิิศทางคลืนขนานกััน ื่ ื่ – คลืนหน้าโค้งวงกลมทิศทางคลืนเป็นแนวรัศมีของวงกลม ่ ่ – ทิศทางคลืนจะตั้งฉากกับหน้าคลื่นเสมอ ่ – หน้้าคลืื่นทีี่ติดกันจะห่างกัันเท่ากับความยาวคลืื่น ั ั Powerpoint Templates Page 13
  • 14. การซอนทับกันของคลื่น • การซ้อนทับหรือการรวมกันของคลื่น – การรวมกันแบบเสริม (Constructive Superposition) • การกระจัดของคลื่นอยูในทิศเดียวกัน ่ Powerpoint Templates Page 14
  • 16. การซอนทับกันของคลื่น (ตอ) • การซ้อนทับหรือการรวมกันของคลื่น – การรวมกันแบบหักล้าง (Destructive Superposition) • การกระจัดของคลื่นอยูในทิศตรงข้ามกัน ่ Powerpoint Templates Page 16
  • 18. คําถาม (10 นาทีี) คําชี้แจง: หลังจากนักเรียนศึกษาวิดีโอเรื่องการเคลื่อนที่ของคลื่นกล ให้ นกเรยนตอบคาถามตอไปน นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ 1. คลื่นตามขวางมีลักษณะอย่างไร 2. คลื่นสะท้อนปลายอิสระจะมีเฟสเหมือนหรือต่างไปจากเดิม อย่างไร Hint: เฟส (phase) ในทางฟิสิกส์ คือ ปริมาณที่ใช้บอกตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งใน ในทางฟสกส คอ ปรมาณทใชบอกตาแหนงใดตาแหนงหนงใน ระหว่างการเปลี่ยนแปลงของคลื่น 3. 3 การรวมกนไดของคลน (S ั ไ ้ ื่ (Superposition) เปนอยางไร iti ) ป็ ่ ไ Powerpoint Templates Page 18
  • 19. คําถาม (10 นาทีี) คําชี้แจง: หลังจากนักเรียนศึกษาวิดีโอเรื่องการเคลื่อนที่ของคลื่นกล ให้ นกเรยนตอบคาถามตอไปน นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ 1. คลื่นตามขวางมีลักษณะอย่างไร 2. คลื่นสะท้อนปลายอิสระจะมีเฟสเหมือนหรือต่างไปจากเดิม อย่างไร Hint: เฟส (phase) ในทางฟิสิกส์ คือ ปริมาณที่ใช้บอกตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งใน ในทางฟสกส คอ ปรมาณทใชบอกตาแหนงใดตาแหนงหนงใน ระหว่างการเปลี่ยนแปลงของคลื่น 3. 3 การรวมกนไดของคลน (S ั ไ ้ ื่ (Superposition) เปนอยางไร iti ) ป็ ่ ไ Powerpoint Templates Page 19
  • 21. สมบัติของคลื่น • จะเรียกสิงใดว่าคลื่น ต้องมีสมบัติ 4 ประการ ่ – การสะท้อน(Reflection) – การหักเห(R f ti ) การหกเห(Refraction) – การแทรกสอด(Interference) – การเลียวเบน(Diffraction) ้ Powerpoint Templates Page 21
  • 22. การสะทอนของคลืน ่ การสะท้้อนของคลืื่น (W reflection) เกิิดเมืื่อคลืื่น (Wave fl ti ) เคลอนทไปกระทบสงกดขวาง เคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวาง Powerpoint Templates Page 22
  • 23. การสะทอนของคลืน ่ การสะท้อนของคลืนในเส้นเชือก ่ • การสะท้อนของคลืนในเส้นเชือกเมื่อจดสะท้อนเป็นจดตรึงแน่น การสะทอนของคลนในเสนเชอกเมอจุดสะทอนเปนจุดตรงแนน ่ – เฟสเปลี่ยน 180 องศา(เฟสตรงข้ามกัน) • การสะท้อนของคลืนในเส้นเชือกเมื่อจุดสะท้อนอิสระ ่ – เฟสไม่เปลี่ยน (เฟสตรงกัน) เฟสไมเปลยน (เฟสตรงกน) Powerpoint Templates Page 23
  • 24. การสะทอนของคลืน ่ การสะท้อนของคลืนในเส้นเชือก ่ Powerpoint Templates Page 24
  • 25. การสะทอนของคลืน ่ การสะท้อนของคลืนน้ํา เฟสของคลื่นสะท้อนจะไม่เปลี่ยน ่ Powerpoint Templates Page 25
  • 26. การสะทอนของคลืน ่ การสะท้้อนของคลืนนํ้ํา มุมตกกระทบเท่ากบมุมสะท้อน (  ) ื่ ่ ั ้ Powerpoint Templates Page 26
  • 27. การสะทอนของคลืน ่ การสะท้อนของคลืนน้ําวงกลมสะท้อนผิวเรียบตรง ่ Powerpoint Templates Page 27
  • 28. การสะทอนของคลืน ่ การสะท้อนของคลืนน้ําหน้าตรงสะท้อนผิวโค้งพาราโบลา ่ Powerpoint Templates Page 28
  • 29. การสะทอนของคลืน ่ Powerpoint Templates Page 29
