SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
แพทย์หญิง ศิวาพร ขูรีรัง
เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลเกษตรวิสัย
ความสาคัญของการป้องกันภาวะหกล้ม
ในผู้สูงอายุ
อัตราการหกล้มในผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปที่มีสุขภาพดีในชุมชนประมาณ 0.3-1.6 ครั้ง/คน/ปี
** อัตรานี้จะเพิ่มเป็นสองเท่าในคนที่มีอายุมากกว่า 75 ปีขึ้นไป
ผู้สูงอายุไทยจะหกล้มประมาณร้อยละ 20 เมื่อถามย้อนหลังไปหกเดือน 6
ผู้สูงอายุในบ้านพักคนชราจะมีอุบัติการณ์ของภาวะหกล้มเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 50
** เนื่องจากผู้สูงอายุกลุ่มนี้มักมีสุขภาพโดยรวมด้อยกว่าผู้สูงอายุที่สามารถอยู่ในชุมชน
ได้อย่างเป็นอิสระ และลักษณะการบาดเจ็บจากภาวะหกล้มรุนแรงมากกว่าผู้สูงอายุในชุมชนอีกด้วย
ผู้ที่มีความสามารถทางสมองลดลง มักหกล้มได้บ่อยกว่าคนทั่วไป
ข้อมูลอุบัติการณ์ของภาวะหกล้มที่ได้จากผู้ป่วยที่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
น้อยกว่าความเป็นจริง เนื่องจากผู้ที่หกล้มจานวนน้อยกว่าครึ่งหนึ่งจะมาพบแพทย์
ผลกระทบต่อสุขภาพ
ผู้สูงอายุที่หกล้มประมาณร้อยละ 5 - 10 จะมีการบาดเจ็บรุนแรง เช่น ภาวะกระดูกหัก
การบาดเจ็บของสมองหรือที่ผิวหนังอย่างรุนแรง
ในด้านผลระยะยาวสาหรับผู้ที่หกล้มและมีกระดูกข้อสะโพกหัก
มีอัตราการเสียชีวิตถึงร้อยละ 20 - 30 เมื่อติดตามกลุ่มนี้เป็นระยะเวลา 1 ปี
ร้อยละ 25 - 75 ที่สูญเสียความสามารถในการดาเนินกิจวัตรประจาวัน
ส่วนผลกระทบทางด้านสุขภาพจิต
ผู้สูงอายุที่เคยหกล้มจะเกิดความกังวล (anxiety)
ภาวะซึมเศร้า
สูญเสียความมั่นใจในการเดิน
ผู้ป่วยร้อยละ 30 - 73 จะมีอาการกลัวการหกล้มอีกจนทาให้สูญเสียความสามารถในการ
ช่วยเหลือตนเอง
*** ดังนั้นผู้สูงอายุที่มีประวัติหกล้มมาภายใน 6 เดือนจึงมีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี
นอกจากนั้นภาวะหกล้มยังเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างมีนัยสาคัญต่อการเข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาลด้วย
แนวทางในการป้องกันภาวะหกล้ม
Multifactorial intervention
Strength & Balance training
Education and encouraging the subject in fall prevention program
Home hazard and safety intervention
Medications
Case identification
Multifactorial risk assessment
การค้นหาและคัดกรอง
ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะหกล้มในโรงพยาบาล
แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
1. การป้องกันระดับปฐมภูมิ (Primary prevention) เป็นการ
ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่ไม่มีประวัติหกล้มมาก่อน และยังไม่มีปัจจัยเสี่ยง
ของภาวะหกล้ม
2. การป้องกันระดับทุติยภูมิ (Secondary prevention) เป็น
การป้องกันภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ โดยการประเมินเพื่อหาปัจจัยเสี่ยง
ภาวะหกล้มตั้งแต่ระยะแรก เพื่อไม่ให้เกิดภาวะหกล้มขณะเข้ารับการ
รักษาตัวในโรงพยาบาล
3. การป้องกันระดับตติยภูมิ (Tertiary prevention) เป็นการ
ป้องกันภาวะหกล้มซ้าซ้อนในผู้สูงอายุที่เคยหกล้มมาก่อน เพื่อไม่ให้เกิด
ภาวะแทรกซ้อนหรือเกิดผลกระทบจากภาวะหกล้มให้น้อยที่สุด
ผู้สูงอายุที่มีตั้งแต่อายุ 60 ปีขึ้นไปควรได้รับ
การคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะหกล้มทุกครั้ง
เมื่อเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาล
