SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  69
Télécharger pour lire hors ligne
อารยธรรมอินเดียกําเนิดในบริ เวณที่อยูระหว่างแม่นํ ้าสินธุและ
่
แม่นํ ้าคงคา ซึงเรี ยกกันทัวไปว่าอนุทวีป หรื อเอเชียใต้ ในปั จจุบน เป็ น
่
่
ั
อารยธรรมที่เกิดจากการหล่อหลอมและผสมผสานความเจริญของชน
ชาติตางๆ ที่ได้ เข้ ามาครอบครองและตังถิ่นฐาน จนกลายเป็ น อารย
่
้
ธรรมอินเดีย ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาอารย
ธรรมในภูมิภาคเอเชียอื่นๆ นับว่าเป็ นรากฐานสําคัญของอารยธรรม
ตะวันออก
ปั จจัยทางภูมิศาสตร์
กับการตังถิ่นฐาน
้
ภูมิประเทศ
ตอนเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ
มีเทือกเขาหิมาลัยที่หนาวเย็นและสูงชันกันไม่ให้ อินเดีย
้
ติดต่อกับดินแดน อื่นได้ สะดวก อย่างไรก็ตาม ก็ยงมีช่องแคบไค
ั
เบอร์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือที่ตดต่อกับดินแดนอื่นทางตะวันตก
ิ
ได้ เช่น เปอร์ เซีย กรี ก และโรมัน ดังนันบริ เวณอินเดียตอนเหนือ
้
จึงรับและผสมผสานอารยธรรมที่เข้ ามาทางช่องแคบ ไคเบอร์ ทัง้
ที่มาจากการติดต่อค้ าขายและรุกรานของชาติอื่นๆ เช่น พวก
อารยันและมุสลิม
ตอนตะวันตกและตะวันออก
เป็ นที่ราบลุมแม่นํ ้าสินธุ แม่นํ ้าคงคา และแม่นํ ้าสาขา
่
ของแม่นํ ้าทังสองที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การประกอบ
้
เกษตรกรรม โดยเฉพาะแม่นํ ้าคงคา ซึงมีต้นกําเนิดจาก
่
เทือกเขาหิมาลัยและนําความอุดมสมบูรณ์ให้ แก่พื ้นที่ในลุม
่
แม่นํ ้า จึงเปรี ยบเสมือนเส้ นเลือดที่หล่อเลี ้ยงชาวอินเดีย และ
เป็ นบ่อเกิดของศาสนา ความเชื่อและพิธีกรรมต่างๆ ในอารย
ธรรมอินเดีย เช่น ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาพุทธ
ความอุดมสมบูรณ์ในเขตที่ราบลุมแม่นํ ้าต่างๆนี ้ ทําให้ ชน
่
ต่างชาติพยายามรุกรานและยึดครองอินเดียตลอดมา
ตอนกลาง
เป็ นเขตที่ราบสูงเดคคานที่แห้ งแล้ งและทุรกันดาร
เพาะถูกโอบล้ อมด้ วยเทือกเขาสูงซึงขวางกันการติดต่อ
่
้
ระหว่างอินเดียเหนือและ อินเดียใต้ แต่ก็นบเป็ นเขตเศรษฐกิจ
ั
สําคัญของอินเดีย เพราะเป็ นพื ้นที่เกษตรกรรมซึงเป็ นอาชีพ
่
หลักของชาวอินเดีย และยังคงอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรป่ า
ไม้ และแร่ธาตุตางๆ
่
ตอนใต้
ไม่สามารถติดต่อกับดินแดนทางตอนเหนือได้ สะดวก แต่
สามารถติดต่อกับดินแดนอื่นๆ นอกประเทศได้ ง่าย เนื่องจากมีที่ราบ
แคบๆ ยาวขนานกับชายฝั่ งมหาสมุทรอินเดียทัง้ 2 ฝั่ ง ประชากรใน
แถบนี ้มีการติดต่อค้ าขายและแลกเปลี่ยนอารยธรรมกับดินแดนอื่น
เช่น อียิปต์ เมโสโปเตเมีย ลังกา และดินแดนในเขตเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ อารยธรรมของชาวอินเดียใต้ จงมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างจาก
ึ
ชาวอินเดียทางตอนเหนือ
เนื่องจากอินเดียมีลกษณะภูมิประเทศที่หลากหลาย
ั
ดินแดนทางตอนเหนือและตอนใต้ ถกแบ่งแยกจากกันด้ วยที่ราบ
ู
สูงเดคคาน เป็ นผลให้ ทงสองเขตมีความแตกต่างกันทังด้ าน
ั้
้
ภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ การประกอบอาชีพ และการหล่อ
หลอมอารยธรรม ความหลากหลายนี ้ ส่งเสริ มให้ ชนชาติตางๆ
่
ขยายอิทธิพลเข้ ามาครอบครองอินเดีย เป็ นผลให้ เกิดการ
ผสมผสานและหล่อหลอมอารยธรรมของชนชาติตางๆ ที่เข้ ามา
่
ปกครอง ชนชาติที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาอารยธรรม
อินเดียโบราณ ได้ แก่ พวกดราวิเดียน หรื อทราวิฑ (Dravidian)
และอารยัน (Aryan)
ภูมิอากาศ
อินเดียมีภมิอากาศแห้ งแล้ งเพราะฝนตกน้ อยประมาณ
ู
ปี ละ 4 เดือน และมีอากาศร้ อนจัด ปี ใดฝนตกน้ อยกว่าปกติ การ
เพาะปลูกจะไม่ได้ ผลและเกิดความอดอยาก ปี ที่มีอากาศร้ อน
จัดมากๆ เช่น อุณหภูมิสงกว่า 40 องศาเซลเซียสขึ ้นไปมักจะเกิด
ู
ภัยแล้ ง พืชผลส่วนใหญ่ไม่อาจทนความแห้ งแล้ งได้ เพราะ
อากาศขาดความชุ่มชื ้น ในเขตตรงข้ าม ปี ใดที่ฝนตกมากเกินไป
จะเกิดอุทกภัย พืชผลได้ รับความเสียหาย สภาพภูมิอากาศจึงมี
อิทธิพลต่อการดํารงชีวิตและความเชื่อของชาวอินเดีย จึงต้ อง
พึงพาธรรมชาติ ดังเช่นการบูชาแม่นํ ้าคงคาว่าเป็ นแม่นํ ้า
่
์ ิ
ศักดิสทธิ์ที่นําความชุ่มชื ้นและ อุดมสมบูรณ์มาให้
ลักษณะภูมิอากาศยังทําให้ ชาวอินเดียมีความอดทนใน
การต่อสู้กบความยากลําบาก ด้ วยวิธีการต่างๆ พร้ อมกับการ
ั
ยอมรับชะตากรรมที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
การตังถิ่นฐานและเผ่าพันธุ์
้
หลักฐานทางโบราณคดี พบว่ามีหมูบ้านและเมืองโบราณ
่
กว่า ๕๐ แห่งบนบริ เวณที่ราบริ มฝั่ งแม่นํ ้าสินธุและพบเมืองใหญ่
๒ เมือง คือ
1. เมืองโมเฮนโจ-ดาโร

2. เมืองฮารัปปา
และยังมีการขุดพบเมืองเล็กๆที่อยูหางไปทางทิศ
่ ่
ตะวันตกเฉียง เหนือของอินเดีย ประมาณ ๔๐๐ กิโลเมตร ได้ แก่
เมืองกลิบังคัน และเมืองริ มฝั่ งทะเลใหญ่ที่สดชื่อเมืองโลธัล
ุ
ตังอยูบริเวณปากอ่าวแคมเบในทะเลอาหรับ
้ ่
หลักฐานดังกล่าวทําให้ ทราบว่าบริ เวณลุ่ มแม่ นําสินธุ
้
มีผ้ คนตังถิ่นฐานและสร้ างสรรค์อารยธรรมมานาน
ู ้
ชนเผ่าสําคัญที่สร้ างอารยธรรม
ลุมแม่นํ ้าสินธุ
่
ชาวดราวิเดียน
หลักฐานทางโบราณคดี และการศึกษาเรื่ องชาติพนธุ์ทํา
ั
ให้ สนนิษฐานได้ วาพวกดราวิเดียนคือ ชนพื ้นเมืองดังเดิม ที่ตงถิ่น
ั
่
้
ั้
ฐานบริเวณลุมแม่นํ ้าสินธุราว 4,000 ปี มาแล้ ว พวกนี ้มีรูปร่างเตี ้ย
่
ผิวคลํ ้าและจมูกแบนคล้ ายกับคนทางตอนใต้ ในอินเดียบางพวก
ในปั จจุบน
ั
ชาวดราวิเดียน สามารถเรี ยกได้ อีก 3 ชื่อ คือ ทราวิฑ
มิลกขะ และ มุณฑ์
ั
ชาวอารยัน

