SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
LESSON 6
Number
ตัวเลข
Number ตัวเลขมีหลายชนิดเช่น
• Cardinal number เลขจำนวนนับ
• Ordinal number เลขลำดับที่
• Fraction เลขเศษส่วน
• Decimal เลขทศนิยม
• House Number เลขบ้ำน
• Telephone Number เลขหมำยโทรศัพท์
• Interesting Number 0 เลข 0 ที่น่ำสนใจ
• Mathematics ตัวเลขเกี่ยวกับคณิตศำสตร์
CARDINAL NUMBERS เลขจำนวนนับ (ใช้กับเลขทั่วๆ ไป)
• 1 one
• 2 two
• 3 three
• 4 four
• 5 five
• 6 six
• 7 seven
• 8 eight
• 9 nine
• 10 ten
• 11 eleven
• 12 twelve
• 13 thirteen
• 14 fourteen
• 15 fifteen
• 16 sixteen
• 17 seventeen
• 18 eighteen
• 19 nineteen
จากเลข 13-19 พยางค์ท้ายจะเป็น teen เสมอ
ส่วนพยางค์หน้าอ่านเหมือน 4,5,6.........
จำกเลข 13 ถึง 19 พยำงค์ท้ำยจะเป็น teen เสมอ ส่วนพยำงค์หน้ำ
อ่ำนเหมือน 4 , 5, 6.....
• 101 one hundred and one
• 1,000 one thousand
• 10,000 ten thousand
• 100,000 one hundred
thousand
• 1,000,000 one million
• 1,000,000,000 one billion
• 20 twenty
• 30 thirty
• 40 forty
• 50 fifty
• 60 sixty
• 70 seventy
• 80 eighty
• 90 ninety
• 100 one hundred
จำกเลข 2-9 อ่ำนโดยวิธีเอำตัวเลข one, two, three… ผสมกับ ty
เช่น 21 twenty + one = twenty-one จำนวน ตั้งแต่ 20 ขึ้นไป
เมื่อเอำตัวเลข one, two, three….. มำผสมต้องมี hyphen (-)
คั่นเสมอ
Ordinal number ใช้กับเลขลำดับที่
• 1st first
• 2nd second
• 3rd third
• 4th fourth
• 5th fifth
• 6th sixth
• 7th seventh
• 8th eighth
• 9th ninth
• 10th tenth
• 11th eleventh
• 12th twelfth
• 13th thirteenth
• 14th fourteenth
• 15th fifteenth
• 16th sixteenth
• 17th seventeenth
• 18th eighteenth
• 19th nineteenth
• 20th twentieth
Ordinal number เลขลำดับที่
• 21st twenty - first
• 22nd twenty - second
• 23rd twenty – third
• 24th twenty - fourth
• 25th twenty - fifth
• 30th thirtieth
• 40th fortieth
• 50th fiftieth
• 60th sixtieth
• 70th seventieth
• 80th eightieth
• 90th ninetieth
• 100th one hundredth
• 1,000th one thousandth
• 10,000th ten thousandth
• 100,000th one hundred
thousandth
• 1,000,000th one millionth
กำรอ่ำนเลขจำนวนนับ Cardinal Numbers
1. เลข 0 ถ้าใช้ในความหมายคณิตศาสตร์ และอุณหภูมิให้อ่านว่า zero (ซิโร)
เช่น
* It is eight degree below zero. (อุณหภูมิลบ 8 องศำ)
2. เลข 0 ถ้านามาใช้กับหมายเลขโทรศัพท์ ให้อ่านว่า “โอ” เช่น
* Dial 02-547-8972 (อ่านว่า oh two five four seven eight
nine seven two)
3. คาว่า hundred, thousand และ million ใช้เป็นรูปเอกพจน์
เมื่อมีจานวนนับนาหน้าเพราะคาเหล่านี้ต่างก็ใช้เป็นคุณศัพท์ เช่น
* Three hundred students นักศึกษา300 คน (อย่าใช้ three
hundreds student)
* Five million hens ไก่ห้าล้านตัว (อย่าใช้ five millions hen)
แต่ถ้าคาทั้ง 3 นี้นามาใช้อย่างคานาม และตามด้วย of จะใช้เป็นรูปพหูพจน์เสมอ
* I have reminded you of this case hundreds of times.
(ผมได้เตือนคุณให้คิดถึงเรืองนี้ตั้งหลายร้อยครั้งแล้วนะ)
* There are thousands of foreigners to visit here every year.
(มีชาวต่างประเทศหลายพันคนมาเที่ยวที่นี่ทุกๆ ป )
