SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  53
คอมพิวเตอร์สำำหรับ
  บัณฑิตศึกษำ
 1
       อ.เจนโชค เตชะโกเม
       นท์
       jenchoke@hotmail.co
Course Description 

        ความรูและทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ที่
              ้
    จำาเป็นและมีความสำาคัญต่อการศึกษาระดับ
    บัณฑิตศึกษา เน้นทักษะการใช้เพื่อสืบค้น
    ข้อมูลและใช้งานอินเตอร์เน็ต ทักษะการ
    รวบรวมข้อมูลทางวิชาการ จัดทำาสารสนเทศ
    และการนำาเสนอรายงาน

    2
Course Objectives 

•   เพื่อให้เข้าใจความหมายและความสำาคัญของเทคโนโลยี
    สารสนเทศ
•   เพื่อให้ทราบถึงความสำาคัญของคอมพิวเตอร์ตอการ  ่
    ศึกษา
•   เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับอินเตอร์เน็ต และการ
                                  ่
    ใช้งานอินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่น
             3
•   เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับข้อมูลและระบบการ
                                    ่
    จัดการข้อมูล
•   เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับการสืบค้นและค้นหา
                                      ่
คอมพิวเตอร์สำำหรับ
บัณฑิตศึกษำ


  4
        อ.เจนโชค เตชะ
        โกเมนท์
        jenchoke@hotm
คุณคิดว่าคอมพิวเตอร์คือ
         อะไร


                          5
ความหมายของคอมพิวเตอร์
 คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซ่ ึง
 หมายถึง การนั บ หรือ การคำานวณ พจนานุกรม
 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความ
 หมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เคร่ อง
                                ื
 อิเล็กทรอนิ กส์แบบอัตโนมัติ ทำาหน้ าท่เหมือน
                                        ี
 สมองกล  สำาหรับแก้ปัญหาต่างๆ  ีง่ายและซับ
          ใช้                        ท่
 ซ้อนโดยวิธีทางคณิ ตศาสตร์" 


                                                 6
ความหมายของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
 คอมพิวเตอร์จึงเป็ นเคร่ ืองจักรอิเล็กทรอนิ กส์ท่ีถูก
  สร้างขึ้นเพ่ อใช้ทำางานแทนมนุษย์ ในด้านการคิด
               ื
  คำานวณและสามารถจำาข้อมูล ทังตัวเลขและตัว
                                   ้
  อักษรได้เพ่ อการเรียกใช้งานในครังต่อไป  
                 ื                     ้
  นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้
  ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขันตอนของ
                                     ้
  โปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้าน
  ต่างๆ อีกมาก อาทิเช่น
    การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์
    การรับส่งข้อมูล                                     7

    การจัดเก็บข้อมูลในตัวเคร่ ือง
ประเภทของคอมพิวเตอร์
การจัดแบ่งประเภทของ เคร่ องคอมพิวเตอร์ จะ
                            ื
  อาศัยความเร็วของการ
ประมวลผล และขนาดความจำา ของหน่ วยบันทึก
  ข้อมูล ซ่ ึงสามารถแบ่งได้
เป็ น 7 ประเภท ได้แก่
  1.   Supercomputers 
  2.   Mainframe Computers 
  3.   Minicomputers 
  4.   Microcomputers (PC – Personal Computer)
  5.   Notebook computers (Laptop)
                                                 8
  6.   Personal Digital Assistants (PDAs)
  7.   Handheld Computer 
1. Supercomputers 

ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เป็ นเคร่ ือง
คอมพิวเตอร์ท่ีเหมาะกับงาน
คำานวณท่ีต้องมีการคำานวณ
ตัวเลขจำานวนหลายล้านตัว
ภายในเวลาอันรวดเร็ว เช่น งาน
พยากรณ์อากาศ ท่ีต้องนำ าข้อมูล
ต่าง ๆ เก่ียวกับอากาศทังระดับ
                           ้
ภาคพ้ืนดิน และระดับชัน   ้
บรรยากาศเพ่ ือดูการเคล่ ือนไหว
และการเปล่ียนแปลงของอากาศ
นอกจากนี้มีงานอีกเป็ นจำานวน
มากท่ีต้องใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
ซ่ึงมีความเร็วสูง เช่น งานควบคุม   9

ขีปนาวุธ งานควบคุมทางอวกาศ
2. Mainframe Computers  

เป็ นเคร่ ืองคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่ี
มีการพัฒนามาตังแต่เร่ิมแรก เหตุท่ี
                 ้
เรียกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
เพราะตัวเคร่ ืองประกอบด้วยตู้ขนาด
ใหญ่ท่ีภายในตู้มีชนส่วนและ
                   ิ้
อุปกรณ์ต่าง ๆ อยู่เป็ นจำานวนมาก มี
ราคาสูงมาก มักอยู่ท่ศูนย์
                      ี
คอมพิวเตอร์หลักขององค์การ และ
ต้องอยู่ในห้องท่ีมีการควบคุม
อุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเป็ น
อย่างดี ข้อเด่นของการใช้เมนเฟรม
อยู่ท่งานท่ีต้องการให้มีระบบ
      ี                               10
ศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานไป
เป็ นจำานวนมาก เช่นระบบเอทีเอ็ม
3. Minicomputers
 มินิคอมพิวเตอร์เป็ นเคร่ ืองท่ีสามารถใช้งานพร้อม ๆ กันได้หลายคน
 จึงมีเคร่ ืองปลายทางต่อได้ มินิคอมพิวเตอร์เป็ นคอมพิวเตอร์ท่ีมี
 ราคาสูง นำ ามาใช้สำาหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององค์การ
 ขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่ท่ีมีการวางระบบเป็ นเครือข่าย
 เพ่ ือใช้งานร่วมกัน เช่น งานบัญชีและการเงิน งานออกแบบทาง
 วิศวกรรม งานควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม มินิ
 คอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์ท่ีสำาคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ขององค์การท่ีเรียกว่าเคร่ ืองให้บริการ (server) มีหน้ าท่ีให้บริการกับ
 ผู้ใช้บริการ (client) เช่น ให้บริการแฟ้ มข้อมูล ให้บริการข้อมูล ให้
 บริการช่วยในการคำานวณ และการส่ ือสาร