เป็ นพวกที่อพยพเคลื่อนย้ ายจากดินแดนเอเชียกลาง
ลงมายังตอนใต้ กระจายไปตังถิ่นฐานในพื ้นที่ตางๆ ซึงอุดม
้
่
่
สมบูรณ์และมีภมิอากาศอบอุนกว่า พวกอารยันส่วนหนึงได้
ู
่
่
เคลื่อนย้ ายเข้ ามาตังถิ่นฐานอยูในลุมแม่นํ ้าสินธุและ ขับไล่
้
่ ่
พวกดราวิเดียน ให้ ถอยร่นลงไปหรื อจับตัวเป็ นทาส พวกอารยัน
มีรูปร่างสูงใหญ่ผิวขาว จมูกโด่ง คล้ ายกับชาวอินเดียที่อยูทาง
่
ตอนเหนือ
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์
อารยธรรมอินเดียเป็ นอารยธรรมที่เก่าแก่มาก เช่นเดียวกับ
อารยธรรมอียิปต์และอารยธรรมเมโสโปเตเมีย แต่ที่ตางกันคือ อารย
่
ธรรมอินเดียเป็ น อารยธรรมที่สืบสายกันมาไม่ขาดตอนจนถึงสมัย
ปั จจุบน ไม่มีระยะเวลาใดที่อารยธรรมอินเดียถูกอารยธรรมต่างชาติ
ั
เข้ ามาทําลายจนต้ องมีการเริ่ มต้ นใหม่ แต่การค้ นคว้ าเรื่ องอารยธรรม
อินเดียก็เป็ นเรื่ องที่ยากเพราะหลักฐานตัวเขียนที่เล่าเรื่ องราวของ
อารยธรรมอินเดียที่เก่าที่สดก็เก่าเพียงแค่สมัยพระเวท ที่เก่ากว่านัน
ุ
้
ไปไม่มีหลักฐานตัวเขียนกล่าวถึง จะรู้เรื่ องราวได้ ก็ต้องอาศัยวิธีการ
ของนักโบราณคดี และประเทศอินเดียก็ไม่มีนกโบราณคดีมาก่อนที่
ั
นักปราชญ์ชาวยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวอังกฤษจะเดินทางเข้ ามา
ทําการขุดค้ นในอินเดีย
ดังนันความรู้เรื่ องอารยธรรมอินเดียในสมัยก่อน
้
ประวัตศาสตร์ จงเพิ่งรู้กนเมื่อประมาณสองร้ อยกว่าปี มานี ้เอง
ิ
ึ
ั
1. หลักฐานที่พบ คือซากเมืองโบราณ ที่สําคัญคือ เมือง
ฮารัปปา และโมเฮนโจดาโร เมืองทังสองตังอยูริมแม่นํ ้าสินธุ
้
้ ่
2. พวกดราวิเดียน เป็ นพวกที่สร้ างอารยธรรมนี ้ ชนกลุมนี ้
่
รู้จกการใช้ โลหะ ทําเครื่ องมือเครื่ องใช้ ตางๆ รู้จกการทอผ้ า เพาะปลูก
ั
่
ั
สร้ างที่อยูด้วยอิฐ ทําระบบชลประทาน และการเขียนอักษรรูปภาพ
่
3. ถูกพวกอารยันที่เป็ นชนเผ่าเร่ร่อนจากตอนกลางของทวีป
เอเชียอพยพเข้ ามารุกราน และขับไล่ให้ พวกดราวิเดียนถอยร่นไปตัง้
ถิ่นฐานทางใต้
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาสตร์
1. สมัยพระเวท
ในยุคพระเวทมีระบบการบริ การการปกครองแบบง่ายๆมี
กษัตริย์เป็ นหัวหน้ า ในแต่ละอาณาจักร ประกอบด้ วย ที่เรี ยกว่า ชน
(อ่านว่า ชะ-นะ) วิศ และ คาม หน่วยเล็กที่สดคือครอบครัวหรื อ กุล
ุ
มีหวหน้ าคือ บุรุษสูงอายุที่สดเป็ นหัวหน้ าเรี ยกว่า กุลป กษัตริย์มี
ั
ุ
คณะที่ปรึกษาช่วยมนการปกครองและมีตําแหน่งราชการที่สําคัญ 2
ตําแหน่งคือ ปุโรหิต เป็ นทังพระและโหร และเสนาบดีที่ปรึกษา
้
เสนานี เป็ นตําแหน่งผู้บญชาการทัพ ตําแหน่งอื่นๆรองลงไปคือ ผู้
ั
สอดแนม ม้ าใช้ หลักฐานสมัยหลังๆมีกล่าวถึงตําแหน่งสารถี และขุน
คลัง ฯลฯ
2. สมัยมหากาพย์
เมื่อ 900-600 ปี ก่อนคริ สต์ศกราช เป็ นสมัยที่มีการใช้
ั
ตัวหนังสือบันทึกเรื่ องราว การปกครองเริ่ มแรกปกครองแบบชนเผ่า
อารยัน มีราชาเป็ นผู้ปกครองแต่ละเผ่าไม่ขึ ้นต่อกัน ราชามีอํานาจ
สูงสุดเด็ดขาด ความรับผิดชอบจะขึ ้นอยูกบที่ประชุมเผ่า
่ ั
ประกอบด้ วย สภา(ที่ประชุมของบุคคลสําคัญในเผ่า) , สมิติ (ที่
ประชุมใหญ่ของราษฎร) ในสมัยมหากาพย์มีดง 2 เรื่ องคือ รา
ั
มายณะ ของฤษีวาลมิกิ และมหาภารตะ ของฤษีวยาสะทัง้ 2 เรื่ อง
สะท้ อนเกี่ยวกับการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ ของชาวอารยันสมัย
นันได้ เป็ นอย่างดี ปลายสมัย ชนเผ่าอารยันขยายตัวออกไป มีการ
้
ดําเนินการปกครองแบบราชาธิปไตยจากราชา เปลี่ยนเป็ น กษัตริย์
เป็ นสมมติเทพ
รามายณะ
มหาภารตะ
3. สมัยจักรวรรดิ
600 ปี ก่อนคริ สต์ศกราช-ปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 10
ั
การเมืองการปกครองของอินเดียก้ าวมาสูยคจักรวรรดิเป็ นสมัย
่ ุ
ที่มีความสําคัญต่อการวางพื ้นฐานของแบบแผนทางสังคม
ศิลปะ วัฒนธรรมอินเดีย ที่ยงคงสืบเนื่องต่อมาถึงปั จจุบน
ั
ั
สมัยจักรวรรดิแบ่งเป็ น 5 สมัยคือ
- จักรวรรดิมคธ
- จักรวรรดิเมารยะ
- สมัยแบ่งแยกและรุกรานจากภายนอก
- สมัยจักรวรรดิคปตะ
ุ
- อินเดียหลังสมัยจักรวรรดิคปตะ
ุ
3.1 จักรวรรดิมคธ
ตังอยูบริเวณภาคตะวันออกของลุมแม่นํ ้าคงคา เป็ นแคว้ นที่มี
้ ่
่
อนุภาพมากที่สดในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริ สต์ศกราช จนกระทังแคว้ น
ุ
ั
่
มคธเป็ นจักรวรรดิขนาดใหญ่ที่ปรากฏขึ ้นครังแรกในอินเดีย กษัตริย์ที่มี
้
ชื่อเสียง 2 คนคือ
- พระเจ้ าพิมพิสาร
- พระเจ้ าอชาตศัตรู
ในระบอบการปกครองกษัตริ ย์มีอํานาจสูงสุดมีขนนาง 3 ฝ่ าย
ุ
- บริ หาร
- ตุลาการ
- การทหาร รวมเรี ยกว่า มหามาตระ
3.2 จักรวรรดิเมารยะ
ในกลางศตวรรษที่ 4 ก่อนคริ สต์ศกราช ราชวงศ์นนทะที่
ั
ั
ปกครองจักรวรรดิมคธเสื่อมอํานาจลง ราชวงศ์เมารยะได้ มีอํานาจ
ขึ ้นปกครอง ปั จจุบน คือพื ้นที่ทางภาคเหนือของอินเดีย
ั
ระเบียบการปกครอง คือ รวมอํานาจไว้ ที่พระมหากษัตริ ย์
และเมืองหลวง จักรพรรดิมีอํานาจสูงสุดทางด้ านบริ หาร กฎหมาย
การศาลและการทหาร มีสภาเสนาบดีและสภาแห่งรัฐเป็ นสภา
ปรึกษา จักรวรรดิควบคุมเมืองต่างๆ โดยการกระจายหน่วยงาน
อยูทวไปเพื่อรายงานเรื่ องราวมายังเมืองหลวง
่ ั่
3.3 สมัยแบ่งแยกและการรุกรานจากภายนอก
ความเสื่อมอํานาจของราชวงศ์เมารยะมีผลกระทบต่ออินเดีย 3
ประการ
- อาณาจักรใหญ่น้อยแบ่งแยกออกเป็ นอิสระ
- เกิดการรุกรานจาก กรี ก อิหร่าน เปอร์ เชีย ศกะ กุษาณะ
- กรี กและเปอร์ เชียได้ ถ่ายทอดวัฒนธรรมเช่น ด้ านศิลปกรรม
ได้ แก่ สถาปั ตยกรรม และประติมากรรมให้ แก่อินเดีย
3.4 อารยธรรมสมัยคุปตะ
พระเจ้ าจันทรคุปต์ ทรงตังราชวงศ์โมริ ยะ ที่ปรึกษาของ
้
พระองค์เป็ นพราหมณ์ ชื่อ โคทิลยะ หรื ออีกชื่อ คือ ชนกิยะ เป็ นผู้มี
ความรู้ในด้ านการปกครอง การบริ หาร และการเศรษฐกิจ และใช้
ความรู้จากคัมภีร์อรรถศาสตร์ มาบริ หารประเทศโดยเฉพาะ ในด้ าน
เศรษฐกิจของประเทศในสมัยของพระเจ้ าจันทรคุปต์ มีนกปราชญ์ชาว
ั
กรี ก ชื่อ Megasthenes มาอยูในราชสํานักด้ วย ทําให้ เราทราบว่ามีการ
่
แลกเปลี่ยนความคิดระหว่างอินเดียและกรี ก พระเจ้ าจันทรคุปต์ทรง
ขยายอาณาเขตมาทางตะวันตกจนถึงเขตแดนของอาณาจักรเซเลอคุส
ของกรี ก ทรงทําสงครามชนะพระเจ้ า Nicator แห่งเซเลอคุส พระธิดา
ของพระเจ้ า Nicator ถูกส่งมาเป็ นมเหสีของพระเจ้ าจันทรคุปต์ที่
เมืองปั ตลีบตร ทรงผูกสัมพันธไมตรี กบกรี ก
ุ
ั
ราชวงศ์ โมริยะ
กษัตริ ย์องค์แรกคือพระเจ้ าจันทรคุปต์
กษัตริ ย์ที่มีชื่อเสียงคือพระเจ้ าอโศก
มหาราช มีอํานาจหลักการปกครองที่
สําคัญใช้ จากคัมภีร์อรรถศาสตร์
(เกาฏิลยะ) แสดงให้ เห็นว่ากษัตริ ย์ทรงมี
อํานาจสูงสุด
ต่อมาเมื่อพระเจ้ าอโศกมหาราชได้
หันมานับถือศาสนาพุทธ ทรงให้ มีการ
จารึกบนเสาหินที่ตงอยูตามดินแดนต่างๆ
ั้ ่
เป็ นหลักของศีลธรรมที่สอดคล้ องกับทุก
ศาสนา (เรี ยก หัวเสาสมัยพระเจ้ าอโศก
มหาราช)