* Millions of people are unemployed each year.
(แต่ละปีมีคนตกงานหลายล้านคน)
4. เลขจานวนนับตั้งแต่ 100 ขึ้นไป ให้อ่านโดยใช้ and มาเชื่อม ส่วนจานวน
หลักสิบ ตั้งแต่ 21-99 ให้ใช้ hyphen (-) มาคั่น เช่น
21 = twenty-one
335 = three hundred and thirty-five
1,586 = one thousand five hundred and eighty-six
5
five
6
sixty -
2
two hundred and
4
four thousand
7
seventy-
4
four hundred and
5
five million
6
sixty - five million four hundred and seventy - four
thousand two hundred and sixty - five
3
three hundred and sixty - five million four hundred
and seventy - four thousand two hundred and sixty -
five
5
five billion
5. เมื่อเลขทั้ง Cardinal และ Ordinal มาขยายนามพร้อมกันให้ใช้
Ordinal นาหน้า
Cardinal เสมอ เช่น
* The first three students are Americans.
(นักศึกษา 3 คนแรกเป็นชาวอเมริกัน)
* The last two pictures are very ugly.
(2 ภาพสุดท้ายนั้นน่าเกลียดมาก)
6. หน้าหนังสือ (page) หรือบทที่ (lesson หรือ chapter)ในหนังสือให้อ่าน
แบบจานวนนับธรรมดา เช่น
* page 10 = page ten
* lesson 8 = lesson eight
* part III = part three
แต่จะใช้ the first lesson, the fifth chapter, the second part ก็ได้
7. การอ่านชื่อพระมหากษัตริย์ พระราชินี หรือพระสันตะปาปา ต้องอ่าน
อย่าง Ordinal ลาดับที่ตลอดไป เช่น
• King Rama V = King Rama the fifth
พระราชาธิบดีที่ 5
• Queen Elizabeth II = Queen Elizabeth the second
พระราชินีเอลิซาเบธที่ 2
• รัชกำลที่ ๖ • King Rama the Sixth
• รัชกำลที่ ๙
King Bhumibol Adulyadej
• King Rama the Ninth
the Chakri Dynasty
หลักกำรเขียน Ordinal Number
1. ลาดับที่ 1-3
ที่ 1 = first ที่ 2 = second ที่ 3 = third
2. เลขจานวนนับทาเป็นเลขลาดับที่ไดโดย การเติม th ลงท้ายคา เช่น
15 = fifteen ที่ 15 = fifteenth
24 = twenty-four ที่ 24 = twenty-fourth
3. เลขจานวนนับที่ลงท้ายด้วย y ทาเป็นเลขลาดับที่ได้โดยเปลี่ยน y ให้
เป็น ie แล้วเติม th ลงท้ายคา เช่น
20 = twenty ที่ 20 = twentieth
30 = thirty ที่ 30 = thirtieth
4. เลขลาดับที่ตั้งแต่ 20 เป็น ต้นไป
ถ้าลงท้ายด้วย 1 ให้ใช้ first ตามหลัง เช่น
ที่ 21 เขียนตัวย่อว่า 21st อ่านว่า twenty-first
ที่ 31 เขียนตัวย่อว่า 31st อ่านว่า thirty-first
ถ้าลงท้ายด้วย 2 ให้ใช้ second ตามหลัง เช่น
ที่ 22 เขียนตัวย่อว่า 22nd อ่านว่า twenty-second
ที่ 32 เขียนตัวย่อว่า 32nd อ่านว่า thirty-second
ถ้าลงท้ายด้วย 3 ให้ใช้ third ตามหลัง เช่น
ที่ 23 เขียนตัวย่อว่า 23rd อ่านว่า twenty-third
ที่ 33 เขียนตัวย่อว่า 33rd อ่านว่า thirty-third
Fractions (เศษส่วน)
เวลาอ่านให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้
เศษ ใช้เลขจานวนนับ (Cardinal Number)
ส่วน ใช้เลขลาดับที่ (Ordinal Number)
และต้องมี hyphen (-) มาคั่นระหว่างเศษ และส่วนเสมอ
⅛ = one - eighth
¾ = one - quarter/ one - fourth
⅓ = one - third
½ = one - half
Note ข้อสังเกต
สามารถใช้ a แทน one ได้ เช่น
½ อาจอ่านว่า a half หรือ one half ก็ได้
1/100 อ่านว่า a hundred หรือ one hundred
ถ้า เศษมากกว่าหนึ่ง ให้เติม s ที่เลขส่วนตลอดไป เช่น
⅔ = two - thirds