                                                                          11
4. Microcomputers
ไมโครคอมพิวเตอร์เป็ นเคร่ ือง
คอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็ก ซ่ึง
สามารถใช้เป็ นเคร่ ืองต่อเช่ ือมใน
เครือข่าย หรือใช้เป็ นเคร่ ืองปลาย
ทาง (terminal) ซ่ึงอาจจะทำาหน้ าท่ี
เป็ นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผล
สำาหรับป้ อนข้อมูลและดูผลลัพธ์
โดยดำาเนิ นการการประมวลผลบน
เคร่ ืองอ่ ืนในเครือข่าย โดยส่วน
ใหญ่ไมโครคอมพิวเตอร์ท่ีพบเห็น
กันจะเป็ นคอมพิวเตอร์พีซี
(Personal Computer : PC) ซ่ ึง
ออกแบบตามมาตรฐานของ IBM               12
แต่ยังมีไมโครคอมพิวเตอร์อีก
ประเภทหน่ึง ท่ีนิยมใช้ในงานสิง
5. Notebook computers or Laptops 




                                    13
6. Personal Digital Assistants ( PDAs )  




                                            14
7. Handheld Computer  




                         15
คุณรู้หรือไม่ว่าการ
    ทำางานของ
คอมพิวเตอร์มีหลักการ
       อย่างไร
                  16
การทำางานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ไม่วาจะเป็ นประเภทใดก็ตาม จะมี
                ่
ลักษณะการทำางานของส่วนต่างๆ
ท่ีมีความสัมพันธ์กนเป็ นกระบวนการ  โดยมีองค์
                    ั
ประกอบพ้ืนฐานหลักคือ  INPUT,  PROCESS และ
OUTPUT   ซ่ งมีขันตอนการทำางานดังภาพ
            ึ     ้
   Input             Process           Output




    รับ            ประมวล             แสดง
  ขูอม้ล           ผลขูอม้ล          ผลลัพธ์    17


   เขูา
การทำางานของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ขันตอนท่ี 1 : รับขูอม้ลเขูา (Input)
  ้
เร่ิมต้นด้วยการนำ าข้อมูลเข้าเคร่ องคอมพิวเตอร์   ง
                                  ื              ซ่ ึ
สามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิ ดต่างๆ แล้วแต่ชนิ ดของ
ข้อมูลท่ีจะป้ อนเข้าไป เช่น  ถ้าเป็ นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้
แผงแป้ นพิมพ์ (Keyboard) เพ่ อพิมพ์ข้อความหรือ
                              ื
โปรแกรมเข้าเคร่ อง  ถ้าเป็ นการเขียนภาพจะใช้เคร่ อง
                 ื                                    ื
อ่านพิกัดภาพกราฟิ ค (Graphics Tablet) โดยมีปากกาชนิ ด
พิเศษสำาหรับเขียนภาพ  หรือถ้าเป็ นการเล่นเกมก็จะมี
ก้านควบคุม (Joystick) สำาหรับเคล่ อนตำาแหน่ งของการ
                                    ื
เล่นบนจอภาพ เป็ นต้น                                       18
Graphics Tablet

                  19
การทำางานของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ขันตอนท่ี 2 : ประมวลผลขูอม้ล (Process)
  ้
เม่ อนำ าข้อมูลเข้ามาแล้ว เคร่ ืองจะดำาเนิ นการกับข้อมูล
    ื
ตามคำาสังท่ได้รับมาเพ่ ือให้ได้ผลลัพธ์ตามท่ต้องการ การ
           ่ ี                                ี
ประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่าง เช่น นำ าข้อมูลมาหาผล
รวม นำ าข้อมูลมาจัดกลุ่ม  าข้อมูลมาหาค่ามากท่ีสด
                            นำ                       ุ
หรือน้ อยท่สุด เป็ นต้น
             ี

ขันตอนท่ี 3 : แสดงผลลัพธ์ (Output)
  ้
เป็ นการนำ าผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบ
ทางอุปกรณ์ท่กำาหนดไว้  โดยทัวไปจะแสดงผ่านทาง
              ี               ่                            20

จอภาพ หรือเรียกกันโดยทัวไปว่า "จอมอนิ เตอร์" 
                           ่
(Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์
1.   เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ (electronic device)
2.   ทำางานโดยอัตโนมัติ (automatically)
3.   มีความเร็วในการประมวลผลสูง (high speed 
     processing)
4.   มีความถูกต้อง แม่นยำา ในการประมวลผล
     (accuracy storage)
5.   มีหน่ วยความจำาภายใน (internal memory)
6.   สามารถจัดเก็บข้อมูลไว้ภายนอกได้ (external 
     storage)
7.   สามารถประยุกต์ใช้งานได้กว้าง (wide                21


     application)
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1.   งานธุรกิจ
2.   งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงาน
     สาธารณสุข
3.   งานคมนาคมและส่ ือสาร
4.   งานราชการ
5.   งานวิศวกรรมและสถาปั ตยกรรม
6.   การศึกษา


                                      22
ส่วนประกอบท่ีสำาคัญของระบบ
คอมพิวเตอร์
1.   บุคลากร (People ware) 
2.   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
3.   ซอฟต์แวร์ (Software)
4.   ข้อมูล (Data) 
5.   การส่ ือสารข้อมูล (Communication)



                                         23
1.บุคลากร (PEOPLEWARE)