หัวเสาสมัยพระเจ้ าอโศกมหาราช
อักษรพรหมที่จารึกไว้ บนเสาหิน
3.5 อินเดียหลังสมัยจักรวรรดิคปตะ
ุ
ราชวงศ์คปตะเริ่ มเสื่อมอํานาจลงชนต่างชาติได้ รุกราน
ุ
อินเดีย ภาคเหนือแบ่งแยกเป็ นแคว้ นเล็กๆ มีราชวงศ์ตางๆเข้ ามา
่
ยึดครอง หลังการสิ ้นสุดจักรวรรดิคปตะ ชนชาติที่มารุกรานนับถือ
ุ
พราหมณ์ จึงได้ กวาดล้ างชาวพุทธให้ สิ ้นซาก และวัด แต่
พระพุทธศาสนาในอินเดียยังคงรุ่งเรื องอยู่
4. สมัยมุสลิม
มุสลิมที่เข้ ารุกรานอินเดีย คือมุสลิมเชื ้อสายเติร์กจาก
เอเชียกลาง เข้ าปกครองอินเดียภาคเหนือ ตังเมืองเดลี เป็ นเมือง
้
หลวง เมื่อเข้ ามาปกครองมีการบีบบังคับให้ ชาวอินเดียมานับถือ
ศาสนาอิสลาม ราษฎรที่ไม่นบถือศาสนาอิสลามจะถูกเก็บภาษี
ั
อย่างรุนแรง หากหันมานับถือจะได้ รับการยกเว้ น การกระทํา
ของเติร์กส่งผลให้ สงคมอินเดียเกิดความแตกแยกระหว่างพวก
ั
ฮินดูและมุสลิมจนถึงปั จจุบน
ั
การเมืองการปกครองของอินเดีย
1. สมัยพระเวท มีการปกครองแบบราชาธิปไตย กษัตริย์เป็ นสมมติเทพ
2. สมัยจักรวรรดิ แบ่งเป็ น
2.1 จักรวรรดิมคธ มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
2.2 จักรวรรดิราชวงศ์โมริยะ แบ่งการปกครองออกเป็ น ส่วนกลาง
และส่วนภูมิภาค
2.3 สมัยแบ่งแยก อาณาจักรต่างๆ ตังตัวเป็ นอิสระเกิดการรุกราน
้
จากภายนอก คือ กรี ก เปอร์ เซีย
2.4 สมัยจักรวรรดิคปตะ กษัตริ ย์มีอํานาจเต็มในเมืองหลวงและ
ุ
ใกล้ เคียง ดินแดน ห่างไกลมีเจ้ าครองนครปกครอง
2.5 หลังสมัยคุปตะ ราชวงศ์ปาละ–เสนะ เป็ นราชวงศ์สดท้ ายที่
ุ
ปกครองก่อนที่มสลิมจะเข้ ายึดครองอินเดีย
ุ
3. สมัยมุสลิม ราชวงศ์โมกุลซึงนับถือศาสนาอิสลามเข้ ามา
่
ปกครองก่อนที่อินเดียจะตกเป็ นเมืองขึ ้นของอังกฤษ
4. สมัยอาณานิคม มีระเบียบบริ หารราชการ กฎหมายและ
การศาลเป็ นแบบฉบับเดียวกันทัวประเทศเป็ นผลดีแก่อินเดีย
่
5. สมัยเอกราช พลังของขบวนการชาตินิยม ระหว่าง
สงครามโลกครังที่ 2 ภายใต้ การนําของมหาตมะคานธี
้
6. สมัยปั จจุบน อินเดียมีการปกครองแบบประชาธิปไตย
ั
แบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข มีนายกบริหารประเทศ
รัฐสภามี 2 สภาคือ ราชยสภา กับโลกสภา (สภาผู้ แทน)
ลักษณะการปกครองและกฎหมาย
บ้ านเมืองในลุมนํ ้าสินธุมีร่องรอยของการปกครองแบบรวม
่
อํานาจเข้ าสูศนย์กลาง ทังนี ้เห็นได้ จากรูปแบบการสร้ างเมืองฮารัป
่ ู
้
ปาและเมืองโมเฮนโจดาโร ที่มีการวางผังเมืองในลักษณะเดียวกัน
ตัวเมืองมักสร้ างอยูในปอมซึงต้ องมีผ้ นําที่มีอํานาจแบบรวมศูนย์
่ ้ ่
ู
ผู้นํามีสถานภาพเป็ นทังกษัตริ ย์และเป็ นนักบวชจึงมีอํานาจทังทาง
้
้
โลกและทางธรรม
ต่อมาเมื่อพวกอารยันเข้ ามาปกครองดินแดนลุมนํ ้าสินธุแทนพวกด
่
ราวิเดียน จึงได้ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ นแบบกระจายอํานาจ โดยแต่
ละเผ่ามีหวหน้ าที่เรี ยกว่า “ราชา” ปกครองกันเอง มีหน่วยการปกครอง
ั
ลดหลันลงไปตามลําดับ จากครอบครัวที่มีบดาเป็ นหัวหน้ าครอบครัว
่
ิ
หลายครอบครัวรวมเป็ นระดับหมูบ้าน และหลายหมูบ้านมีราชาเป็ น
่
่
หัวหน้ า ต่อมาแต่ละเผ่ามีการพุงรบกันเอง ทําให้ ราชาได้ ขึ ้นมามีอํานาจ
่
สูงสุดในการปกครองด้ วยวิธีตางๆ เช่น พิธีราชาภิเษก ความเชื่อในเรื่ อง
่
อวตารพิธีอศวเมธ เป็ นพิธีขยายอํานาจโดยส่งม้ าวิ่งไปยังดินแดนต่างๆ
ั
จากนันจึงส่งกองทัพติดตามไปรบเพื่อยึดครองดินแดนที่ม้าวิ่งผ่านไป การ
้
ตังชื่อเพื่อสร้ างความยิ่งใหญ่ คําสอนในคัมภีร์ศาสนาและตําราสนับสนุน
้
ความยิ่งใหญ่ของราชา และต่อมาก็มีคติความเชื่อว่า ราชาทรงเป็ นสมมติ
เทพ คือ พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นเทพอวตารลงมาเพื่อปกครองมวลมนุษย์
ในด้ านการปกครองมีการเขียนตําราเกี่ยวกับการเมือง
การปกครอง ชื่อ อรรถศาสตร์ ระบุหน้ าที่ของกษัตริย์ ในด้ าน
กฎหมาย มีพระธรรมศาสตร์ และต่อมามีการเขียนพระ
ธรรมนูญธรรมศาสตร์ ขึ ้น
สังคมและวัฒนธรรม
ในลุมนํ ้าสินธุ กลุมชนที่อาศัยอยูในระยะแรก คือ พวกดราวิเดียน
่
่
่
ซึงเป็ นโครงสร้ างทางสังคมประกอบด้ วยผู้ปกครอง ได้ แก่ ราชาและ ขุนนาง
่
แต่เมื่อพวกอารยันเข้ ามาปกครองทําให้ มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
กล่าวคือ ฝ่ ายดราวิเดียนถูกลดฐานะลง เป็ นทาส ความสัมพันธ์ของคนใน
สังคมระยะแรกมีการแต่งงานระหว่างชนสองกลุมแต่ตอมาพวกอารยันเกรง
่
่
ว่าจะถูกกลืน ทางเชื ้อชาติจงห้ ามการแต่งงานระหว่างชนสองกลุม ทําให้ เกิด
ึ
่
การแบ่งแยกระหว่างเผ่าพันธุ์ จนกลายเป็ นระบบวรรณะ
แบ่งหน้ าที่ชดเจนโดยแบ่งออกเป็ น 4 วรรณะใหญ่ๆ คือ
ั
· วรรณะพราหมณ์ ผู้ประกอบพิธีกรรมและสืบต่อศาสนา
เปรี ยบเสมือน ปากของพระพรหม
· วรรณะกษัตริย์ มีหน้ าที่ปกครองแว่นแคว้ น
เปรี ยบเสมือน แขนของพระพรหม
· วรรณะแพศย์
มีหน้ าที่ผลิตอาหารและหารายได้ ให้ แก่บ้านเมือง
เปรี ยบเสมือน ขาของพระพรหม
· วรรณะศูทร
คือคนพื ้นเมืองดังเดิมที่ทําหน้ าที่รับใช้ วรรณะทังสาม
้
้
เปรี ยบเสมือน เท้ าของพระพรหม
ส่วนลูกที่เกิดจากการแต่งงานข้ ามวรรณะถูกจัดให้ อยู่
นอกสังคม เรี ยกว่า พวกจัณฑาล นอกจากนี ้ในหมูชาวอารยัน
