SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
1.สภาพปัญหา/ที่มาEvidence Based
ที่มาที่ไป หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาทีเกิดขึ้นหรือ ศักยภาพ,บริบทชุมชนที่บรรยายถึงสภาพ
สิ่งแวดล้อมในทุกมิติ เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับประเด็นการเรียนรู้อย่างมีเหตุมีผล แนวทางการเขียน Evidence Based จึง
ควรเขียนในภาพกว้างก่อนจะโฟกัสมาที่ประเด็นที่เราต้องการนาเสนอ
2.เป้าหมาย (Goal) วัตถุประสงค์
(Objective)
เมื่อวิเคราะห์จากข้อ (1) แล้วเกิดคาถามอะไร? และต้องการบรรลุเป้าหมาย หรือเพื่อแก้ไขปัญหาใด หรือ ต้องการพัฒนา
สิ่งใดให้ดีขึ้น โดยมีการตั้งเป้าหมาย (Goal) ที่มีความเป็นรูปธรรม หรือใช้วิธีการตั้งวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนมีความเป็น
รูปธรรมเช่นกัน
3.กระบวนการดาเนินการ (Process)
ในขั้นตอนนี้ ควรมีรายละเอียดดังนี้
(3.1) กระบวนการดังกล่าวใช้แนวคิดหรือทฤษฏีอะไร ใช้อย่างไร? อธิบายพอสังเขป
(3.2) กระบวนการที่นามาใช้เราเรียกว่ากระบวนการอะไร?
(3.3) ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการดังกล่าวมีใครบ้าง ทาหน้าที่อย่างไร?
(3.4) รายละเอียดของกระบวนการแต่ละขั้นตอนเป็นอย่างไร อธิบายให้เห็นภาพเป็นขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ
ในข้อนี้เขียนให้เห็นถึงกระบวนการจัดการความรู้ที่เป็นระบบได้แก่ การแสวงหาความรู้อย่างไรบ้าง? กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาอย่างไรบ้าง? ทากี่วงรอบ
4.ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น (Result)
ผลลัพธ์ที่เกิดจากกระบวนการดาเนินการ (Process) เป็นอย่างไรบ้าง การเขียนผลลัพธ์ควรเขียนตอบตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ใน
ขั้นตอนที่ 2 และอาจเขียนสรุปเพื่อให้เห็นภาพรวมของผลลัพธ์
OUTPUT ผลลัพธ์ทีเกิดขึ้นโดยเทียบกับวัตถุประสงค์
OUTCOME ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากสิ่งที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ตั้งแต่แรก หรือ outputที่เกิดขึ้นนาไปสู่การขยายผล/ส่งผล
อย่างไรหลังจากนั้น
IMPACT ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการตามกระบวนการ กระทบกับใครแนวทางการเขียนให้ไล่ไปตั้งแต่ระดับ บุคคล,
หน่วยงาน,องค์กร,ชุมชน,สังคม และ ระดับประเทศชาติ
ในข้อนี้ให้อธิบายถึง การจัดเก็บความรู้ที่ได้ทาแบบไหน? พร้อมทั้งอธิบายรูปแบบการสื่อสารความรู้ที่ได้มาอย่างไรบ้าง?
5.บทเรียนที่เกิดขึ้น(Lesson Learned)
ขั้นตอนนี้ใช้ รูปแบบของการถอดบทเรียน (Lesson Distilled) เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้เห็นถึง “บทเรียน”ที่เกิดขึ้น
รวมไปถึง ข้อเสนอแนะที่จาเพาะเจาะจงและปฏิบัติได้ (SARs : Specific Actionable Recommendations )
การถอดบทเรียนให้ทาการวิเคราะห์จากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเทียบกับเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร?
(สูงกว่า,ต่ากว่า,ได้ตามเป้าหมาย) ไม่ว่าผลลัพธ์จะเป็นอย่างไรก็ตามต้องวิเคราะห์ต่อไปว่า ที่มีความแตกต่างนั้นเป็น
เพราะอะไร? ทาไมถึงแตกต่างปัจจัยเงื่อนไขอะไรที่ทาให้เกิดความแตกต่าง (วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
,ล้มเหลว) จากนั้นให้สังเคราะห์ข้อเสนอแนะที่จาเพาะเจาะจงและปฏิบัติได้ เพื่อประโยชน์ในการขับเคลื่อนพัฒนา
ต่อไป
คาถามถอดบทเรียนข้อที่
1 :เป้าหมาย หรือ ผลที่คาด
ว่าจะได้รับที่ตั้งไว้เป็น
อย่างไร?