เราสามารถแยกประเภทของบุคลากรท่เก่ยวข้องกับ
                                         ี ี
ระบบงานคอมพิวเตอร์ในด้านต่าง ๆ ได้ดังนี้
1. ผู้ใช้งาน (End­users) คือบุคคลท่ีใช้คอมพิวเตอร์ทัว่
ๆ ไป
2. นั กวิเคราะห์ระบบงาน (System Analyst) เป็ นบุคคล
ท่มีหน้ าท่ีพิจารณาว่าองค์กรควรจะใช้คอมพิวเตอร์
  ี
ในลักษณะใดจึงจะเหมาะสม เพ่ ือให้คุณภาพงานดี
เป็ นผู้ออกแบบโปรแกรมก่อนท่ีจะส่งงานไปให้
โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรม
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) เป็ นผู้เขียน
โปรแกรมตามท่ีนักวิเคราะห์ระบบงานกำาหนด เพ่ ือ
ให้ได้โปรแกรมท่ีตองการตามวัตถุประสงค์การใช้
                   ้
งานขององค์กร
                                                           24


4. ผู้บริหารระบบงาน (Administrator) เป็ นผู้ท่มีหน้ าท่ี
                                              ี
2.ฮาร์ดแวร์ (HARDWARE)

หมายถึง ส่วนประกอบของอุปกรณ์ท่เป็ นตัวี
เคร่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ท่ี
     ื
ใช้รวมกับคอมพิวเตอร์ ซ่ ึงสามารถจับต้องได้ เช่น
       ่
แป้ นพิมพ์ จอภาพ เมาส์ เคร่ ืองพิมพ์ เป็ นต้น ซ่ง
                                                ึ
เราสามารถแบ่งกลุ่มตามหน้ าท่อุปกรณ์แต่ละตัว
                               ี
ได้ดังภาพInput        CPU               Output




                                                    25
                      Memory
1.หน่ วยรับขูอม้ล (INPUT UNIT)

 เช่น Keyboard, Mouse,  Scanner, Joystick, Touch 
  Screen, Digital camera




                                                    26
2.หน่ วยประมวลผลกลาง (CENTRAL 
PROCESSING UNIT: CPU)

ทำาหน้ าท่ในการประมวลผล แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ
          ี
 หน่ วยควบคุม (control unit: CU) ทำาหน้ าท่ควบคุม
                                                ี
    การทำางาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่าง
    หน่ วยความจำาของซีพียู ควบคุมกลไกการทำางาน
    ทังหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมี
      ้
    สัญญาณนาฬกาเป็ นตัวกำาหนดจังหวะการทำางาน
                 ิ
 หน่ วยคำานวณและตรรกะ (arithmetic and logic 
    unit: ALU) เป็ นหน่ วยท่มีหน้ าท่ีนำาเอาข้อมูลท่ีเป็ น
                            ี
    ตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทางคณิ ตศาสตร์
    และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ                27
    และ การสลับตัวเลข เป็ นต้น การคำานวณทำาได้เร็ว
    ตามจังหวะการควบคุมของหน่ วยควบคุม
บริษัทผูผลิตซีพยูมีอยู่หลายบริษัท แต่ที่นยมใช้
        ้      ี                         ิ
มาจาก 3 ค่ายหลัก ได้แก่

 อินเทล (Intel) คือบริษัทเก่าแก่ที่เป็นผู้นำา
 ทางด้านเทคโนโลยีการผลิตซีพียู ซึ่งมีการ
 พัฒนามาอย่างต่อเนือง และยาวนานที่สด
                        ่                ุ
 เอเอ็มดี (AMD) เป็นบริษัทคู่แข่งที่สำาคัญ
 ของอินเทล ปัจจุบนซีพียูจากค่ายเอเอ็มดีมี
                     ั
 ประสิทธิภาพสูงมากจนเป็นที่ยอมรับของตลาด
 และกำาลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ
 ไซริกส์ (Cyrix) ปัจจุบันยังได้รับความนิยม
 น้อยอยู่เมื่อเทียบกับซีพียูจากอินเทลและเอเอ็ 28
 มดี แต่ก็เป็นซีพียูที่มีราคาถูกและมีคุณภาพ
หน้าตาของเจ้า CPU




                    29
หน้าตาของเจ้า CPU




                    30
หน้าตาของเจ้า CPU




                    31
3.หน่ วยความจำา (MEMORY UNIT) 
ทำาหน้ าท่ีในการเก็บข้อมูลหรือคำาสังต่างๆ ท่ีรบจากภายนอก
                                   ่          ั
เข้ามาเก็บไว้เพ่ ือประมวลผลและยังเก็บผลท่ีได้จากการ
ประมวลผลไว้เพ่ ือแสดงผลอีกด้วย แบ่งออกเป็ น
2.หน่ วยความจำาหลัก มีหน้ าท่ีในการเก็บ ข้อมูล และ
โปรแกรม ท่จะให้ซีพยู เรียกไปใช้งานได้ แบ่งเป็ น 2 
           ี      ี
ประเภท คือ
     Random Access Memory (RAM) จะเก็บข้อมูล   ไว้ตราบเท่า
      ท่ี กระแสไฟฟ้ า จ่าย ให้วงจร หาก ไฟฟ้ าดับ เม่ ือไร
      ข้อมูล ก็จะสูญหาย ทันที
     Read Only Memory (ROM) จะอยู่อย่างถาวร แม้จะปิ ด
      เคร่ ือง ข้อมูลหรือโปรแกรม ก็จะไม่ถูกลบไป
3.หน่ วยความจำาสำารอง   เป็ น หน่ วยความจำาภายนอก ซ่งึ        32
เป็ นอุปกรณ์ท่ีทำาหน้ าท่ในการจัดเก็บสำารองข้อมูลของ
                         ี
คอมพิวเตอร์ไว้อย่างถาวร เช่น Harddisk, Thumb drive, 
RAM




      33
RAM




      34
ROM




      35
Harddisk (internal)




                      36
Harddisk (internal)




                      37
Harddisk (external)




                      38
Thumb drive




              39
3.ซอฟท์แวร์ (SOFTWARE)