⅝ = five - eights
ถ้ำเศษมีตัวเลขตั่งแต่สองตัวขึ้นไป หรือตั้งแต่หลักสิบขึ้นไป นิยมใช้ over แทน
hyphen (-) ระหว่ำงเศษและส่วน เช่น
32/51 = thirty-two over fifty-first
749/4000 = seven hundred and forty-nine
over four thousandths
ถ้ำ เศษตัวนั้นมีจำนวนมำกรวมอยู่ด้วย หรือเป็นเศษส่วนจำนวนคละ ให้อ่ำน
จำนวนเต็มก่อนด้วยเลขจำนวนนับธรรมดำ แล้ว จึงตำมด้วย and แล้ว จึงอ่ำน
เศษส่วนตำมหลักกำรอ่ำนปกติ เช่น
4 1/2 = four and a half
8 1/4 = eight and a quarter
5 8/14 = five and eight fourteenths
Decimal เลขทศนิยม
เลขหน้ำจุดทศนิยม อ่ำนแบบ เลขจำนวนนับธรรมดำ
จุด อ่ำนว่ำ Point
เลขหลังจุด อ่ำนทีละตัว เช่น
1,547.035 อ่านว่า one thousand, five hundred and
forty-seven point oh three five
0.125 = zero point one two five
0.33 = zero point three three
2.3 = two point three
House Number (การอ่านเลขบ้าน)
เลขบ้ำนปกตินิยมอ่ำนเรียงตัว ส่วนเลขศูนย์ให้ออกเสียงว่ำ oh
และถ้ำเลขบ้ำนนั้นมีทับ (/) จะใช้ slash หรือ stroke ก็ได้ เช่น
650 = six five oh
276/3 = two seven six slash/stroke three
ถ้ำเลขบ้ำนนั้นมีเลขถึงหลักพัน นิยมอ่ำนเป็นจำนวนหลักทีละคู่ เช่น
3250 = thirty-two fifty
4326 = forty-three twenty-six
Telephone number (เลขหมายโทรศัพท์ )
เราใช้เลขจานวนนับธรรมดา (Cardinal Number) ในการอ่านเลข
หมายโทรศัพท์ ซึ่งจะอ่านเรียงตัวไป เลข 0 จะออกเสียงว่า oh หรือ
zero ก็ได้
ในกรณีที่เลขหมายโทรศัพท์ลงท้ายด้วยเลขศูนย์สองตัว จะอ่านเป็น
double oh หรืออ่านเรียงตามปกติก็ได้ หรืออ่านลงท้ายด้วย
hundred หรือ thousand ก็ได้
Tel. 037-321430 = oh three seven three two
one four three oh
Tel. 0-2546-2500 = oh two five four six two
five hundred (five double oh)
Interesting Number 0
กำรอ่ำนเลข 0
0 อ่านว่า oh ในกรณีที่
1. after a decimal point หลังจุดทศนิยม เช่น
9.02 อ่านว่า nine point oh two.
2. in bus or room numbers เลขหมายรถประจาทาง และเลขห้อง เช่น
Bus 602 อ่านว่า Bus six oh two.
Room 101 อ่านว่า Room one oh one.
3. in phone number เลขหมายโทรศัพท์ เช่น
0-2548-3147 อ่านว่า oh two five four eight three one four seven.
4. in year ปี ค.ศ. เช่น
1906 อ่านว่า nineteen oh six.
0 อ่านว่า nought ในกรณีที่อยู่ก่อนจุดทศนิยม เช่น
0.06 อ่านว่า nought point oh six.
0 อ่านว่า zero ในกรณีที่
1. in temperature ใช้อ่านอุณหภูมิ เช่น
-10 C อ่านว่า 10 degree below zero.
2. for the number ใช้กับตัวเลข
0 อ่านว่า zero
0 อ่านว่า nil ในกรณีที่ ใช้กับเกมส์ football เช่น
Chelsea 2 Manchester United 0 อ่านว่า
Chelsea two Manchester United nil.
0 อ่านว่า love ในกรณีที่ใช้กับการเล่นกีฬา เทนนิส เช่น
40-0 อ่านว่า forty love.
Mathematics
+ plus 3 + 4 = 7 three plus four is seven.
- minus 12 - 8 = 4 twelve minus eight is four.
× multiplied by 15 x 7 = 35
five multiplied by seven is thirty - five.
÷ divided by 10 / 5 = 2 ten divided by five is two.
= equal to dozen = 12 a dozen is equal to twelve.
< less than 10 < 12 ten is less then twelve.
> greater than 20 > 10 twenty is greater then ten.
FINISH
LESSON 6