คาถามถอดบทเรียนข้อที่
2 : กระบวนการและผลลัพธ์
ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร?
คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 3 :
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเมื่อเทียบกับ
เป้าหมายแล้วแตกต่างกันอย่างไร
?ทาไมถึงเป็นเช่นนั้น?
คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 4 :
จากการถอดบทเรียน ท่านจะมี
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
อย่างไร?
ดร.จตุพร วิศิษฏ์โชติอังกูร E-Mail : vjatuporn@gmail.com
1.สภาพปัญหา/ที่มาEvidence Based
ที่มาที่ไป หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาทีเกิดขึ้น หรือ ศักยภาพ,บริบทชุมชนที่บรรยายถึงสภาพสิ่งแวดล้อมในทุกมิติ เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับ
ประเด็นการเรียนรู้อย่างมีเหตุมีผล แนวทางการเขียน Evidence Based จึงควรเขียนในภาพกว้าง ก่อนจะโฟกัสมาที่ประเด็นที่เราต้องการนาเสนอ
ต้องบอกเหตุผลให้ได้ว่า ทาไมเราถึงจาเป็ นต้องสร้างองค์ความรู ้ในประเด็นนี้ สาคัญอย่างไร
2.เป้ าหมาย (Goal) วัตถุประสงค์ (Objective)
เมื่อวิเคราะห์จากข้อ (1) แล้วเกิดคาถามอะไร? และต้องการบรรลุเป้าหมาย หรือเพื่อแก้ไขปัญหาใด หรือ ต้องการพัฒนาสิ่งใดให้ดีขึ้น โดยมีการตั้งเป้าหมาย
(Goal) ที่มีความเป็นรูปธรรม หรือใช้วิธีการตั้งวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนมีความเป็นรูปธรรมเช่นกัน
3.กระบวนการดาเนินการ (Process)
ในขั้นตอนนี้ ควรมีรายละเอียดดังนี้
(3.1) กระบวนการดังกล่าวใช้แนวคิดหรือทฤษฏีอะไร ใช้อย่างไร? อธิบายพอสังเขป
(3.2) กระบวนการที่นามาใช้เราเรียกว่ากระบวนการอะไร?
(3.3) ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการดังกล่าวมีใครบ้าง ทาหน้าที่อย่างไร?
(3.4) รายละเอียดของกระบวนการแต่ละขั้นตอนเป็นอย่างไร อธิบายให้เห็นภาพเป็นขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ
ในข้อนี้เขียนให้เห็นถึงกระบวนการจัดการความรู ้ที่เป็ นระบบ ได้แก่ การสร้างและแสวงหาความรู ้อย่างไรบ้าง? กระบวนการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู ้ทาอย่างไรบ้าง? ( อธิบาย )ทากี่วงรอบจนได้องค์ความรู ้ที่สามารถนาไปเป็ นองค์ความรู ้ขององค์กรได้ ( อธิบาย )
4.ผลลัพธ ์ที่เกิดขึ้น (Result)
ผลลัพธ์ที่เกิดจากกระบวนการดาเนินการ (Process) เป็นอย่างไรบ้าง การเขียนผลลัพธ์ควรเขียนตอบตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ในขั้นตอนที่ 2 และอาจ
เขียนสรุปเพื่อให้เห็นภาพรวมของผลลัพธ์
OUTPUT ผลลัพธ์ทีเกิดขึ้นโดยเทียบกับวัตถุประสงค์
OUTCOME ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากสิ่งที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ตั้งแต่แรก หรือ output ที่เกิดขึ้นนาไปสู่การขยายผล/ส่งผล อย่างไรหลังจากนั้น
IMPACT ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการตามกระบวนการ กระทบกับใคร แนวทางการเขียนให้ไล่ไปตั้งแต่ระดับ บุคคล,หน่วยงาน,องค์กร,ชุมชน
,สังคม และ ระดับประเทศชาติ
ในข้อนี้ให้อธิบายถึง การจัดเก็บความรู ้ที่ได้ทาแบบไหน? พร้อมทั้งอธิบายรูปแบบการสื่อสารความรู ้ที่
ได้มาเพื่อให้คนในองค์กรเข้าถึงความรู ้นั้น เรามีวิธีการอย่างไรบ้าง?