หมายถึง ข้อมูลท่เป็ นชุดของคำาสัง (Instruction Set) 
                   ี               ่
ซ่ ึงสามารถสังงานคอมพิวเตอร์ให้ประมวลผลหรือ
               ่
ทำางานตามคำาสังได้อย่างอัติโนมัติ ตังแต่เร่มต้นจน
                 ่                     ้   ิ
จบการทำางาน โดยจะมีมนุษย์เข้าไปเก่ยวข้องน้ อย
                                         ี
ท่สุด หรือท่ีเราเรียกอีกอย่างหน่ ึงว่า โปรแกรม
    ี
(Program) ซ่ งเราไม่สามารถจับได้โดยตรง
             ึ
ซอฟต์แวร์นั้นจะถูกจัดเก็บไว้ในส่ ือบันทึกข้อมูล
ของ ได้แก่ แผ่นดิสก์ (Diskette) ฮาร์ดดิสก์
(Hardisk) หรือแผ่นซีด­รอม (CD­ROM)
                       ี
                                                       40
ซอฟท์แวร์ (SOFTWARE)




                       41
ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 
ประเภท คือ
2.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) 
3.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)




                                             42
4.ขูอม้ล (DATA)

หมายถึง รายละเอียด ข้อเท็จจริงต่าง ๆ เก่ยวกับ
                                        ี
บุคคล ส่ิงของ สถานท่ี หรือ เหตุการณ์ และได้นำา
ข้อมูลเข้าสู่ระบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์
เราสามารถแบ่งข้อมูลออกเป็ นได้หลายชนิ ด เช่น
ข้อมูลตัวเลข ข้อมูลตัวอักษรและสัญลักษณ์ต่าง ๆ
ข้อมูลเสียง ข้อมูลภาพ เป็ นต้น



                                                 43
5.การส่ ือสารขูอม้ล (COMMUNICATION)

หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศจากท่ี
หน่ ึงไปยังอีกท่ีหน่ ึง โดยใช้อุปกรณ์อิเลคทรอนิ กส์
เป็ นตัวกลางในการส่ ือสาร




                                                      44
งานให้ค้นหาข้อมูลดังต่อไปนี้ (
เขียนลงกระดาษ A4)
 ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
 คืออะไร
 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows คือ
 อะไร
 ระบบปฏิบัติการ Linux คืออะไร



                                         45
www.google.com




                 46
เฉลย
assignments


              47
ระบบปฏิบัติการ ( Operation 
System ) คืออะไร

 ระบบปฏิบติการ คือซอฟแวร์ตัวหนึ่งทีถูกสร้าง
               ั                          ่
 ขึ้นมาเพื่อให้ ผู้ใช้ ใช้คอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น
                 1. ติดต่อกับผู้ใช้
                 2. ควบคุมอุปกรณ์ ( ฮาร์ดแวร์ ) 
              3. จัดสรรทรัพยากรในระบบให้
 ทำางานได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม


                                                   48
ระบบปฏิบัติการที่รบรู้จักกันดีคือ
                  ั
windows ไงครับ




                                    49
ระบบปฏิบัตการ Microsoft 
          ิ
Windows คือ

ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft
Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนา
โดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ.
2528
 (ค.ศ. 1985) และครองความนิยมในตลาด
คอมพิวเตอร์สวนบุคคล
             ่



                                          50
Bill Gates, Business Personality 

รษฐีอันดับ 1 ของโลก
 วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สำม (เกิด 28 ตุลาคม
 ค.ศ. 1955) หรือที่มักเป็นทีรู้จักในชือ บิลล์
                             ่        ่
 เกตส์ เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกน และหนึ่งในผูก่อ
                                ั             ้
 ตั้งบริษทไมโครซอฟท์ เขากับผู้บุกเบิกด้าน
         ั
 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคนอื่น ๆ ได้ร่วมกันเขียน
 ต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิก ซึ่งเป็น
 อินเตอร์เพรเตอร์สำาหรับเครื่องอัลแตร์ 8800 (เค่รื่
 องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในยุคแรกๆ) เขาได้ร่วม
 กับ นายพอล อัลเลน ก่อตั้งไมโครซอฟท์ คอร์             51

 ปอเรชันขึ้น ซึ่งในขณะนี้เขาดำารงตำาแหน่ง
 ประธานคณะกรรมการบริหาร และ
Linux คืออะไร
ลินุกซ์ (Linux) และรูจักในชื่อ กนู/ลินุกซ์
                       ้
  (GNU/Linux) คือ
ระบบปฏิบติการที่นยมตัวหนึ่งในฐานะ
          ั         ิ
  ซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์
โอเพนซอร์ส ลินุกซ์มีลักษณะคล้ายระบบปฏิบติ  ั
  การยูนิกซ์ โดยมีลินุกซ์
 เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำางานร่วมกับไลบรารี
  และเครื่องมืออื่น ลินกซ์
                         ุ
นิยมจำาหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพค          52

  เกจ โดยผู้จัดทำาจะรวม
ประวัติ ของ Linux
ผู้เริมพัฒนาลินุกซ์เป็นคนแรก คือ ลีนุส ทอร์วัลด์ส
      ่
    (Linus Torvalds)
ชาวฟินแลนด์ เมื่อสมัยที่เขายังเป็นนักศึกษา
    คอมพิวเตอร์
ที่มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ ปี พ.ศ. 2526
    ริชาร์ด สตอลแมน (Richard Stallman)
ได้ก่อตั้งโครงการกนูขึ้น จุดมุ่งหมายโครงการกนู คือ
    ต้องการพัฒนา
ระบบปฏิบัติการคล้ายยูนิกซ์ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรีทั้งระบบ
    ราวช่วงพ.ศ. 2533
โครงการกนูมส่วนโปรแกรมที่จำาเป็นสำาหรับระบบปฏิบัติ
               ี                                         53
    การเกือบครบทั้งหมด
 ได้แก่ คลังโปรแกรม คอมไพเลอร์

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปpeter dontoom
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์Pajaree Nucknick
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลYeah Pitloke
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาAo Krubz
 