่
สตรี มีฐานะสูงในสังคมและใช้ โคเป็ นเครื่ องมือวัดความมันคง
่
ของบุคคลในด้ านวัฒนธรรมพวกดราวิเดียนนับถือสัตว์บาง
ชนิด ได้ แก่ โค ช้ าง และแรดนอกจากนี ้ยังนับถือเทพเจ้ าต่างๆ
และแม่พระธรณี ซึงเป็ นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ พวก
่
อารยันรับความเชื่อของพวกดราวิเดียนบางอย่างมานับถือ
ได้ แก่ การนับถือโค พระศิวะ และศิวลึงค์
พวกอารยันใช้ ภาษาสันสกฤตซึงเป็ นภาษาที่ใช้ เขียน
่
คัมภีร์ศาสนา เช่น คัมภีร์พระเวท เมื่อประมาณ 1,000 ปี
มาแล้ ววรรณกรรมที่สําคัญ ได้ แก่ มหากาพย์ มหาภารตยุทธ
ซึงเป็ นเรื่ องการสู้รบในหมูพวกอารยันและมหากาพย์
่
่
รามเกียรติเ์ ป็ นเรื่ องการสู้รบระหว่างพวกดราวิเดียน กับพวก
อารยัน
ชาวอารยันมักยึดมันในหลักศาสนาที่ปรากฏในคัมภีร์
่
พระเวทและระบบวรรณะขณะเดียวกันชาวอารยันบางกลุมไม่
่
เห็นด้ วยกับความคิดเหล่านี ้
อารยธรรมของอินเดียได้ แพร่หลายไปสูภมิภาคต่างๆ
่ ู
โดยผ่านการค้ าขายการเผยแผ่ศาสนาทางการเมืองโดยผสมผสาน
เข้ ากับวัฒนธรรม พื ้นบ้ านในดินแดนต่างๆ จนกลายเป็ นส่วนหนึง
่
ของสังคมนันๆ พระพุทธศาสนาปรากฏเด่นชัดในเอเชียตะวันออก
้
เฉียงใต้ จนกลายเป็ นพื ้นฐานสําคัญของวัฒนธรรมต่างๆในภูมิภาค
นี ้ เช่น ภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม และ สถาปั ตยกรรม เป็ นต้ น
ด้ านเศรษฐกิจ
คนในดินแดนลุมนํ ้าสินธุมีการทําอาชีพเกษตรเป็ นพื ้นฐานทาง
่
เศรษฐกิจและมีการทําการค้ าภายใน การเพิ่มประชากรในแต่ละ
อาณาจักร ทําให้ การค้ าภายในเมืองต่างๆขยายตัวขึ ้น ซึงมีสนค้ าสําคัญ
่ ิ
เช่น ดีบก ทองแดง หินมีคาชนิดต่างๆ นอกจากนี ้ยังมีสนค้ าอุตสาหกรรม
ุ
่
ิ
เช่น การทอผ้ า ฝาย ไหม เป็ นสินค้ าไปขายในดินแดนต่างๆ อาทิเช่น
้
ซาอุดอาระเบีย เปอร์ เซีย และอียิปต์ เป็ นต้ น
ิ
เมื่อชาวอารยันมีอํานาจมันคง จึงได้ สร้ างบ้ านอยูเ่ ป็ น
่
หมูบ้าน มีการปลูกข้ าวและเลี ้ยงสัตว์พนธุ์ตางๆ มากขึ ้น เพื่อใช้
่
ั ่
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ นอกจากนี ้ชาวอารยันยังมีอาชีพเป็ นช่าง
ต่างๆ เช่น ช่างทองแดง ช่างเหล็ก ช่างปั นหม้ อ ช่างปะชุน เย็บผ้ า
้
เป็ นต้ น
การที่ชาวอารยันดําเนินการค้ าขายทังทางบกและทาง
้
ทะเลอย่างต่อเนื่อง ทําให้ มีเศรษฐกิจดีพอที่จะสนับสนุนให้ เกิด
การสร้ างสรรค์อารยธรรมในด้ านอื่นๆ
ด้ านศาสนา
อินเดียเป็ นแหล่งกําเนิดศาสนาสําคัญของโลกตะวันออก ได้ แก่
1. พระพุทธศาสนา มีหลักคําสอนที่สําคัญ เช่น อริยสัจ 4
มีจดหมายเพื่อมุงสูนิพพาน
ุ
่ ่
2. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู มีเทพเจ้ าที่สําคัญ เช่น พระศิวะ เป็ น
เทพผู้ทําลายความชัวร้ าย พระพรหม เป็ นเทพเจ้ าผู้สร้ างสรรพสิง
่
่
บนโลก พระวิษณุ เป็ นเทพเจ้ าแห่งสันติสขและปราบปรามความ
ุ
ยุงยาก เป็ นต้ น
่
คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
-ศรุต= พระเวท เกี่ยวกับศาสนา
ิ
-สมฺฤติ แยกได้ เป็ น 3 เรื่ อง คือ
มหากาพย์ เกี่ยวกับ ศีลธรรม
ธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับ กฎหมาย
ปุราณะ
เกี่ยวกับ ประวัตศาสตร์
ิ
3. ศาสนาเชน มีศาสดา คือ มหาวีระ มีนิกายที่สําคัญอยู่ 2 นิกาย
คือ นิกายเศวตัมพร เป็ นนิกายนุ่งผ้ าขาว ถือว่าสีขาวเป็ นสีบริ สทธิ์
ุ
และนิกายทิฆมพร เป็ นนิกายนุงลมห่มฟา (เปลือยกาย)
ั
่
้
4. ศาสนาซิกข์ เป็ นศาสนาที่ก่อตังขึ ้นมาโดย พระศาสดา ศรี คุรุ นา
้
นัก เดว ยิ ในปี พ.ศ. 2012 (ค.ศ. 1469) โดยหลักธรรมและคําสอน
พื ้นฐานของศาสนาซิกข์ขึ ้นมา เป็ นศาสนาที่ตงอยูบนรากฐานแห่ง
ั้ ่
ความจริงและเน้ นความเรี ยบง่าย สอนให้ ทกคนยึดมันและศรัทธาใน
ุ
่
พระเจ้ าแต่เพียงพระองค์เดียว
ด้ านภาษาและวรรณกรรม
นอกจากนี ้ยังพบวัฒนธรรมด้ านภาษา คือ ตัวอักษร
โบราณของอินเดีย ซึงเป็ นอักษรดังเดิมที่ยงไม่มีนกวิชาการ
่
้
ั
ั
อ่านออก อักษรโบราณนี ้ปรากฏในดวงตราต่างๆมากกว่า
1,200 ชิ ้นโดยในดวงตราจะมีภาพวัว ควาย เสือ จระเข้ และ
ช้ างปรากฏอยูด้วย
่
พวกอารยันใช้ ภาษาสันสกฤตซึงเป็ นภาษาที่ใช้ เขียนคัมภีร์
่
ศาสนา เช่น คัมภีร์พระเวท เมื่อประมาณ 1,000 ปี มาแล้ ว วรรณกรรม
ที่สําคัญ ได้ แก่ มหากาพย์มหาภารตยุทธ(มหาภารตะ) ซึงเป็ นเรื่ องการ
่
์
สู้รบในหมูพวกอารยัน และมหากาพย์รามเกียรติ(รามายณะ) เป็ นเรื่ อง
่
การสู้รบระหว่างพวกดราวิเดียน กับพวกอารยัน
ศิลปกรรมอินเดีย
ด้ านสถาปั ตยกรรม
1. ซากเมืองฮารับปาและโมเฮนโจดาโร ทําให้ เห็นว่ามีการวางผัง
เมืองอย่างดี มีสาธารณูปโภคอํานวยความสะดวกหลายอย่าง เช่น
ถนน บ่อนํ ้า ประปา ซึงเน้ นประโยชน์ใช้ สอยมากกว่าความสวยงาม
่
2. ซากพระราชวังที่เมืองปาฏลีบตรและตักศิลา สถูปและเสาแปด
ุ
เหลี่ยม ที่สําคัญคือ สถูปเมืองสาญจี (สมัยราชวงศ์โมริ ยะ)
3. สุสานทัชมาฮาล สร้ างด้ วยหินอ่อน เป็ นการผสมระหว่างศิลปะ
อินเดียและเปอร์ เชีย
ด้ านประติมากรรม
1. พระพุทธรูปแบบคันธาระ
2. พระพุทธรูปแบบมถุรา
3. พระพุทธรูปแบบอมราวดี
4. ภาพสลักนูนที่มหาพลิปลม ได้ รับการยกย่องว่ามหัศจรรย์
ุ ั
จิตรกรรม