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับReungWora
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระKrujanppm2017
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน Utai Sukviwatsirikul
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มkanjana2536
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4Chutima Muangmueng
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food Nim Kotarak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals Kartinee
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 

Tendances (20)

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
 
ใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
Verb to_..
Verb  to_..Verb  to_..
Verb to_..
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 

En vedette (19)

English time!
English time!English time!
English time!
 
Dates
DatesDates
Dates
 
Number fun
Number funNumber fun
Number fun
 
Ingles
InglesIngles
Ingles
 
Ordinal numbers
Ordinal numbersOrdinal numbers
Ordinal numbers
 
Skill will matrix
Skill will matrixSkill will matrix
Skill will matrix
 
Ordinal numbers ppt
Ordinal numbers pptOrdinal numbers ppt
Ordinal numbers ppt
 
skills matrix
skills matrixskills matrix
skills matrix
 
Dates and ordinal numbers
Dates and ordinal numbersDates and ordinal numbers
Dates and ordinal numbers
 
7.the days
7.the days 7.the days
7.the days
 
Cardinal numbers ordinal numbers
Cardinal numbers                    ordinal numbersCardinal numbers                    ordinal numbers
Cardinal numbers ordinal numbers
 
Skill matrix
Skill matrixSkill matrix
Skill matrix
 
Skill matrix by Md. Mazharul Islam
Skill matrix by Md. Mazharul IslamSkill matrix by Md. Mazharul Islam
Skill matrix by Md. Mazharul Islam
 
Ordinal Numbers and Dates
Ordinal Numbers and DatesOrdinal Numbers and Dates
Ordinal Numbers and Dates
 
New7managementtools ppt
New7managementtools pptNew7managementtools ppt
New7managementtools ppt
 
Managing Matrix Organization
Managing Matrix OrganizationManaging Matrix Organization
Managing Matrix Organization
 
Multi skilling ppt-1
Multi skilling ppt-1Multi skilling ppt-1
Multi skilling ppt-1
 
9 box model with titles
9 box model with titles9 box model with titles
9 box model with titles
 