... เนื่องจากผลการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า ...
ผู้สูงอายุมีอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะหกล้มในโรงพยาบาลและ/หรือ
สถานพยาบาลมากถึง 3 เท่าของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน
เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือผลกระทบจากภาวะหกล้ม เช่น กระดูกหัก
เกิดบาดแผลที่ต้องเย็บ เป็นต้น ในอัตราที่สูงกว่าผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ใน
ชุมชน1-2 เท่า
ผู้สูงอายุที่มีประวัติต่อไปนี้จัดเป็นผู้ป่วยที่มีความ
เสี่ยงสูงต่อภาวะหกล้มในโรงพยาบาล
มีประวัติเคยหกล้มในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา
มีปัญหาหรือความบกพร่องในการทรงตัว
มีประวัติได้รับยาหลายชนิด
โดยเฉพาะกลุ่มต่อไปนี้
ยานอนหลับ
ยาต้านเศร้า
ยารักษาโรคทางจิตเวช
ยารักษาโรคหัวใจในกลุ่ม Digitalis
มีการใช้ยาหลายตัวร่วมกันตั้งแต่ 4 ชนิดขึ้นไป (ไม่รวมวิตามิน)
รับการรักษาตัวในโรงพยาบาล นานกว่าหรือเท่ากับ 19 วัน5
ผู้ป่วยที่ถูกจากัดการเคลื่อนไหว เช่น การมัด การเอาข้างเตียงขึ้นทั้ง 2 ด้าน เป็นต้น
มีปัญหาหรือความบกพร่องในการเดิน
มีความบกพร่องในการมองเห็น
มีความบกพร่องในการรับรู้หรือการรู้ตัว
มีปัญหาในการกลั้นอุจจาระ ปัสสาวะ
มีประวัติโรคทางกาย ดังต่อไปนี้
โรคหลอดเลือดสมอง
ภาวะเวียนศีรษะ หรือบ้านหมุน
การประเมินปัจจัยเสี่ยงภาวะหกล้มแบบองค์รวม
ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ต่อภาวะหกล้มในผู้สูงอายุได้แก่
1. ประวัติเคยหกล้ม 6. สภาพแวดล้อมที่เป็นอุปสรรคต่อการเดิน
2. การทรงตัวบกพร่อง 7. การควบคุมการขับถ่ายที่ผิดปกติ
3. ท่าเดินที่ผิดปกติ 8. การรับรู้บกพร่อง (Cognitive impairment)
4. ความผิดปกติของการมองเห็น 9. ผลข้างเคียงจากการใช้ยา
5. ความกลัวที่จะล้มในคนที่เคยหกล้ม
ผลการศึกษาปัจจัยเสี่ยงของภาวะหกล้มจากงานวิจัยต่างๆ พบว่า
มี 3 ปัจจัยได้แก่ ประวัติการหกล้ม การทรงตัวบกพร่อง และท่าเดินที่ผิดปกติ
Timed Up and Go Test (TUGT)
สามารถทาได้ทุกสถานการณ์ สะดวก ไม่ต้องอาศัย
เครื่องมือพิเศษ หรืออาศัยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง เพียงมีนาฬิกา
จับเวลาและการสังเกตท่าเดินเท่านั้น
เวลาปกติของผู้สูงอายุควรน้อยกว่า 10 วินาที
หากนานกว่า 29 วินาที ถือว่ามีความเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม
ปัจจุบันการทดสอบ Timed Up and Go Test ได้รับความ
นิยม เนื่องจากมีความสะดวกและคล่องตัวในการประเมิน
ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการประเมินคือ ทุกครั้งที่ผู้ป่วยมา
นอนโรงพยาบาล หรือเกิดภาวะหกล้มขึ้น หรืออย่างน้อยควร
ประเมินทุก 3 เดือน
Timed Up and Go Test (TUGT)
เครื่องมือที่ใช้สาหรับการประเมินภาวะหกล้ม
1. Morse Fall Scale เป็นเครื่องมือที่ได้รับความนิยมใช้ในสถานพยาบาล
ช่วงเฉียบพลันรวมทั้งการดูแลระยะยาว
2. Falls Risk Assessment tool เป็นเครื่องมือซึ่งสามารถแยกกลุ่มผู้ที่มี
ความเสี่ยงได้เป็น 3 ระดับ คือ มีความเสี่ยงน้อย ปานกลาง และมีความ
เสี่ยงมาก ตามคะแนนที่ได้ (0-10 = มีความเสี่ยงต่า 11-20 = มีความเสี่ยง
ปานกลาง 21-33 = มีความเสี่ยง เสี่ยงมาก)
3. Berg Balance Test เป็นเครื่องมือที่ใช้ทดสอบความสามารถในการ
ทรงตัว ประกอบด้วย 14 กิจกรรมที่ผู้สูงอายุสามารถทาได้อย่างปลอดภัย
4. Hendrich II scale เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้ในต่างประเทศ