5.บทเรียนที่เกิดขึ้น(Lesson Learned)
ขั้นตอนนี้ใช้ รูปแบบของการถอดบทเรียน (Lesson Distilled) เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้เห็นถึง “บทเรียน”ที่เกิดขึ้น รวมไปถึง
ข้อเสนอแนะที่จาเพาะเจาะจงและปฏิบัติได้ (SARs : Specific Actionable Recommendations )
การถอดบทเรียนให้ทาการวิเคราะห์จากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเทียบกับเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร? (สูงกว่า,ต่ากว่า,ได้ตามเป้ าหมาย)
ไม่ว่าผลลัพธ์จะเป็นอย่างไรก็ตาม ต้องวิเคราะห์ต่อไปว่า ที่มีความแตกต่างนั้นเป็นเพราะอะไร? ทาไมถึงแตกต่าง ปัจจัยเงื่อนไขอะไรที่ทาให้เกิดความแตกต่าง
(วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จ,ล้มเหลว) จากนั้นให้สังเคราะห์ข้อเสนอแนะที่จาเพาะเจาะจงและปฏิบัติได้ เพื่อประโยชน์ใน
การขับเคลื่อนพัฒนาต่อไป (ข้อเสนอแนะนี้ถือว่าเป็ นการนาความรู ้ไปใช้แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร)
คาถามถอดบทเรียนข้อที่
1 :เป้าหมาย หรือ ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ที่ตั้งไว้เป็นอย่างไร?
คาถามถอดบทเรียนข้อที่
2 : กระบวนการและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เป็นอย่างไร?
คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 3 :
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเมื่อเทียบกับเป้าหมายแล้ว
แตกต่างกันอย่างไร ?ทาไมถึงเป็นเช่นนั้น?
คาถามถอดบทเรียนข้อที่
4 : จากการถอดบทเรียนท่านจะมี
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาอย่างไร?
ดร.จตุพร วิศิษฏ์โชติอังกูร E-Mail : vjatuporn@gmail.com

Contenu connexe

Similaire à Km retrospective writer

การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศThank Chiro
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 

Similaire à Km retrospective writer (20)

การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 

Km retrospective writer

  • 1. 1.สภาพปัญหา/ที่มาEvidence Based ที่มาที่ไป หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาทีเกิดขึ้นหรือ ศักยภาพ,บริบทชุมชนที่บรรยายถึงสภาพ สิ่งแวดล้อมในทุกมิติ เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับประเด็นการเรียนรู้อย่างมีเหตุมีผล แนวทางการเขียน Evidence Based จึง ควรเขียนในภาพกว้างก่อนจะโฟกัสมาที่ประเด็นที่เราต้องการนาเสนอ 2.เป้าหมาย (Goal) วัตถุประสงค์ (Objective) เมื่อวิเคราะห์จากข้อ (1) แล้วเกิดคาถามอะไร? และต้องการบรรลุเป้าหมาย หรือเพื่อแก้ไขปัญหาใด หรือ ต้องการพัฒนา สิ่งใดให้ดีขึ้น โดยมีการตั้งเป้าหมาย (Goal) ที่มีความเป็นรูปธรรม หรือใช้วิธีการตั้งวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนมีความเป็น รูปธรรมเช่นกัน 3.กระบวนการดาเนินการ (Process) ในขั้นตอนนี้ ควรมีรายละเอียดดังนี้ (3.1) กระบวนการดังกล่าวใช้แนวคิดหรือทฤษฏีอะไร ใช้อย่างไร? อธิบายพอสังเขป (3.2) กระบวนการที่นามาใช้เราเรียกว่ากระบวนการอะไร? (3.3) ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการดังกล่าวมีใครบ้าง ทาหน้าที่อย่างไร? (3.4) รายละเอียดของกระบวนการแต่ละขั้นตอนเป็นอย่างไร อธิบายให้เห็นภาพเป็นขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ ในข้อนี้เขียนให้เห็นถึงกระบวนการจัดการความรู้ที่เป็นระบบได้แก่ การแสวงหาความรู้อย่างไรบ้าง? กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาอย่างไรบ้าง? ทากี่วงรอบ 4.ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น (Result) ผลลัพธ์ที่เกิดจากกระบวนการดาเนินการ (Process) เป็นอย่างไรบ้าง การเขียนผลลัพธ์ควรเขียนตอบตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ใน ขั้นตอนที่ 2 และอาจเขียนสรุปเพื่อให้เห็นภาพรวมของผลลัพธ์ OUTPUT ผลลัพธ์ทีเกิดขึ้นโดยเทียบกับวัตถุประสงค์ OUTCOME ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากสิ่งที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ตั้งแต่แรก หรือ outputที่เกิดขึ้นนาไปสู่การขยายผล/ส่งผล อย่างไรหลังจากนั้น IMPACT ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการตามกระบวนการ กระทบกับใครแนวทางการเขียนให้ไล่ไปตั้งแต่ระดับ บุคคล, หน่วยงาน,องค์กร,ชุมชน,สังคม และ ระดับประเทศชาติ ในข้อนี้ให้อธิบายถึง การจัดเก็บความรู้ที่ได้ทาแบบไหน? พร้อมทั้งอธิบายรูปแบบการสื่อสารความรู้ที่ได้มาอย่างไรบ้าง? 5.บทเรียนที่เกิดขึ้น(Lesson Learned) ขั้นตอนนี้ใช้ รูปแบบของการถอดบทเรียน (Lesson Distilled) เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้เห็นถึง “บทเรียน”ที่เกิดขึ้น รวมไปถึง ข้อเสนอแนะที่จาเพาะเจาะจงและปฏิบัติได้ (SARs : Specific Actionable Recommendations ) การถอดบทเรียนให้ทาการวิเคราะห์จากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเทียบกับเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร? (สูงกว่า,ต่ากว่า,ได้ตามเป้าหมาย) ไม่ว่าผลลัพธ์จะเป็นอย่างไรก็ตามต้องวิเคราะห์ต่อไปว่า ที่มีความแตกต่างนั้นเป็น เพราะอะไร? ทาไมถึงแตกต่างปัจจัยเงื่อนไขอะไรที่ทาให้เกิดความแตกต่าง (วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จ ,ล้มเหลว) จากนั้นให้สังเคราะห์ข้อเสนอแนะที่จาเพาะเจาะจงและปฏิบัติได้ เพื่อประโยชน์ในการขับเคลื่อนพัฒนา ต่อไป คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 1 :เป้าหมาย หรือ ผลที่คาด ว่าจะได้รับที่ตั้งไว้เป็น อย่างไร? คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 2 : กระบวนการและผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร? คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 3 : ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเมื่อเทียบกับ เป้าหมายแล้วแตกต่างกันอย่างไร ?ทาไมถึงเป็นเช่นนั้น? คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 4 : จากการถอดบทเรียน ท่านจะมี ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา อย่างไร? ดร.จตุพร วิศิษฏ์โชติอังกูร E-Mail : vjatuporn@gmail.com
  • 2. 1.สภาพปัญหา/ที่มาEvidence Based ที่มาที่ไป หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาทีเกิดขึ้น หรือ ศักยภาพ,บริบทชุมชนที่บรรยายถึงสภาพสิ่งแวดล้อมในทุกมิติ เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับ ประเด็นการเรียนรู้อย่างมีเหตุมีผล แนวทางการเขียน Evidence Based จึงควรเขียนในภาพกว้าง ก่อนจะโฟกัสมาที่ประเด็นที่เราต้องการนาเสนอ ต้องบอกเหตุผลให้ได้ว่า ทาไมเราถึงจาเป็ นต้องสร้างองค์ความรู ้ในประเด็นนี้ สาคัญอย่างไร 2.เป้ าหมาย (Goal) วัตถุประสงค์ (Objective) เมื่อวิเคราะห์จากข้อ (1) แล้วเกิดคาถามอะไร? และต้องการบรรลุเป้าหมาย หรือเพื่อแก้ไขปัญหาใด หรือ ต้องการพัฒนาสิ่งใดให้ดีขึ้น โดยมีการตั้งเป้าหมาย (Goal) ที่มีความเป็นรูปธรรม หรือใช้วิธีการตั้งวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนมีความเป็นรูปธรรมเช่นกัน 3.