9 box matrix
9 box matrix9 box matrix
9 box matrix
 

Plus de jetiya

9 date and time
9 date and time9 date and time
9 date and timejetiya
 
The Similarities & The Difference
The Similarities & The DifferenceThe Similarities & The Difference
The Similarities & The Differencejetiya
 
Shape Amount Quantity and Size
Shape Amount Quantity and SizeShape Amount Quantity and Size
Shape Amount Quantity and Sizejetiya
 
Giving and Direction
Giving and DirectionGiving and Direction
Giving and Directionjetiya
 
Permission and Request
Permission and RequestPermission and Request
Permission and Requestjetiya
 
Telephoning
TelephoningTelephoning
Telephoningjetiya
 
Introducing Third Parties
Introducing Third PartiesIntroducing Third Parties
Introducing Third Partiesjetiya
 
Greeting
GreetingGreeting
Greetingjetiya
 
reeting การทักทาย
reeting การทักทายreeting การทักทาย
reeting การทักทายjetiya
 
English for beginners
English for beginnersEnglish for beginners
English for beginnersjetiya
 
1 greeting
1 greeting1 greeting
1 greetingjetiya
 
Eng for beginners
Eng for beginnersEng for beginners
Eng for beginnersjetiya
 

Plus de jetiya (12)

9 date and time
9 date and time9 date and time
9 date and time
 
The Similarities & The Difference
The Similarities & The DifferenceThe Similarities & The Difference
The Similarities & The Difference
 
Shape Amount Quantity and Size
Shape Amount Quantity and SizeShape Amount Quantity and Size
Shape Amount Quantity and Size
 
Giving and Direction
Giving and DirectionGiving and Direction
Giving and Direction
 
Permission and Request
Permission and RequestPermission and Request
Permission and Request
 
Telephoning
TelephoningTelephoning
Telephoning
 
Introducing Third Parties
Introducing Third PartiesIntroducing Third Parties
Introducing Third Parties
 
Greeting
GreetingGreeting
Greeting
 
reeting การทักทาย
reeting การทักทายreeting การทักทาย
reeting การทักทาย
 
English for beginners
English for beginnersEnglish for beginners
English for beginners
 