ในการค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม
Morse Fall Scale
Falls Risk
Assessment tool
Hendrich II Fall Risk Model
การประเมินภาวะหกล้มแบบองค์รวม
(Multifactorial falls risk assessment)
ทาได้โดยประเมินประเด็นดังต่อไปนี้
1. การซักประวัติภาวะหกล้มอย่างครอบคลุม สาเหตุ ความถี่ ความรุนแรง สถานที่ล้ม รวมทั้งอาการร่วมอื่นๆ
2. ประเมินกาลังกล้ามเนื้อขา การทรงตัว ความสามารถและท่าทางในการเดิน
3. ประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะกระดูกพรุน เช่น ผู้ที่อายุเกิน 65 ปี น้าหนักตัวน้อย
มีประวัติกระดูกหัก ใช้ยาสเตียรอยด์
4. ประเมินความสามารถที่แท้จริงของตนเอง รวมถึงความกลัวที่จะล้ม
5. ประเมินการมองเห็นว่ามีความผิดปกติร่วมด้วยหรือไม่
6. ประเมินระดับความสามารถของสมอง (cognitive impairment)
ตรวจร่างกายทางระบบประสาท
7. ประเมินความสามารถในการขับถ่ายปัสสาวะ
8. ประเมินความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน
9. ตรวจร่างกายระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมทั้งประเมินภาวะความ
ดันเลือดลดลงในขณะเปลี่ยนท่า
10. ทบทวนการใช้ยาในผู้สูงอายุที่มีประวัติหกล้ม
ผู้ที่มีประวัติหกล้มจะเพิ่มโอกาสให้เกิดภาวะหกล้มครั้งต่อไปมาก
ขึ้นเป็น 3 เท่า
การประเมินภาวะหกล้มต้องเป็นแบบองค์รวม ต้อง
ครอบคลุมทั้ง ปัญหาทางอายุรกรรม สุขภาพจิต
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง สภาพแวดล้อม
ภายในบ้าน และการทบทวนการใช้ยา
การประเมินภาวะหกล้มแบบองค์รวม
(Multifactorial falls risk assessment)
มาตรการป้องกันภาวะหกล้มของผู้สูงอายุ
แบบองค์รวมในโรงพยาบาล
เน้นความสาคัญใน 4 เรื่องหลัก ดังนี้
1. การฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การทรงตัว และการเดิน
2. ตรวจวัดสายตาและการมองเห็น
3. ตรวจสอบการใช้ยาและแก้ไขหากมีปัญหาการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม หรือมี
การใช้ยาที่ทาให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงต่อภาวะหกล้ม
4. ประเมินและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล เพื่อลดความเสี่ยง
ต่อภาวะหกล้ม
+ จัดหาผู้ดูแลกรณีที่มีความเสี่ยงสูง, จัดหาอุปกรณ์ช่วยเดิน, จัดหารองเท้าที่ไม่ลื่น
+ มีกระดิ่งที่สามารถให้ผู้ป่วยใช้เรียกพยาบาลได้ตลอดเวลา, หลีกเลี่ยงการมัดผู้ป่วย
+ ปรับระดับเตียงให้เหมาะสมกับความสูงของผู้ป่วย
+ เปิดไฟให้สว่างเพียงพอทั้งบริเวณเตียง ทางเดิน และในห้องน้า
การบริหารเพื่อเพิ่มกาลังกล้ามเนื้อ
และการทรงตัว
การออกกาลังกายในผู้สูงอายุมีความสาคัญสามารถ
ป้องกันภาวะหกล้มได้ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีประวัติหกล้มซ้าซ้อน
หรือมีท่าเดินรวมทั้งการทรงตัวบกพร่อง การออกกาลังกายที่
แนะนาคือ
การเพิ่มกาลังกล้ามเนื้อ (Progressive muscle strengthening)
การฝึกการทรงตัว (Balancing training)
การฝึกเดิน (Walking plan)
เป้าหมายของการออกกาลังกายเพื่อป้องกันภาวะหกล้ม
เพิ่มความสามารถในการเคลื่อนที่และการเดิน
โดยใช้การฝึกการทรงตัว (Balancing training)
ฝึกกาลังกล้ามเนื้อให้แข็งแรงโดยเฉพาะกล้ามเนื้อรอบสะโพก
กล้ามเนื้อเข่า และกล้ามเนื้อกระดกข้อเท้า ซึ่งเป็นกลุ่มกล้ามเนื้อที่มี
ความสาคัญต่อการยืนและเดินที่มั่นคง
เพิ่มความยืดหยุ่นของข้อ โดยเฉพาะบริเวณลาตัวและข้อต่อของขา
จัดหาเครื่องช่วยเดินให้ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องใช้