โบราณสถาน ป.1 +517+55t2his p01 f01-1page
โบราณสถาน ป.1  +517+55t2his p01 f01-1pageโบราณสถาน ป.1  +517+55t2his p01 f01-1page
โบราณสถาน ป.1 +517+55t2his p01 f01-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 

Tendances (20)

ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 
โบราณสถาน ป.1 +517+55t2his p01 f01-1page
โบราณสถาน ป.1  +517+55t2his p01 f01-1pageโบราณสถาน ป.1  +517+55t2his p01 f01-1page
โบราณสถาน ป.1 +517+55t2his p01 f01-1page
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
ชุดการสอน
ชุดการสอนชุดการสอน
ชุดการสอน
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
สถิติ เบื้องต้น 2
สถิติ เบื้องต้น 2สถิติ เบื้องต้น 2
สถิติ เบื้องต้น 2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 

Similaire à คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา (20)

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

Plus de Jenchoke Tachagomain

Introduction to On-line Documemt Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt  Lect05 Web ProcessIntroduction to On-line Documemt  Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt Lect05 Web ProcessJenchoke Tachagomain
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E CommerceJenchoke Tachagomain
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02Jenchoke Tachagomain
 
Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4Jenchoke Tachagomain
 
Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04Jenchoke Tachagomain
 

Plus de Jenchoke Tachagomain (20)

Digital Transformation
Digital TransformationDigital Transformation
Digital Transformation
 
Android programming
Android programmingAndroid programming
Android programming
 
Android architecture
Android architectureAndroid architecture
Android architecture
 
Lect 08 Css
Lect 08 CssLect 08 Css
Lect 08 Css
 
Lect07 Page Design
Lect07 Page DesignLect07 Page Design
Lect07 Page Design
 
Lect06 Web Design
Lect06 Web DesignLect06 Web Design
Lect06 Web Design
 
Introduction to On-line Documemt Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt  Lect05 Web ProcessIntroduction to On-line Documemt  Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt Lect05 Web Process
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02
 
Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4
 
Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3
 
Lab 2 For Css
Lab 2 For CssLab 2 For Css
Lab 2 For Css
 
Rss
RssRss
Rss
 
Digital Content Business
Digital Content BusinessDigital Content Business
Digital Content Business
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
 

คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา

  • 1. คอมพิวเตอร์สำำหรับ บัณฑิตศึกษำ 1 อ.เจนโชค เตชะโกเม นท์ jenchoke@hotmail.co
  • 2. Course Description  ความรูและทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ที่ ้ จำาเป็นและมีความสำาคัญต่อการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา เน้นทักษะการใช้เพื่อสืบค้น ข้อมูลและใช้งานอินเตอร์เน็ต ทักษะการ รวบรวมข้อมูลทางวิชาการ จัดทำาสารสนเทศ และการนำาเสนอรายงาน 2
  • 3. Course Objectives  • เพื่อให้เข้าใจความหมายและความสำาคัญของเทคโนโลยี สารสนเทศ • เพื่อให้ทราบถึงความสำาคัญของคอมพิวเตอร์ตอการ ่ ศึกษา • เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับอินเตอร์เน็ต และการ ่ ใช้งานอินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่น 3 • เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับข้อมูลและระบบการ ่ จัดการข้อมูล • เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับการสืบค้นและค้นหา ่
  • 4. คอมพิวเตอร์สำำหรับ บัณฑิตศึกษำ 4 อ.เจนโชค เตชะ โกเมนท์ jenchoke@hotm
  • 6. ความหมายของคอมพิวเตอร์  คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซ่ ึง หมายถึง การนั บ หรือ การคำานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความ หมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เคร่ อง ื อิเล็กทรอนิ กส์แบบอัตโนมัติ ทำาหน้ าท่เหมือน ี สมองกล  สำาหรับแก้ปัญหาต่างๆ  ีง่ายและซับ ใช้ ท่ ซ้อนโดยวิธีทางคณิ ตศาสตร์"  6
  • 7. ความหมายของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  คอมพิวเตอร์จึงเป็ นเคร่ ืองจักรอิเล็กทรอนิ กส์ท่ีถูก สร้างขึ้นเพ่ อใช้ทำางานแทนมนุษย์ ในด้านการคิด ื คำานวณและสามารถจำาข้อมูล ทังตัวเลขและตัว ้ อักษรได้เพ่ อการเรียกใช้งานในครังต่อไป   ื ้ นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขันตอนของ ้ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้าน ต่างๆ อีกมาก อาทิเช่น  การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์  การรับส่งข้อมูล 7  การจัดเก็บข้อมูลในตัวเคร่ ือง
  • 8. ประเภทของคอมพิวเตอร์ การจัดแบ่งประเภทของ เคร่ องคอมพิวเตอร์ จะ ื อาศัยความเร็วของการ ประมวลผล และขนาดความจำา ของหน่ วยบันทึก ข้อมูล ซ่ ึงสามารถแบ่งได้ เป็ น 7 ประเภท ได้แก่ 1. Supercomputers  2. Mainframe Computers  3. Minicomputers  4. Microcomputers (PC – Personal Computer) 5. Notebook computers (Laptop) 8 6. Personal Digital Assistants (PDAs) 7. Handheld Computer 
  • 9. 1. Supercomputers  ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เป็ นเคร่ ือง คอมพิวเตอร์ท่ีเหมาะกับงาน คำานวณท่ีต้องมีการคำานวณ ตัวเลขจำานวนหลายล้านตัว ภายในเวลาอันรวดเร็ว เช่น งาน พยากรณ์อากาศ ท่ีต้องนำ าข้อมูล ต่าง ๆ เก่ียวกับอากาศทังระดับ ้ ภาคพ้ืนดิน และระดับชัน ้ บรรยากาศเพ่ ือดูการเคล่ ือนไหว และการเปล่ียนแปลงของอากาศ นอกจากนี้มีงานอีกเป็ นจำานวน มากท่ีต้องใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ซ่ึงมีความเร็วสูง เช่น งานควบคุม 9 ขีปนาวุธ งานควบคุมทางอวกาศ
  • 10. 2. Mainframe Computers   เป็ นเคร่ ืองคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่ี มีการพัฒนามาตังแต่เร่ิมแรก เหตุท่ี ้ เรียกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เพราะตัวเคร่ ืองประกอบด้วยตู้ขนาด ใหญ่ท่ีภายในตู้มีชนส่วนและ ิ้ อุปกรณ์ต่าง ๆ อยู่เป็ นจำานวนมาก มี ราคาสูงมาก มักอยู่ท่ศูนย์ ี คอมพิวเตอร์หลักขององค์การ และ ต้องอยู่ในห้องท่ีมีการควบคุม อุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเป็ น อย่างดี ข้อเด่นของการใช้เมนเฟรม อยู่ท่งานท่ีต้องการให้มีระบบ ี 10 ศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานไป เป็ นจำานวนมาก เช่นระบบเอทีเอ็ม
  • 11. 3. Minicomputers มินิคอมพิวเตอร์เป็ นเคร่ ืองท่ีสามารถใช้งานพร้อม ๆ กันได้หลายคน จึงมีเคร่ ืองปลายทางต่อได้ มินิคอมพิวเตอร์เป็ นคอมพิวเตอร์ท่ีมี ราคาสูง นำ ามาใช้สำาหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององค์การ ขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่ท่ีมีการวางระบบเป็ นเครือข่าย เพ่ ือใช้งานร่วมกัน เช่น งานบัญชีและการเงิน งานออกแบบทาง วิศวกรรม งานควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม มินิ คอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์ท่ีสำาคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขององค์การท่ีเรียกว่าเคร่ ืองให้บริการ (server) มีหน้ าท่ีให้บริการกับ ผู้ใช้บริการ (client) เช่น ให้บริการแฟ้ มข้อมูล ให้บริการข้อมูล ให้ บริการช่วยในการคำานวณ และการส่ ือสาร 11
  • 12. 4. Microcomputers ไมโครคอมพิวเตอร์เป็ นเคร่ ือง คอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็ก ซ่ึง สามารถใช้เป็ นเคร่ ืองต่อเช่ ือมใน เครือข่าย หรือใช้เป็ นเคร่ ืองปลาย ทาง (terminal) ซ่ึงอาจจะทำาหน้ าท่ี เป็ นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผล สำาหรับป้ อนข้อมูลและดูผลลัพธ์ โดยดำาเนิ นการการประมวลผลบน เคร่ ืองอ่ ืนในเครือข่าย โดยส่วน ใหญ่ไมโครคอมพิวเตอร์ท่ีพบเห็น กันจะเป็ นคอมพิวเตอร์พีซี (Personal Computer : PC) ซ่ ึง ออกแบบตามมาตรฐานของ IBM  12 แต่ยังมีไมโครคอมพิวเตอร์อีก ประเภทหน่ึง ท่ีนิยมใช้ในงานสิง