สมัยคุปตะ และหลังสมัยคุปตะ เป็ นสมัยที่รุ่งเรื องที่สดของอินเดีย
ุ
พบงานจิตรกรรมที่ผนังถํ ้าอชันตะ เป็ นภาพเขียนในพระพุทธศาสนา
แสดงถึงชาดกต่างๆ ที่งดงามมาก ความสามารถในการวาดเส้ นและ
การอาศัยเงามืดบริเวณขอบภาพ ทําให้ ภาพแลดูเคลื่อนไหว ให้
ความรู้สกสมจริง
ึ
นาฏศิลป
์
เกี่ยวกับการฟอนรํ า เป็ นส่วนหนึงของพิธีกรรมเพื่อบูชาเทพเจ้ า
้
่
ตามคัมภีร์พระเวท

สังคีตศิลป
์
สวดสรรเสริญเทพเจ้ าทังหลาย ถือเป็ นแบบแผนการร้ องที่
้
เก่าแก่ที่สดใน สังคีตศิลปของอินเดีย แบ่งเป็ นดนตรี ศาสนา
ุ
์
ดนตรี ในราชสํานักและดนตรี ท้องถิ่นเครื่ องดนตรี สําคัญ
คือ วีณา หรื อพิณ ใช้ สําหรับดีด เวณุ หรื อขลุย และกลอง
่
การสลายตัวของอารยธรรมลุมแม่นํ ้าสินธุ
่
การขุดค้ นทางโบราณคดีทําให้ ทราบว่าอารยธรรมนี ้
สลายตัวเมื่อประมาณ 1500 ปี ก่อนคริ สตกาล(1500 B.C.) ซึงเป็ น
่
ช่วงเวลาเดียวกันกับที่ชนเผ่าอารยันเข้ ามามีบทบาทอยูในอนุทวีป
่
ในคัมภีร์ฤคเวทของอารยันได้ กล่าวถึงอินทร เทพเจ้ ารุ่นแรก ๆ ของ
อารยันว่าเป็ นผู้ทําลายปอม (ปุรํทร) ในตอนแรกเข้ าใจกันว่าเรื่ องนี ้
้
เป็ นนิยายของชาวอารยัน แต่จากการขุดค้ นพบเมืองโมเฮนโจ-ดา
โร ทําให้ เชื่อได้ วาเป็ นเรื่ องจริ งเพราะหลักฐานโบราณวัตถุได้ ชี ้ชัด
่
ว่า เมืองนี ้ถูกทําลายโดยกลุมคนที่มีอาวุธที่มีประสิทธิภาพ ใช้ ม้า
่
ซึงในช่วงเวลา 1500 B.C. ก็คือ ชาวอารยันนันเอง
่
่
แม้ วาจะเป็ นที่ยอมรับกันโดยทัวไปว่าอารยันเป็ นเหตุสําคัญที่
่
่
ทําให้ อารยธรรมนี ้สลายตัวลงไปอย่างฉับพลัน แต่ในความเป็ นจริง
แล้ วเชื่อว่าได้ ปรากฏร่องรอยของความเสื่อมในอารยธรรมนี ้มาก่อน
แล้ ว สาเหตุของความเสื่อมนันก็อาจเนื่องมาจากจํานวนประชากรที่
้
เพิ่มขึ ้น ทําให้ บ้านเมืองขาดความเป็ นระเบียบ การก่อสร้ างไม่มี
ระเบียบเหมือนในยุคแรก ๆ มีการสร้ างลํ ้าไปในถนน ประเด็นนี ้สะท้ อน
ให้ เห็นถึงอํานาจของผู้ปกครองที่ด้อยลงไปกว่าเดิมด้ วย
นอกเหนือจากเหตุนี ้แล้ วเชื่อว่า ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ ้นบ่อย ๆ
ในแถบลุมแม่นํ ้าสินธุคือ อุทกภัยเป็ นสาเหตุสําคัญที่ทําให้ เกิดปั ญหา
่
ต่าง ๆ ตามมา จนทําให้ เกิดความเสื่อมขึ ้น อย่างเช่น การขาดแคลน
อาหาร โรคระบาด การไร้ ที่อยูอาศัย
่
นอกจากนี ้ ลักษณะบางประการของอารยธรรมนี ้อาจจะมี
ส่วนที่ทําให้ เกิดความเสื่อมในระยะยาว คือ ลักษณะอนุรักษ์ นิยม
(Conservatism) จากความสัมพันธ์ที่อารยธรรมนี ้กับดินแดนแถบ
ลุมแม่นํ ้าไทรกริส-ยูเฟรติส ซึงมีความรู้ความสามารถทางเทคนิค
่
่
วิทยาที่เหนือกว่า เช่น การใช้ เหล็ก แต่ประชาชนในอารยธรรมนี ้
กลับมิได้ ใช้ ประโยชน์กบความสัมพันธ์นี ้ ดินแดนลุมแม่นํ ้าสินธุ
ั
่
ยังคงใช้ ทองแดง ซึงเป็ นโลหะที่ออนเมื่อเทียบกับโลหะชนิดอื่น ๆ ที่
่
่
ประชาชนของกลุมอื่นใช้ กน
่
ั
โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกอารยันที่ รู้จกใช้ เหล็ก จึงทําให้ มี
ั
อาวุธหรื อเครื่ องมือที่มีประสิทธิภาพดีกว่า ลักษณะอนุรักษ์ นิยม
เช่นนี ้อาจนําไปสูความเสื่อมได้
่
นอกจากนี ้จากการขุดค้ นยังพบว่าชาวอารยธรรมนี ้สร้ าง
บ้ านเรื อนซ้ อนทับบนฐานเดิมขึ ้นต่อ ๆ กันไปถึง 9 ชัน
้
ปรากฏการณ์เช่นนี ้สะท้ อนให้ เห็นถึงความคิดที่ยดมันอยูกบสิงที่มี
ึ ่ ่ ั ่
ที่เป็ นอยู่ อันอาจเป็ นสาเหตุหนึงของความเสื่อมในอารยธรรมนี ้
่
ขอบคุณค่ะ
รายชื่อผู้จดทํา
ั