ควรฝึกทักษะการลุกขึ้นจากพื้นภายหลังล้มลง การขอความช่วยเหลือ
และต้องให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลว่าผู้ป่วยจะสามารถ
ช่วยเหลือตนเอง
ยากับภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
พบว่ายาที่มักเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม ได้แก่
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด class 1a
ยารักษาโรคความดันเลือดสูง
ยา digoxin
ยาขับปัสสาวะ
ยากลุ่ม benzodiazepine, phenothiazine
ยาต้านเศร้า (antidepressant)
ยาทุกชนิดที่ผู้ป่วยกาลังรับประทานอยู่ อาจเป็นสาเหตุของภาวะหกล้มได้เสมอ
และควรคิดถึงเป็นสิ่งแรกในการหาสาเหตุ เพราะแก้ไขได้ง่ายและประหยัดค่าใช้จ่าย
*** ผู้ป่วยสูงอายุทุกรายควรได้รับการประเมินประวัติการได้รับยาใน
ระหว่างการประเมินสุขภาพทั่วไปของผู้สูงอายุ
การซักประวัติหกล้มในคลินิกโรคเรื้อรัง
ทั้งนี้เพราะผู้ป่วยสูงอายุมักมีปัญหาสุขภาพหลายด้านในเวลา
เดียวกัน (multiple pathology) ทาให้มีการใช้ยาหลายขนานในเวลา
เดียวกันได้บ่อย
ผลการศึกษาพบว่าการทบทวนยาที่ผู้ป่วยสูงอายุได้รับเป็นประจา
สามารถลดค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาที่พบ
บ่อยที่สุดคือ การได้รับยาหลายขนานมากเกินไป (polypharmacy)
ผู้สูงอายุที่ได้รับยาตั้งแต่ 3 - 4 ขนานขึ้นไป จะมีความเสี่ยงต่อ
การเกิดผลไม่พึงประสงค์จากยา และทาให้เกิดภาวะหกล้มซ้าซ้อนได้ เมื่อ
เปรียบเทียบกับผู้ป่วยที่ได้รับยาน้อยกว่า
การจัดสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล
การจัดสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล ตลอดจนหอผู้ป่วย เป็นสิ่งที่
ควรได้รับการให้ความสาคัญเพื่อป้องกันภาวะหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ที่
เสี่ยงต่อภาวะหกล้ม โดยลักษณะที่พึงประสงค์เป็นดังนี้
เฟอร์นิเจอร์ควรวางอยู่ในตาแหน่งที่ไม่กีดขวางทางเดิน หมั่นดูแลให้พื้น
แห้งเสมอ ควรมีราวจับตามฝาผนัง และให้มีแสงไฟเพียงพอในพื้นที่
ต่างๆ
เลือกใช้ความสูงของเตียง เก้าอี้ ให้เหมาะกับผู้สูงอายุ จัดเครื่องใช้ใน
ห้องให้เป็นระเบียบ มีอุปกรณ์ช่วยเดินที่เหมาะสม
ควรมีระบบสัญญาณเพื่อเรียกพยาบาล (nurse call system)
ในกรณีฉุกเฉิน เช่นในห้องพักหรือห้องน้า ที่ผู้สูงอายุหรือญาติ
สามารถติดต่อพยาบาลได้สะดวก
การให้สุขศึกษาเพื่อมีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะหกล้ม
การให้ความรู้สาหรับผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล
1. ให้คาแนะนาเกี่ยวกับพื้นที่บริเวณเตียงที่ผู้ป่วยพักอยู่ สิ่งอานวยความสะดวกใน
หอผู้ป่วย ห้องน้า ทางเดิน วิธีการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ที่จาเป็น รวมทั้งวิธีการขอ
ความช่วยเหลือ
2. หากเกิดอุบัติเหตุหกล้มว่าจะทาอย่างไร หากหกล้มแล้วไม่สามารถยืนได้จะทา
อย่างไร ตลอดจนการปฐมพยาบาล
3. ความเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม ประเด็นเกี่ยวกับความปลอดภัย และข้อจากัดในการ
ทากิจกรรมต่างๆ การเปลี่ยนอิริยาบถที่ช้าไม่รีบเร่ง
4. ควรให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับภาวะหกล้มและการป้องกันจะช่วยลดความกลัว
การหกล้ม (fear of fall) และเพิ่มความมั่นใจในตนเอง (self efficacy) ของผู้ป่วยได้
5. การระวังป้องกันภาวะหกล้ม ความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหัก
6. แนะนาวิธีการที่จะช่วยให้กระดูกและกล้ามเนื้อแข็งแรง
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ

Contenu connexe

Tendances

คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุChutchavarn Wongsaree
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนAphisit Aunbusdumberdor
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม Parinya Damrongpokkapun
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 

Tendances (20)

คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
 
Cpg alcoholism
Cpg alcoholismCpg alcoholism
Cpg alcoholism
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 

Similaire à แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ

โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016sakarinkhul
 
Risk Management : Cataloging Unit CMUMEDLIB
Risk Management : Cataloging Unit CMUMEDLIBRisk Management : Cataloging Unit CMUMEDLIB
Risk Management : Cataloging Unit CMUMEDLIBIngfahx Punyaphet
 

Similaire à แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ (6)

Analytical Study
Analytical StudyAnalytical Study
Analytical Study
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
 
ระบาด
ระบาดระบาด
ระบาด
 
Risk Management : Cataloging Unit CMUMEDLIB
Risk Management : Cataloging Unit CMUMEDLIBRisk Management : Cataloging Unit CMUMEDLIB
Risk Management : Cataloging Unit CMUMEDLIB
 

Plus de Siwaporn Khureerung

Plus de Siwaporn Khureerung (8)

Cervical trauma
Cervical traumaCervical trauma
Cervical trauma
 
Ultrasound liver
Ultrasound liverUltrasound liver
Ultrasound liver
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
Organophosphate and carbamate poisoning
Organophosphate and carbamate poisoningOrganophosphate and carbamate poisoning
Organophosphate and carbamate poisoning
 
Baker's cyst
Baker's cystBaker's cyst
Baker's cyst
 
Hallux valgus.pptx
Hallux valgus.pptxHallux valgus.pptx
Hallux valgus.pptx
 
Journal review
Journal reviewJournal review
Journal review
 
Epidermal necrolysis
Epidermal necrolysisEpidermal necrolysis
Epidermal necrolysis
 

แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