1 greeting
1 greeting1 greeting
1 greeting
 
Eng for beginners
Eng for beginnersEng for beginners
Eng for beginners
 

The numbers

  • 2. Number ตัวเลขมีหลายชนิดเช่น • Cardinal number เลขจำนวนนับ • Ordinal number เลขลำดับที่ • Fraction เลขเศษส่วน • Decimal เลขทศนิยม • House Number เลขบ้ำน • Telephone Number เลขหมำยโทรศัพท์ • Interesting Number 0 เลข 0 ที่น่ำสนใจ • Mathematics ตัวเลขเกี่ยวกับคณิตศำสตร์
  • 3. CARDINAL NUMBERS เลขจำนวนนับ (ใช้กับเลขทั่วๆ ไป) • 1 one • 2 two • 3 three • 4 four • 5 five • 6 six • 7 seven • 8 eight • 9 nine • 10 ten • 11 eleven • 12 twelve • 13 thirteen • 14 fourteen • 15 fifteen • 16 sixteen • 17 seventeen • 18 eighteen • 19 nineteen จากเลข 13-19 พยางค์ท้ายจะเป็น teen เสมอ ส่วนพยางค์หน้าอ่านเหมือน 4,5,6.........
  • 4. จำกเลข 13 ถึง 19 พยำงค์ท้ำยจะเป็น teen เสมอ ส่วนพยำงค์หน้ำ อ่ำนเหมือน 4 , 5, 6..... • 101 one hundred and one • 1,000 one thousand • 10,000 ten thousand • 100,000 one hundred thousand • 1,000,000 one million • 1,000,000,000 one billion • 20 twenty • 30 thirty • 40 forty • 50 fifty • 60 sixty • 70 seventy • 80 eighty • 90 ninety • 100 one hundred จำกเลข 2-9 อ่ำนโดยวิธีเอำตัวเลข one, two, three… ผสมกับ ty เช่น 21 twenty + one = twenty-one จำนวน ตั้งแต่ 20 ขึ้นไป เมื่อเอำตัวเลข one, two, three….. มำผสมต้องมี hyphen (-) คั่นเสมอ
  • 5. Ordinal number ใช้กับเลขลำดับที่ • 1st first • 2nd second • 3rd third • 4th fourth • 5th fifth • 6th sixth • 7th seventh • 8th eighth • 9th ninth • 10th tenth • 11th eleventh • 12th twelfth • 13th thirteenth • 14th fourteenth • 15th fifteenth • 16th sixteenth • 17th seventeenth • 18th eighteenth • 19th nineteenth • 20th twentieth
  • 6. Ordinal number เลขลำดับที่ • 21st twenty - first • 22nd twenty - second • 23rd twenty – third • 24th twenty - fourth • 25th twenty - fifth • 30th thirtieth • 40th fortieth • 50th fiftieth • 60th sixtieth • 70th seventieth • 80th eightieth • 90th ninetieth • 100th one hundredth • 1,000th one thousandth • 10,000th ten thousandth • 100,000th one hundred thousandth • 1,000,000th one millionth
  • 7. กำรอ่ำนเลขจำนวนนับ Cardinal Numbers 1. เลข 0 ถ้าใช้ในความหมายคณิตศาสตร์ และอุณหภูมิให้อ่านว่า zero (ซิโร) เช่น * It is eight degree below zero. (อุณหภูมิลบ 8 องศำ) 2. เลข 0 ถ้านามาใช้กับหมายเลขโทรศัพท์ ให้อ่านว่า “โอ” เช่น * Dial 02-547-8972 (อ่านว่า oh two five four seven eight nine seven two) 3. คาว่า hundred, thousand และ million ใช้เป็นรูปเอกพจน์ เมื่อมีจานวนนับนาหน้าเพราะคาเหล่านี้ต่างก็ใช้เป็นคุณศัพท์ เช่น * Three hundred students นักศึกษา300 คน (อย่าใช้ three hundreds student) * Five million hens ไก่ห้าล้านตัว (อย่าใช้ five millions hen)