ศรัณย์รัตน์ ประวัติศิลป ม.6.7 เลขที่ 9
์
อรกานต์ สินเสรี กล ม.6.7 เลขที่ 30
ุ

Contenu connexe

Tendances

อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
Jungko
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Ppor Elf'ish
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
JulPcc CR
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
Kittisak Chumnumset
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
Mind Candle Ka
 

Tendances (20)

Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 

En vedette (8)

อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาคอิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similaire à 2.2 อารยธรรมอินเดีย

ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
teacherhistory
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
Ppor Elf'ish
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
Aniwat Suyata
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 

Similaire à 2.2 อารยธรรมอินเดีย (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
 
อารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคาอารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคา
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
7
77
7
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
 

Plus de Jitjaree Lertwilaiwittaya

1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 

Plus de Jitjaree Lertwilaiwittaya (19)

1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
 

2.2 อารยธรรมอินเดีย

  • 1.
  • 2. อารยธรรมอินเดียกําเนิดในบริ เวณที่อยูระหว่างแม่นํ ้าสินธุและ ่ แม่นํ ้าคงคา ซึงเรี ยกกันทัวไปว่าอนุทวีป หรื อเอเชียใต้ ในปั จจุบน เป็ น ่ ่ ั อารยธรรมที่เกิดจากการหล่อหลอมและผสมผสานความเจริญของชน ชาติตางๆ ที่ได้ เข้ ามาครอบครองและตังถิ่นฐาน จนกลายเป็ น อารย ่ ้ ธรรมอินเดีย ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาอารย ธรรมในภูมิภาคเอเชียอื่นๆ นับว่าเป็ นรากฐานสําคัญของอารยธรรม ตะวันออก
  • 5. ตอนเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ มีเทือกเขาหิมาลัยที่หนาวเย็นและสูงชันกันไม่ให้ อินเดีย ้ ติดต่อกับดินแดน อื่นได้ สะดวก อย่างไรก็ตาม ก็ยงมีช่องแคบไค ั เบอร์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือที่ตดต่อกับดินแดนอื่นทางตะวันตก ิ ได้ เช่น เปอร์ เซีย กรี ก และโรมัน ดังนันบริ เวณอินเดียตอนเหนือ ้ จึงรับและผสมผสานอารยธรรมที่เข้ ามาทางช่องแคบ ไคเบอร์ ทัง้ ที่มาจากการติดต่อค้ าขายและรุกรานของชาติอื่นๆ เช่น พวก อารยันและมุสลิม
  • 6. ตอนตะวันตกและตะวันออก เป็ นที่ราบลุมแม่นํ ้าสินธุ แม่นํ ้าคงคา และแม่นํ ้าสาขา ่ ของแม่นํ ้าทังสองที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การประกอบ ้ เกษตรกรรม โดยเฉพาะแม่นํ ้าคงคา ซึงมีต้นกําเนิดจาก ่ เทือกเขาหิมาลัยและนําความอุดมสมบูรณ์ให้ แก่พื ้นที่ในลุม ่ แม่นํ ้า จึงเปรี ยบเสมือนเส้ นเลือดที่หล่อเลี ้ยงชาวอินเดีย และ เป็ นบ่อเกิดของศาสนา ความเชื่อและพิธีกรรมต่างๆ ในอารย ธรรมอินเดีย เช่น ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาพุทธ ความอุดมสมบูรณ์ในเขตที่ราบลุมแม่นํ ้าต่างๆนี ้ ทําให้ ชน ่ ต่างชาติพยายามรุกรานและยึดครองอินเดียตลอดมา
  • 7. ตอนกลาง เป็ นเขตที่ราบสูงเดคคานที่แห้ งแล้ งและทุรกันดาร เพาะถูกโอบล้ อมด้ วยเทือกเขาสูงซึงขวางกันการติดต่อ ่ ้ ระหว่างอินเดียเหนือและ อินเดียใต้ แต่ก็นบเป็ นเขตเศรษฐกิจ ั สําคัญของอินเดีย เพราะเป็ นพื ้นที่เกษตรกรรมซึงเป็ นอาชีพ ่ หลักของชาวอินเดีย และยังคงอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรป่ า ไม้ และแร่ธาตุตางๆ ่
  • 8. ตอนใต้ ไม่สามารถติดต่อกับดินแดนทางตอนเหนือได้ สะดวก แต่ สามารถติดต่อกับดินแดนอื่นๆ นอกประเทศได้ ง่าย เนื่องจากมีที่ราบ แคบๆ ยาวขนานกับชายฝั่ งมหาสมุทรอินเดียทัง้ 2 ฝั่ ง ประชากรใน แถบนี ้มีการติดต่อค้ าขายและแลกเปลี่ยนอารยธรรมกับดินแดนอื่น เช่น อียิปต์ เมโสโปเตเมีย ลังกา และดินแดนในเขตเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ อารยธรรมของชาวอินเดียใต้ จงมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างจาก ึ ชาวอินเดียทางตอนเหนือ
  • 9. เนื่องจากอินเดียมีลกษณะภูมิประเทศที่หลากหลาย ั ดินแดนทางตอนเหนือและตอนใต้ ถกแบ่งแยกจากกันด้ วยที่ราบ ู สูงเดคคาน เป็ นผลให้ ทงสองเขตมีความแตกต่างกันทังด้ าน ั้ ้ ภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ การประกอบอาชีพ และการหล่อ หลอมอารยธรรม ความหลากหลายนี ้ ส่งเสริ มให้ ชนชาติตางๆ ่ ขยายอิทธิพลเข้ ามาครอบครองอินเดีย เป็ นผลให้ เกิดการ ผสมผสานและหล่อหลอมอารยธรรมของชนชาติตางๆ ที่เข้ ามา ่ ปกครอง ชนชาติที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาอารยธรรม อินเดียโบราณ ได้ แก่ พวกดราวิเดียน หรื อทราวิฑ (Dravidian) และอารยัน (Aryan)