  • 16. คุณรู้หรือไม่ว่าการ ทำางานของ คอมพิวเตอร์มีหลักการ อย่างไร 16
  • 17. การทำางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ไม่วาจะเป็ นประเภทใดก็ตาม จะมี ่ ลักษณะการทำางานของส่วนต่างๆ ท่ีมีความสัมพันธ์กนเป็ นกระบวนการ  โดยมีองค์ ั ประกอบพ้ืนฐานหลักคือ  INPUT,  PROCESS และ OUTPUT   ซ่ งมีขันตอนการทำางานดังภาพ ึ ้ Input Process Output รับ ประมวล แสดง ขูอม้ล ผลขูอม้ล ผลลัพธ์ 17 เขูา
  • 18. การทำางานของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ขันตอนท่ี 1 : รับขูอม้ลเขูา (Input) ้ เร่ิมต้นด้วยการนำ าข้อมูลเข้าเคร่ องคอมพิวเตอร์   ง ื ซ่ ึ สามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิ ดต่างๆ แล้วแต่ชนิ ดของ ข้อมูลท่ีจะป้ อนเข้าไป เช่น  ถ้าเป็ นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้ แผงแป้ นพิมพ์ (Keyboard) เพ่ อพิมพ์ข้อความหรือ ื โปรแกรมเข้าเคร่ อง  ถ้าเป็ นการเขียนภาพจะใช้เคร่ อง ื ื อ่านพิกัดภาพกราฟิ ค (Graphics Tablet) โดยมีปากกาชนิ ด พิเศษสำาหรับเขียนภาพ  หรือถ้าเป็ นการเล่นเกมก็จะมี ก้านควบคุม (Joystick) สำาหรับเคล่ อนตำาแหน่ งของการ ื เล่นบนจอภาพ เป็ นต้น 18
  • 20. การทำางานของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ขันตอนท่ี 2 : ประมวลผลขูอม้ล (Process) ้ เม่ อนำ าข้อมูลเข้ามาแล้ว เคร่ ืองจะดำาเนิ นการกับข้อมูล ื ตามคำาสังท่ได้รับมาเพ่ ือให้ได้ผลลัพธ์ตามท่ต้องการ การ ่ ี ี ประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่าง เช่น นำ าข้อมูลมาหาผล รวม นำ าข้อมูลมาจัดกลุ่ม  าข้อมูลมาหาค่ามากท่ีสด นำ ุ หรือน้ อยท่สุด เป็ นต้น ี ขันตอนท่ี 3 : แสดงผลลัพธ์ (Output) ้ เป็ นการนำ าผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบ ทางอุปกรณ์ท่กำาหนดไว้  โดยทัวไปจะแสดงผ่านทาง ี ่ 20 จอภาพ หรือเรียกกันโดยทัวไปว่า "จอมอนิ เตอร์"  ่ (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้
  • 21. ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ 1. เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ (electronic device) 2. ทำางานโดยอัตโนมัติ (automatically) 3. มีความเร็วในการประมวลผลสูง (high speed  processing) 4. มีความถูกต้อง แม่นยำา ในการประมวลผล (accuracy storage) 5. มีหน่ วยความจำาภายใน (internal memory) 6. สามารถจัดเก็บข้อมูลไว้ภายนอกได้ (external  storage) 7. สามารถประยุกต์ใช้งานได้กว้าง (wide  21 application)
  • 22. ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 1. งานธุรกิจ 2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงาน สาธารณสุข 3. งานคมนาคมและส่ ือสาร 4. งานราชการ 5. งานวิศวกรรมและสถาปั ตยกรรม 6. การศึกษา 22
  • 23. ส่วนประกอบท่ีสำาคัญของระบบ คอมพิวเตอร์ 1. บุคลากร (People ware)  2. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 3. ซอฟต์แวร์ (Software) 4. ข้อมูล (Data)  5. การส่ ือสารข้อมูล (Communication) 23
  • 24. 1.บุคลากร (PEOPLEWARE) เราสามารถแยกประเภทของบุคลากรท่เก่ยวข้องกับ ี ี ระบบงานคอมพิวเตอร์ในด้านต่าง ๆ ได้ดังนี้ 1. ผู้ใช้งาน (End­users) คือบุคคลท่ีใช้คอมพิวเตอร์ทัว่ ๆ ไป 2. นั กวิเคราะห์ระบบงาน (System Analyst) เป็ นบุคคล ท่มีหน้ าท่ีพิจารณาว่าองค์กรควรจะใช้คอมพิวเตอร์ ี ในลักษณะใดจึงจะเหมาะสม เพ่ ือให้คุณภาพงานดี เป็ นผู้ออกแบบโปรแกรมก่อนท่ีจะส่งงานไปให้ โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรม 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) เป็ นผู้เขียน โปรแกรมตามท่ีนักวิเคราะห์ระบบงานกำาหนด เพ่ ือ ให้ได้โปรแกรมท่ีตองการตามวัตถุประสงค์การใช้ ้ งานขององค์กร 24 4. ผู้บริหารระบบงาน (Administrator) เป็ นผู้ท่มีหน้ าท่ี ี
  • 25. 2.ฮาร์ดแวร์ (HARDWARE) หมายถึง ส่วนประกอบของอุปกรณ์ท่เป็ นตัวี เคร่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ท่ี ื ใช้รวมกับคอมพิวเตอร์ ซ่ ึงสามารถจับต้องได้ เช่น ่ แป้ นพิมพ์ จอภาพ เมาส์ เคร่ ืองพิมพ์ เป็ นต้น ซ่ง ึ เราสามารถแบ่งกลุ่มตามหน้ าท่อุปกรณ์แต่ละตัว ี ได้ดังภาพInput CPU Output 25 Memory
  • 26. 1.หน่ วยรับขูอม้ล (INPUT UNIT) เช่น Keyboard, Mouse,  Scanner, Joystick, Touch  Screen, Digital camera 26
  • 27. 2.หน่ วยประมวลผลกลาง (CENTRAL  PROCESSING UNIT: CPU) ทำาหน้ าท่ในการประมวลผล แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ ี  หน่ วยควบคุม (control unit: CU) ทำาหน้ าท่ควบคุม ี การทำางาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่าง หน่ วยความจำาของซีพียู ควบคุมกลไกการทำางาน ทังหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมี ้ สัญญาณนาฬกาเป็ นตัวกำาหนดจังหวะการทำางาน ิ  หน่ วยคำานวณและตรรกะ (arithmetic and logic  unit: ALU) เป็ นหน่ วยท่มีหน้ าท่ีนำาเอาข้อมูลท่ีเป็ น ี ตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทางคณิ ตศาสตร์ และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ 27 และ การสลับตัวเลข เป็ นต้น การคำานวณทำาได้เร็ว ตามจังหวะการควบคุมของหน่ วยควบคุม