  • 8. แต่ถ้าคาทั้ง 3 นี้นามาใช้อย่างคานาม และตามด้วย of จะใช้เป็นรูปพหูพจน์เสมอ * I have reminded you of this case hundreds of times. (ผมได้เตือนคุณให้คิดถึงเรืองนี้ตั้งหลายร้อยครั้งแล้วนะ) * There are thousands of foreigners to visit here every year. (มีชาวต่างประเทศหลายพันคนมาเที่ยวที่นี่ทุกๆ ป ) * Millions of people are unemployed each year. (แต่ละปีมีคนตกงานหลายล้านคน) 4. เลขจานวนนับตั้งแต่ 100 ขึ้นไป ให้อ่านโดยใช้ and มาเชื่อม ส่วนจานวน หลักสิบ ตั้งแต่ 21-99 ให้ใช้ hyphen (-) มาคั่น เช่น 21 = twenty-one 335 = three hundred and thirty-five 1,586 = one thousand five hundred and eighty-six
  • 9. 5 five 6 sixty - 2 two hundred and 4 four thousand 7 seventy- 4 four hundred and 5 five million 6 sixty - five million four hundred and seventy - four thousand two hundred and sixty - five 3 three hundred and sixty - five million four hundred and seventy - four thousand two hundred and sixty - five 5 five billion
  • 10. 5. เมื่อเลขทั้ง Cardinal และ Ordinal มาขยายนามพร้อมกันให้ใช้ Ordinal นาหน้า Cardinal เสมอ เช่น * The first three students are Americans. (นักศึกษา 3 คนแรกเป็นชาวอเมริกัน) * The last two pictures are very ugly. (2 ภาพสุดท้ายนั้นน่าเกลียดมาก) 6. หน้าหนังสือ (page) หรือบทที่ (lesson หรือ chapter)ในหนังสือให้อ่าน แบบจานวนนับธรรมดา เช่น * page 10 = page ten * lesson 8 = lesson eight * part III = part three แต่จะใช้ the first lesson, the fifth chapter, the second part ก็ได้
  • 11. 7. การอ่านชื่อพระมหากษัตริย์ พระราชินี หรือพระสันตะปาปา ต้องอ่าน อย่าง Ordinal ลาดับที่ตลอดไป เช่น • King Rama V = King Rama the fifth พระราชาธิบดีที่ 5 • Queen Elizabeth II = Queen Elizabeth the second พระราชินีเอลิซาเบธที่ 2
  • 12. • รัชกำลที่ ๖ • King Rama the Sixth • รัชกำลที่ ๙ King Bhumibol Adulyadej • King Rama the Ninth the Chakri Dynasty
  • 13. หลักกำรเขียน Ordinal Number 1. ลาดับที่ 1-3 ที่ 1 = first ที่ 2 = second ที่ 3 = third 2. เลขจานวนนับทาเป็นเลขลาดับที่ไดโดย การเติม th ลงท้ายคา เช่น 15 = fifteen ที่ 15 = fifteenth 24 = twenty-four ที่ 24 = twenty-fourth 3. เลขจานวนนับที่ลงท้ายด้วย y ทาเป็นเลขลาดับที่ได้โดยเปลี่ยน y ให้ เป็น ie แล้วเติม th ลงท้ายคา เช่น 20 = twenty ที่ 20 = twentieth 30 = thirty ที่ 30 = thirtieth
  • 14. 4. เลขลาดับที่ตั้งแต่ 20 เป็น ต้นไป ถ้าลงท้ายด้วย 1 ให้ใช้ first ตามหลัง เช่น ที่ 21 เขียนตัวย่อว่า 21st อ่านว่า twenty-first ที่ 31 เขียนตัวย่อว่า 31st อ่านว่า thirty-first ถ้าลงท้ายด้วย 2 ให้ใช้ second ตามหลัง เช่น ที่ 22 เขียนตัวย่อว่า 22nd อ่านว่า twenty-second ที่ 32 เขียนตัวย่อว่า 32nd อ่านว่า thirty-second ถ้าลงท้ายด้วย 3 ให้ใช้ third ตามหลัง เช่น ที่ 23 เขียนตัวย่อว่า 23rd อ่านว่า twenty-third ที่ 33 เขียนตัวย่อว่า 33rd อ่านว่า thirty-third
  • 15. Fractions (เศษส่วน) เวลาอ่านให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้ เศษ ใช้เลขจานวนนับ (Cardinal Number) ส่วน ใช้เลขลาดับที่ (Ordinal Number) และต้องมี hyphen (-) มาคั่นระหว่างเศษ และส่วนเสมอ ⅛ = one - eighth ¾ = one - quarter/ one - fourth ⅓ = one - third ½ = one - half
  • 16. Note ข้อสังเกต สามารถใช้ a แทน one ได้ เช่น ½ อาจอ่านว่า a half หรือ one half ก็ได้ 1/100 อ่านว่า a hundred หรือ one hundred ถ้า เศษมากกว่าหนึ่ง ให้เติม s ที่เลขส่วนตลอดไป เช่น ⅔ = two - thirds ⅝ = five - eights