  • 11. อินเดียมีภมิอากาศแห้ งแล้ งเพราะฝนตกน้ อยประมาณ ู ปี ละ 4 เดือน และมีอากาศร้ อนจัด ปี ใดฝนตกน้ อยกว่าปกติ การ เพาะปลูกจะไม่ได้ ผลและเกิดความอดอยาก ปี ที่มีอากาศร้ อน จัดมากๆ เช่น อุณหภูมิสงกว่า 40 องศาเซลเซียสขึ ้นไปมักจะเกิด ู ภัยแล้ ง พืชผลส่วนใหญ่ไม่อาจทนความแห้ งแล้ งได้ เพราะ อากาศขาดความชุ่มชื ้น ในเขตตรงข้ าม ปี ใดที่ฝนตกมากเกินไป จะเกิดอุทกภัย พืชผลได้ รับความเสียหาย สภาพภูมิอากาศจึงมี อิทธิพลต่อการดํารงชีวิตและความเชื่อของชาวอินเดีย จึงต้ อง พึงพาธรรมชาติ ดังเช่นการบูชาแม่นํ ้าคงคาว่าเป็ นแม่นํ ้า ่ ์ ิ ศักดิสทธิ์ที่นําความชุ่มชื ้นและ อุดมสมบูรณ์มาให้
  • 12. ลักษณะภูมิอากาศยังทําให้ ชาวอินเดียมีความอดทนใน การต่อสู้กบความยากลําบาก ด้ วยวิธีการต่างๆ พร้ อมกับการ ั ยอมรับชะตากรรมที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
  • 14. หลักฐานทางโบราณคดี พบว่ามีหมูบ้านและเมืองโบราณ ่ กว่า ๕๐ แห่งบนบริ เวณที่ราบริ มฝั่ งแม่นํ ้าสินธุและพบเมืองใหญ่ ๒ เมือง คือ 1. เมืองโมเฮนโจ-ดาโร 2. เมืองฮารัปปา
  • 15. และยังมีการขุดพบเมืองเล็กๆที่อยูหางไปทางทิศ ่ ่ ตะวันตกเฉียง เหนือของอินเดีย ประมาณ ๔๐๐ กิโลเมตร ได้ แก่ เมืองกลิบังคัน และเมืองริ มฝั่ งทะเลใหญ่ที่สดชื่อเมืองโลธัล ุ ตังอยูบริเวณปากอ่าวแคมเบในทะเลอาหรับ ้ ่ หลักฐานดังกล่าวทําให้ ทราบว่าบริ เวณลุ่ มแม่ นําสินธุ ้ มีผ้ คนตังถิ่นฐานและสร้ างสรรค์อารยธรรมมานาน ู ้
  • 17. ชาวดราวิเดียน หลักฐานทางโบราณคดี และการศึกษาเรื่ องชาติพนธุ์ทํา ั ให้ สนนิษฐานได้ วาพวกดราวิเดียนคือ ชนพื ้นเมืองดังเดิม ที่ตงถิ่น ั ่ ้ ั้ ฐานบริเวณลุมแม่นํ ้าสินธุราว 4,000 ปี มาแล้ ว พวกนี ้มีรูปร่างเตี ้ย ่ ผิวคลํ ้าและจมูกแบนคล้ ายกับคนทางตอนใต้ ในอินเดียบางพวก ในปั จจุบน ั ชาวดราวิเดียน สามารถเรี ยกได้ อีก 3 ชื่อ คือ ทราวิฑ มิลกขะ และ มุณฑ์ ั
  • 18. ชาวอารยัน เป็ นพวกที่อพยพเคลื่อนย้ ายจากดินแดนเอเชียกลาง ลงมายังตอนใต้ กระจายไปตังถิ่นฐานในพื ้นที่ตางๆ ซึงอุดม ้ ่ ่ สมบูรณ์และมีภมิอากาศอบอุนกว่า พวกอารยันส่วนหนึงได้ ู ่ ่ เคลื่อนย้ ายเข้ ามาตังถิ่นฐานอยูในลุมแม่นํ ้าสินธุและ ขับไล่ ้ ่ ่ พวกดราวิเดียน ให้ ถอยร่นลงไปหรื อจับตัวเป็ นทาส พวกอารยัน มีรูปร่างสูงใหญ่ผิวขาว จมูกโด่ง คล้ ายกับชาวอินเดียที่อยูทาง ่ ตอนเหนือ
  • 20. อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์ อารยธรรมอินเดียเป็ นอารยธรรมที่เก่าแก่มาก เช่นเดียวกับ อารยธรรมอียิปต์และอารยธรรมเมโสโปเตเมีย แต่ที่ตางกันคือ อารย ่ ธรรมอินเดียเป็ น อารยธรรมที่สืบสายกันมาไม่ขาดตอนจนถึงสมัย ปั จจุบน ไม่มีระยะเวลาใดที่อารยธรรมอินเดียถูกอารยธรรมต่างชาติ ั เข้ ามาทําลายจนต้ องมีการเริ่ มต้ นใหม่ แต่การค้ นคว้ าเรื่ องอารยธรรม อินเดียก็เป็ นเรื่ องที่ยากเพราะหลักฐานตัวเขียนที่เล่าเรื่ องราวของ อารยธรรมอินเดียที่เก่าที่สดก็เก่าเพียงแค่สมัยพระเวท ที่เก่ากว่านัน ุ ้ ไปไม่มีหลักฐานตัวเขียนกล่าวถึง จะรู้เรื่ องราวได้ ก็ต้องอาศัยวิธีการ ของนักโบราณคดี และประเทศอินเดียก็ไม่มีนกโบราณคดีมาก่อนที่ ั นักปราชญ์ชาวยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวอังกฤษจะเดินทางเข้ ามา ทําการขุดค้ นในอินเดีย
  • 21. ดังนันความรู้เรื่ องอารยธรรมอินเดียในสมัยก่อน ้ ประวัตศาสตร์ จงเพิ่งรู้กนเมื่อประมาณสองร้ อยกว่าปี มานี ้เอง ิ ึ ั 1. หลักฐานที่พบ คือซากเมืองโบราณ ที่สําคัญคือ เมือง ฮารัปปา และโมเฮนโจดาโร เมืองทังสองตังอยูริมแม่นํ ้าสินธุ ้ ้ ่ 2. พวกดราวิเดียน เป็ นพวกที่สร้ างอารยธรรมนี ้ ชนกลุมนี ้ ่ รู้จกการใช้ โลหะ ทําเครื่ องมือเครื่ องใช้ ตางๆ รู้จกการทอผ้ า เพาะปลูก ั ่ ั สร้ างที่อยูด้วยอิฐ ทําระบบชลประทาน และการเขียนอักษรรูปภาพ ่ 3. ถูกพวกอารยันที่เป็ นชนเผ่าเร่ร่อนจากตอนกลางของทวีป เอเชียอพยพเข้ ามารุกราน และขับไล่ให้ พวกดราวิเดียนถอยร่นไปตัง้ ถิ่นฐานทางใต้
  • 22. อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาสตร์ 1. สมัยพระเวท ในยุคพระเวทมีระบบการบริ การการปกครองแบบง่ายๆมี กษัตริย์เป็ นหัวหน้ า ในแต่ละอาณาจักร ประกอบด้ วย ที่เรี ยกว่า ชน (อ่านว่า ชะ-นะ) วิศ และ คาม หน่วยเล็กที่สดคือครอบครัวหรื อ กุล ุ มีหวหน้ าคือ บุรุษสูงอายุที่สดเป็ นหัวหน้ าเรี ยกว่า กุลป กษัตริย์มี ั ุ คณะที่ปรึกษาช่วยมนการปกครองและมีตําแหน่งราชการที่สําคัญ 2 ตําแหน่งคือ ปุโรหิต เป็ นทังพระและโหร และเสนาบดีที่ปรึกษา ้ เสนานี เป็ นตําแหน่งผู้บญชาการทัพ ตําแหน่งอื่นๆรองลงไปคือ ผู้ ั สอดแนม ม้ าใช้ หลักฐานสมัยหลังๆมีกล่าวถึงตําแหน่งสารถี และขุน คลัง ฯลฯ
  • 23. 2. สมัยมหากาพย์ เมื่อ 900-600 ปี ก่อนคริ สต์ศกราช เป็ นสมัยที่มีการใช้ ั ตัวหนังสือบันทึกเรื่ องราว การปกครองเริ่ มแรกปกครองแบบชนเผ่า อารยัน มีราชาเป็ นผู้ปกครองแต่ละเผ่าไม่ขึ ้นต่อกัน ราชามีอํานาจ สูงสุดเด็ดขาด ความรับผิดชอบจะขึ ้นอยูกบที่ประชุมเผ่า ่ ั ประกอบด้ วย สภา(ที่ประชุมของบุคคลสําคัญในเผ่า) , สมิติ (ที่ ประชุมใหญ่ของราษฎร) ในสมัยมหากาพย์มีดง 2 เรื่ องคือ รา ั มายณะ ของฤษีวาลมิกิ และมหาภารตะ ของฤษีวยาสะทัง้ 2 เรื่ อง สะท้ อนเกี่ยวกับการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ ของชาวอารยันสมัย นันได้ เป็ นอย่างดี ปลายสมัย ชนเผ่าอารยันขยายตัวออกไป มีการ ้ ดําเนินการปกครองแบบราชาธิปไตยจากราชา เปลี่ยนเป็ น กษัตริย์ เป็ นสมมติเทพ