  • 31. ความถี่ คือ จํานวนลูกคลื่น (หรือตัวกลางสันครบ 1 รอบ) ที่เคลื่อนทีไดใน 1 วินาที ่ ่ คาบเวลา คือ เวลาที่คลืนเคลื่อนที่ (หรือตัวกลางสันครบ 1 รอบ) ครบ 1 รอบ ่ ่ Powerpoint Templates Page 31
  • 32. ขนท วาดรูป ขันที่ 1 วาดรป ้ Powerpoint Templates Page 32
  • 33. ขันที่ 2 โจทยบอก ้ ขันที่ 3 สมการ/การวิเคราะห ้ Powerpoint Templates Page 33
  • 34. ขันที่ 4 แทนคา ้ Powerpoint Templates Page 34
  • 35. คําถาม 20 ความถี่ คือ จํานวนลูกคลื่น (หรือตัวกลางสันครบ 1 รอบ) ที่เคลื่อนทีไดใน 1 วินาที ่ ่ คาบเวลา คือ เวลาที่คลืนเคลื่อนที่ (หรือตัวกลางสันครบ 1 รอบ) ครบ 1 รอบ ่ ่ Powerpoint Templates Page 35
  • 36. การหักเหของคลืน ่ Powerpoint Templates Page 36
  • 37. การหักเหของคลืน ่ การหัักเหของคลืน (wave refraction) เกิดเมืื่อคลืื่น ่ื เคลือนทีผ่านตวกลางต่่างชนิดกน ื่ ี่ ั ิ ั Powerpoint Templates Page 37
  • 38. การหักเหของคลืน ่ คลืื่นเคลืื่อนทีี่ผ่านตวกลางตางชนิิดกนพบวา อตราเรว ของคลื่นและความยาว ั ่ ั ่ ั ็ ื คลืนเปลี่ยนแปลง แต่ ความถี่คงเดิม ่ Powerpoint Templates Page 38
  • 39. การหักเหของคลืน ่ คลืนเคลือนทีผ่านตวกลางตางชนิิดกนทิิศทางของคลืนตงฉากกบรอยตอ ื่ ื่ ี่ ั ่ ั ่ื ั้ ั ่ Powerpoint Templates Page 39
  • 40. การหักเหของคลืน ่ คลืนเคลือนทีผ่านตวกลางตางชนิิดกน ื่ ื่ ี่ ั ่ ั ทิิศทางของคลืนตัั้งฉากกัับรอยต่อ ื่ ทิิศทางของคลืนไ ตั้งฉากกัับรอยต่อ ื่ ไม่ Powerpoint Templates Page 40
  • 41. การหักเหของคลืน ่ “กฎของสเนลล” Snell’s law พจารณาการหกเหของคลนนาทรอยตอของนาลกกบนาตน พิจารณาการหักเหของคลื่นน้ําที่รอยตอของน้าลึกกับน้าตื้น ํ ํ Powerpoint Templates Page 41
  • 42. การหักเหของคลืน ่ • ลักษณะการหักเหของคลืน ่ – จากบริเวณน้้ําตื้นไปสูน้ําลึก ่ คลื่นเคลือนที่จากน้ําตื้น(v น้อย , น้อย) สู่น้ําลึก (v มาก , มาก) ทิศทางคลื่นหักเหจะเบนออกจากเส้นแนวฉาก ่ Powerpoint Templates Page 42
  • 43. การหักเหของคลืน ่ • ลักษณะการหักเหของคลืน ่ พระเจ้า จ๊อด มัน ยอดมาก – จากบริเวณน้้ําลึกไปสูน้ําตื้น ่ คลื่นเคลือนที่จากน้ําลึก(v มาก ,มาก) สู่น้ําตื้น (v น้อย ,น้อย) ทิศทางคลื่นหักเหจะเบนเข้าหาเส้นแนวฉาก ่ Powerpoint Templates Page 43
  • 44. การหักเหของคลืน ่ Powerpoint Templates Page 44
  • 45. การหักเหของคลืน ่ Powerpoint Templates Page 45
  • 46. การหักเหของคลืน ่ Powerpoint Templates Page 46
  • 47. การหักเหของคลืน ่ Powerpoint Templates Page 47
  • 48. การหักเหของคลืน ่ Powerpoint Templates Page 48
  • 49. การหักเหของคลืน ่ • มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมด – เมื่อคลื่นผิวน้ําเคลื่อนทีจากบริเวณ ่ น้้ําตื้นเข้าสู่บริเวณน้้ําลึก – มุมตกกระทบที่ทาให้เกิดมุมหักเหมีค่าเท่ากับ 90 เรียกว่า มุมวิกฤต ํ – มุมตกกระทบโตมากกว่ามุมวิกฤต จะเกิดการสะท้อนขึ้นที่รอยต่อของตัวกลางทั้งสอง เรียกปรากฏการณ์นี้ ว่า การสะท้อนกลับหมด การสะท้อนกลับหมด “มุมวิกฤต” ( Critical Angle ; c ) Powerpoint Templates Page 49
  • 51. การแทรกสอดของคลน การแทรกสอดของคลืน ่ การแทรกสอดของคลืน (wave interference) เกิดเมืื่อ ื่ คลืนสองขบวนเคลืื่อนทีี่มาพบกน ื่ ั Powerpoint Templates Page 51
  • 58. การเลยวเบนของคลน การเลี้ยวเบนของคลืน ่ การเลีี้ยวเบนของคลืน (wave diffraction) เกิดเมืื่อ ื่ คลืนเคลือนทีผ่านสิิ่งกดขวาง ื่ ื่ ี่ ั Powerpoint Templates Page 58