  • 17. ถ้ำเศษมีตัวเลขตั่งแต่สองตัวขึ้นไป หรือตั้งแต่หลักสิบขึ้นไป นิยมใช้ over แทน hyphen (-) ระหว่ำงเศษและส่วน เช่น 32/51 = thirty-two over fifty-first 749/4000 = seven hundred and forty-nine over four thousandths ถ้ำ เศษตัวนั้นมีจำนวนมำกรวมอยู่ด้วย หรือเป็นเศษส่วนจำนวนคละ ให้อ่ำน จำนวนเต็มก่อนด้วยเลขจำนวนนับธรรมดำ แล้ว จึงตำมด้วย and แล้ว จึงอ่ำน เศษส่วนตำมหลักกำรอ่ำนปกติ เช่น 4 1/2 = four and a half 8 1/4 = eight and a quarter 5 8/14 = five and eight fourteenths
  • 18. Decimal เลขทศนิยม เลขหน้ำจุดทศนิยม อ่ำนแบบ เลขจำนวนนับธรรมดำ จุด อ่ำนว่ำ Point เลขหลังจุด อ่ำนทีละตัว เช่น 1,547.035 อ่านว่า one thousand, five hundred and forty-seven point oh three five 0.125 = zero point one two five 0.33 = zero point three three 2.3 = two point three
  • 19. House Number (การอ่านเลขบ้าน) เลขบ้ำนปกตินิยมอ่ำนเรียงตัว ส่วนเลขศูนย์ให้ออกเสียงว่ำ oh และถ้ำเลขบ้ำนนั้นมีทับ (/) จะใช้ slash หรือ stroke ก็ได้ เช่น 650 = six five oh 276/3 = two seven six slash/stroke three ถ้ำเลขบ้ำนนั้นมีเลขถึงหลักพัน นิยมอ่ำนเป็นจำนวนหลักทีละคู่ เช่น 3250 = thirty-two fifty 4326 = forty-three twenty-six
  • 20. Telephone number (เลขหมายโทรศัพท์ ) เราใช้เลขจานวนนับธรรมดา (Cardinal Number) ในการอ่านเลข หมายโทรศัพท์ ซึ่งจะอ่านเรียงตัวไป เลข 0 จะออกเสียงว่า oh หรือ zero ก็ได้ ในกรณีที่เลขหมายโทรศัพท์ลงท้ายด้วยเลขศูนย์สองตัว จะอ่านเป็น double oh หรืออ่านเรียงตามปกติก็ได้ หรืออ่านลงท้ายด้วย hundred หรือ thousand ก็ได้ Tel. 037-321430 = oh three seven three two one four three oh Tel. 0-2546-2500 = oh two five four six two five hundred (five double oh)
  • 21. Interesting Number 0 กำรอ่ำนเลข 0 0 อ่านว่า oh ในกรณีที่ 1. after a decimal point หลังจุดทศนิยม เช่น 9.02 อ่านว่า nine point oh two. 2. in bus or room numbers เลขหมายรถประจาทาง และเลขห้อง เช่น Bus 602 อ่านว่า Bus six oh two. Room 101 อ่านว่า Room one oh one. 3. in phone number เลขหมายโทรศัพท์ เช่น 0-2548-3147 อ่านว่า oh two five four eight three one four seven. 4. in year ปี ค.ศ. เช่น 1906 อ่านว่า nineteen oh six.
  • 22. 0 อ่านว่า nought ในกรณีที่อยู่ก่อนจุดทศนิยม เช่น 0.06 อ่านว่า nought point oh six. 0 อ่านว่า zero ในกรณีที่ 1. in temperature ใช้อ่านอุณหภูมิ เช่น -10 C อ่านว่า 10 degree below zero. 2. for the number ใช้กับตัวเลข 0 อ่านว่า zero 0 อ่านว่า nil ในกรณีที่ ใช้กับเกมส์ football เช่น Chelsea 2 Manchester United 0 อ่านว่า Chelsea two Manchester United nil. 0 อ่านว่า love ในกรณีที่ใช้กับการเล่นกีฬา เทนนิส เช่น 40-0 อ่านว่า forty love.
  • 23. Mathematics + plus 3 + 4 = 7 three plus four is seven. - minus 12 - 8 = 4 twelve minus eight is four. × multiplied by 15 x 7 = 35 five multiplied by seven is thirty - five. ÷ divided by 10 / 5 = 2 ten divided by five is two. = equal to dozen = 12 a dozen is equal to twelve. < less than 10 < 12 ten is less then twelve. > greater than 20 > 10 twenty is greater then ten.