  • 28. บริษัทผูผลิตซีพยูมีอยู่หลายบริษัท แต่ที่นยมใช้ ้ ี ิ มาจาก 3 ค่ายหลัก ได้แก่  อินเทล (Intel) คือบริษัทเก่าแก่ที่เป็นผู้นำา ทางด้านเทคโนโลยีการผลิตซีพียู ซึ่งมีการ พัฒนามาอย่างต่อเนือง และยาวนานที่สด ่ ุ  เอเอ็มดี (AMD) เป็นบริษัทคู่แข่งที่สำาคัญ ของอินเทล ปัจจุบนซีพียูจากค่ายเอเอ็มดีมี ั ประสิทธิภาพสูงมากจนเป็นที่ยอมรับของตลาด และกำาลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ  ไซริกส์ (Cyrix) ปัจจุบันยังได้รับความนิยม น้อยอยู่เมื่อเทียบกับซีพียูจากอินเทลและเอเอ็ 28 มดี แต่ก็เป็นซีพียูที่มีราคาถูกและมีคุณภาพ
  • 32. 3.หน่ วยความจำา (MEMORY UNIT)  ทำาหน้ าท่ีในการเก็บข้อมูลหรือคำาสังต่างๆ ท่ีรบจากภายนอก ่ ั เข้ามาเก็บไว้เพ่ ือประมวลผลและยังเก็บผลท่ีได้จากการ ประมวลผลไว้เพ่ ือแสดงผลอีกด้วย แบ่งออกเป็ น 2.หน่ วยความจำาหลัก มีหน้ าท่ีในการเก็บ ข้อมูล และ โปรแกรม ท่จะให้ซีพยู เรียกไปใช้งานได้ แบ่งเป็ น 2  ี ี ประเภท คือ  Random Access Memory (RAM) จะเก็บข้อมูล ไว้ตราบเท่า ท่ี กระแสไฟฟ้ า จ่าย ให้วงจร หาก ไฟฟ้ าดับ เม่ ือไร ข้อมูล ก็จะสูญหาย ทันที  Read Only Memory (ROM) จะอยู่อย่างถาวร แม้จะปิ ด เคร่ ือง ข้อมูลหรือโปรแกรม ก็จะไม่ถูกลบไป 3.หน่ วยความจำาสำารอง เป็ น หน่ วยความจำาภายนอก ซ่งึ 32 เป็ นอุปกรณ์ท่ีทำาหน้ าท่ในการจัดเก็บสำารองข้อมูลของ ี คอมพิวเตอร์ไว้อย่างถาวร เช่น Harddisk, Thumb drive, 
  • 33. RAM 33
  • 34. RAM 34
  • 35. ROM 35
  • 40. 3.ซอฟท์แวร์ (SOFTWARE) หมายถึง ข้อมูลท่เป็ นชุดของคำาสัง (Instruction Set)  ี ่ ซ่ ึงสามารถสังงานคอมพิวเตอร์ให้ประมวลผลหรือ ่ ทำางานตามคำาสังได้อย่างอัติโนมัติ ตังแต่เร่มต้นจน ่ ้ ิ จบการทำางาน โดยจะมีมนุษย์เข้าไปเก่ยวข้องน้ อย ี ท่สุด หรือท่ีเราเรียกอีกอย่างหน่ ึงว่า โปรแกรม ี (Program) ซ่ งเราไม่สามารถจับได้โดยตรง ึ ซอฟต์แวร์นั้นจะถูกจัดเก็บไว้ในส่ ือบันทึกข้อมูล ของ ได้แก่ แผ่นดิสก์ (Diskette) ฮาร์ดดิสก์ (Hardisk) หรือแผ่นซีด­รอม (CD­ROM) ี 40
  • 42. ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2  ประเภท คือ 2.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)  3.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 42
  • 43. 4.ขูอม้ล (DATA) หมายถึง รายละเอียด ข้อเท็จจริงต่าง ๆ เก่ยวกับ ี บุคคล ส่ิงของ สถานท่ี หรือ เหตุการณ์ และได้นำา ข้อมูลเข้าสู่ระบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เราสามารถแบ่งข้อมูลออกเป็ นได้หลายชนิ ด เช่น ข้อมูลตัวเลข ข้อมูลตัวอักษรและสัญลักษณ์ต่าง ๆ ข้อมูลเสียง ข้อมูลภาพ เป็ นต้น 43
  • 44. 5.การส่ ือสารขูอม้ล (COMMUNICATION) หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศจากท่ี หน่ ึงไปยังอีกท่ีหน่ ึง โดยใช้อุปกรณ์อิเลคทรอนิ กส์ เป็ นตัวกลางในการส่ ือสาร 44
  • 45. งานให้ค้นหาข้อมูลดังต่อไปนี้ ( เขียนลงกระดาษ A4)  ระบบปฏิบัติการ (Operating System) คืออะไร  ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows คือ อะไร  ระบบปฏิบัติการ Linux คืออะไร 45
  • 48. ระบบปฏิบัติการ ( Operation  System ) คืออะไร ระบบปฏิบติการ คือซอฟแวร์ตัวหนึ่งทีถูกสร้าง ั ่ ขึ้นมาเพื่อให้ ผู้ใช้ ใช้คอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น 1. ติดต่อกับผู้ใช้ 2. ควบคุมอุปกรณ์ ( ฮาร์ดแวร์ )               3. จัดสรรทรัพยากรในระบบให้ ทำางานได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม 48
  • 50. ระบบปฏิบัตการ Microsoft  ิ Windows คือ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนา โดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985) และครองความนิยมในตลาด คอมพิวเตอร์สวนบุคคล ่ 50
  • 51. Bill Gates, Business Personality  รษฐีอันดับ 1 ของโลก วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สำม (เกิด 28 ตุลาคม ค.ศ. 1955) หรือที่มักเป็นทีรู้จักในชือ บิลล์ ่ ่ เกตส์ เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกน และหนึ่งในผูก่อ ั ้ ตั้งบริษทไมโครซอฟท์ เขากับผู้บุกเบิกด้าน ั คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคนอื่น ๆ ได้ร่วมกันเขียน ต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิก ซึ่งเป็น อินเตอร์เพรเตอร์สำาหรับเครื่องอัลแตร์ 8800 (เค่รื่ องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในยุคแรกๆ) เขาได้ร่วม กับ นายพอล อัลเลน ก่อตั้งไมโครซอฟท์ คอร์ 51 ปอเรชันขึ้น ซึ่งในขณะนี้เขาดำารงตำาแหน่ง ประธานคณะกรรมการบริหาร และ
  • 52. Linux คืออะไร ลินุกซ์ (Linux) และรูจักในชื่อ กนู/ลินุกซ์ ้ (GNU/Linux) คือ ระบบปฏิบติการที่นยมตัวหนึ่งในฐานะ ั ิ ซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์ โอเพนซอร์ส ลินุกซ์มีลักษณะคล้ายระบบปฏิบติ ั การยูนิกซ์ โดยมีลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำางานร่วมกับไลบรารี และเครื่องมืออื่น ลินกซ์ ุ นิยมจำาหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพค 52 เกจ โดยผู้จัดทำาจะรวม
  • 53. ประวัติ ของ Linux ผู้เริมพัฒนาลินุกซ์เป็นคนแรก คือ ลีนุส ทอร์วัลด์ส ่ (Linus Torvalds) ชาวฟินแลนด์ เมื่อสมัยที่เขายังเป็นนักศึกษา คอมพิวเตอร์ ที่มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ ปี พ.ศ. 2526 ริชาร์ด สตอลแมน (Richard Stallman) ได้ก่อตั้งโครงการกนูขึ้น จุดมุ่งหมายโครงการกนู คือ ต้องการพัฒนา ระบบปฏิบัติการคล้ายยูนิกซ์ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรีทั้งระบบ ราวช่วงพ.ศ. 2533 โครงการกนูมส่วนโปรแกรมที่จำาเป็นสำาหรับระบบปฏิบัติ ี 53 การเกือบครบทั้งหมด ได้แก่ คลังโปรแกรม คอมไพเลอร์