กระบวนการดาเนินการ (Process) ในขั้นตอนนี้ ควรมีรายละเอียดดังนี้ (3.1) กระบวนการดังกล่าวใช้แนวคิดหรือทฤษฏีอะไร ใช้อย่างไร? อธิบายพอสังเขป (3.2) กระบวนการที่นามาใช้เราเรียกว่ากระบวนการอะไร? (3.3) ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการดังกล่าวมีใครบ้าง ทาหน้าที่อย่างไร? (3.4) รายละเอียดของกระบวนการแต่ละขั้นตอนเป็นอย่างไร อธิบายให้เห็นภาพเป็นขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ ในข้อนี้เขียนให้เห็นถึงกระบวนการจัดการความรู ้ที่เป็ นระบบ ได้แก่ การสร้างและแสวงหาความรู ้อย่างไรบ้าง? กระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู ้ทาอย่างไรบ้าง? ( อธิบาย )ทากี่วงรอบจนได้องค์ความรู ้ที่สามารถนาไปเป็ นองค์ความรู ้ขององค์กรได้ ( อธิบาย ) 4.ผลลัพธ ์ที่เกิดขึ้น (Result) ผลลัพธ์ที่เกิดจากกระบวนการดาเนินการ (Process) เป็นอย่างไรบ้าง การเขียนผลลัพธ์ควรเขียนตอบตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ในขั้นตอนที่ 2 และอาจ เขียนสรุปเพื่อให้เห็นภาพรวมของผลลัพธ์ OUTPUT ผลลัพธ์ทีเกิดขึ้นโดยเทียบกับวัตถุประสงค์ OUTCOME ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากสิ่งที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ตั้งแต่แรก หรือ output ที่เกิดขึ้นนาไปสู่การขยายผล/ส่งผล อย่างไรหลังจากนั้น IMPACT ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการตามกระบวนการ กระทบกับใคร แนวทางการเขียนให้ไล่ไปตั้งแต่ระดับ บุคคล,หน่วยงาน,องค์กร,ชุมชน ,สังคม และ ระดับประเทศชาติ ในข้อนี้ให้อธิบายถึง การจัดเก็บความรู ้ที่ได้ทาแบบไหน? พร้อมทั้งอธิบายรูปแบบการสื่อสารความรู ้ที่ ได้มาเพื่อให้คนในองค์กรเข้าถึงความรู ้นั้น เรามีวิธีการอย่างไรบ้าง? 5.บทเรียนที่เกิดขึ้น(Lesson Learned) ขั้นตอนนี้ใช้ รูปแบบของการถอดบทเรียน (Lesson Distilled) เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้เห็นถึง “บทเรียน”ที่เกิดขึ้น รวมไปถึง ข้อเสนอแนะที่จาเพาะเจาะจงและปฏิบัติได้ (SARs : Specific Actionable Recommendations ) การถอดบทเรียนให้ทาการวิเคราะห์จากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเทียบกับเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร? (สูงกว่า,ต่ากว่า,ได้ตามเป้ าหมาย) ไม่ว่าผลลัพธ์จะเป็นอย่างไรก็ตาม ต้องวิเคราะห์ต่อไปว่า ที่มีความแตกต่างนั้นเป็นเพราะอะไร? ทาไมถึงแตกต่าง ปัจจัยเงื่อนไขอะไรที่ทาให้เกิดความแตกต่าง (วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จ,ล้มเหลว) จากนั้นให้สังเคราะห์ข้อเสนอแนะที่จาเพาะเจาะจงและปฏิบัติได้ เพื่อประโยชน์ใน การขับเคลื่อนพัฒนาต่อไป (ข้อเสนอแนะนี้ถือว่าเป็ นการนาความรู ้ไปใช้แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร) คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 1 :เป้าหมาย หรือ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ที่ตั้งไว้เป็นอย่างไร? คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 2 : กระบวนการและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เป็นอย่างไร? คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 3 : ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเมื่อเทียบกับเป้าหมายแล้ว แตกต่างกันอย่างไร ?ทาไมถึงเป็นเช่นนั้น? คาถามถอดบทเรียนข้อที่ 4 : จากการถอดบทเรียนท่านจะมี ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาอย่างไร? ดร.จตุพร วิศิษฏ์โชติอังกูร E-Mail : vjatuporn@gmail.com