  • 26. 3. สมัยจักรวรรดิ 600 ปี ก่อนคริ สต์ศกราช-ปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 10 ั การเมืองการปกครองของอินเดียก้ าวมาสูยคจักรวรรดิเป็ นสมัย ่ ุ ที่มีความสําคัญต่อการวางพื ้นฐานของแบบแผนทางสังคม ศิลปะ วัฒนธรรมอินเดีย ที่ยงคงสืบเนื่องต่อมาถึงปั จจุบน ั ั สมัยจักรวรรดิแบ่งเป็ น 5 สมัยคือ - จักรวรรดิมคธ - จักรวรรดิเมารยะ - สมัยแบ่งแยกและรุกรานจากภายนอก - สมัยจักรวรรดิคปตะ ุ - อินเดียหลังสมัยจักรวรรดิคปตะ ุ
  • 27. 3.1 จักรวรรดิมคธ ตังอยูบริเวณภาคตะวันออกของลุมแม่นํ ้าคงคา เป็ นแคว้ นที่มี ้ ่ ่ อนุภาพมากที่สดในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริ สต์ศกราช จนกระทังแคว้ น ุ ั ่ มคธเป็ นจักรวรรดิขนาดใหญ่ที่ปรากฏขึ ้นครังแรกในอินเดีย กษัตริย์ที่มี ้ ชื่อเสียง 2 คนคือ - พระเจ้ าพิมพิสาร - พระเจ้ าอชาตศัตรู ในระบอบการปกครองกษัตริ ย์มีอํานาจสูงสุดมีขนนาง 3 ฝ่ าย ุ - บริ หาร - ตุลาการ - การทหาร รวมเรี ยกว่า มหามาตระ
  • 28. 3.2 จักรวรรดิเมารยะ ในกลางศตวรรษที่ 4 ก่อนคริ สต์ศกราช ราชวงศ์นนทะที่ ั ั ปกครองจักรวรรดิมคธเสื่อมอํานาจลง ราชวงศ์เมารยะได้ มีอํานาจ ขึ ้นปกครอง ปั จจุบน คือพื ้นที่ทางภาคเหนือของอินเดีย ั ระเบียบการปกครอง คือ รวมอํานาจไว้ ที่พระมหากษัตริ ย์ และเมืองหลวง จักรพรรดิมีอํานาจสูงสุดทางด้ านบริ หาร กฎหมาย การศาลและการทหาร มีสภาเสนาบดีและสภาแห่งรัฐเป็ นสภา ปรึกษา จักรวรรดิควบคุมเมืองต่างๆ โดยการกระจายหน่วยงาน อยูทวไปเพื่อรายงานเรื่ องราวมายังเมืองหลวง ่ ั่
  • 29. 3.3 สมัยแบ่งแยกและการรุกรานจากภายนอก ความเสื่อมอํานาจของราชวงศ์เมารยะมีผลกระทบต่ออินเดีย 3 ประการ - อาณาจักรใหญ่น้อยแบ่งแยกออกเป็ นอิสระ - เกิดการรุกรานจาก กรี ก อิหร่าน เปอร์ เชีย ศกะ กุษาณะ - กรี กและเปอร์ เชียได้ ถ่ายทอดวัฒนธรรมเช่น ด้ านศิลปกรรม ได้ แก่ สถาปั ตยกรรม และประติมากรรมให้ แก่อินเดีย
  • 30. 3.4 อารยธรรมสมัยคุปตะ พระเจ้ าจันทรคุปต์ ทรงตังราชวงศ์โมริ ยะ ที่ปรึกษาของ ้ พระองค์เป็ นพราหมณ์ ชื่อ โคทิลยะ หรื ออีกชื่อ คือ ชนกิยะ เป็ นผู้มี ความรู้ในด้ านการปกครอง การบริ หาร และการเศรษฐกิจ และใช้ ความรู้จากคัมภีร์อรรถศาสตร์ มาบริ หารประเทศโดยเฉพาะ ในด้ าน เศรษฐกิจของประเทศในสมัยของพระเจ้ าจันทรคุปต์ มีนกปราชญ์ชาว ั กรี ก ชื่อ Megasthenes มาอยูในราชสํานักด้ วย ทําให้ เราทราบว่ามีการ ่ แลกเปลี่ยนความคิดระหว่างอินเดียและกรี ก พระเจ้ าจันทรคุปต์ทรง ขยายอาณาเขตมาทางตะวันตกจนถึงเขตแดนของอาณาจักรเซเลอคุส ของกรี ก ทรงทําสงครามชนะพระเจ้ า Nicator แห่งเซเลอคุส พระธิดา ของพระเจ้ า Nicator ถูกส่งมาเป็ นมเหสีของพระเจ้ าจันทรคุปต์ที่ เมืองปั ตลีบตร ทรงผูกสัมพันธไมตรี กบกรี ก ุ ั
  • 31. ราชวงศ์ โมริยะ กษัตริ ย์องค์แรกคือพระเจ้ าจันทรคุปต์ กษัตริ ย์ที่มีชื่อเสียงคือพระเจ้ าอโศก มหาราช มีอํานาจหลักการปกครองที่ สําคัญใช้ จากคัมภีร์อรรถศาสตร์ (เกาฏิลยะ) แสดงให้ เห็นว่ากษัตริ ย์ทรงมี อํานาจสูงสุด ต่อมาเมื่อพระเจ้ าอโศกมหาราชได้ หันมานับถือศาสนาพุทธ ทรงให้ มีการ จารึกบนเสาหินที่ตงอยูตามดินแดนต่างๆ ั้ ่ เป็ นหลักของศีลธรรมที่สอดคล้ องกับทุก ศาสนา (เรี ยก หัวเสาสมัยพระเจ้ าอโศก มหาราช) หัวเสาสมัยพระเจ้ าอโศกมหาราช
  • 33. 3.5 อินเดียหลังสมัยจักรวรรดิคปตะ ุ ราชวงศ์คปตะเริ่ มเสื่อมอํานาจลงชนต่างชาติได้ รุกราน ุ อินเดีย ภาคเหนือแบ่งแยกเป็ นแคว้ นเล็กๆ มีราชวงศ์ตางๆเข้ ามา ่ ยึดครอง หลังการสิ ้นสุดจักรวรรดิคปตะ ชนชาติที่มารุกรานนับถือ ุ พราหมณ์ จึงได้ กวาดล้ างชาวพุทธให้ สิ ้นซาก และวัด แต่ พระพุทธศาสนาในอินเดียยังคงรุ่งเรื องอยู่
  • 34. 4. สมัยมุสลิม มุสลิมที่เข้ ารุกรานอินเดีย คือมุสลิมเชื ้อสายเติร์กจาก เอเชียกลาง เข้ าปกครองอินเดียภาคเหนือ ตังเมืองเดลี เป็ นเมือง ้ หลวง เมื่อเข้ ามาปกครองมีการบีบบังคับให้ ชาวอินเดียมานับถือ ศาสนาอิสลาม ราษฎรที่ไม่นบถือศาสนาอิสลามจะถูกเก็บภาษี ั อย่างรุนแรง หากหันมานับถือจะได้ รับการยกเว้ น การกระทํา ของเติร์กส่งผลให้ สงคมอินเดียเกิดความแตกแยกระหว่างพวก ั ฮินดูและมุสลิมจนถึงปั จจุบน ั
  • 36. 1. สมัยพระเวท มีการปกครองแบบราชาธิปไตย กษัตริย์เป็ นสมมติเทพ 2. สมัยจักรวรรดิ แบ่งเป็ น 2.1 จักรวรรดิมคธ มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ 2.2 จักรวรรดิราชวงศ์โมริยะ แบ่งการปกครองออกเป็ น ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค 2.3 สมัยแบ่งแยก อาณาจักรต่างๆ ตังตัวเป็ นอิสระเกิดการรุกราน ้ จากภายนอก คือ กรี ก เปอร์ เซีย 2.4 สมัยจักรวรรดิคปตะ กษัตริ ย์มีอํานาจเต็มในเมืองหลวงและ ุ ใกล้ เคียง ดินแดน ห่างไกลมีเจ้ าครองนครปกครอง 2.5 หลังสมัยคุปตะ ราชวงศ์ปาละ–เสนะ เป็ นราชวงศ์สดท้ ายที่ ุ ปกครองก่อนที่มสลิมจะเข้ ายึดครองอินเดีย ุ
  • 37. 3. สมัยมุสลิม ราชวงศ์โมกุลซึงนับถือศาสนาอิสลามเข้ ามา ่ ปกครองก่อนที่อินเดียจะตกเป็ นเมืองขึ ้นของอังกฤษ 4. สมัยอาณานิคม มีระเบียบบริ หารราชการ กฎหมายและ การศาลเป็ นแบบฉบับเดียวกันทัวประเทศเป็ นผลดีแก่อินเดีย ่ 5. สมัยเอกราช พลังของขบวนการชาตินิยม ระหว่าง สงครามโลกครังที่ 2 ภายใต้ การนําของมหาตมะคานธี ้ 6. สมัยปั จจุบน อินเดียมีการปกครองแบบประชาธิปไตย ั แบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข มีนายกบริหารประเทศ รัฐสภามี 2 สภาคือ ราชยสภา กับโลกสภา (สภาผู้ แทน)
  • 39. บ้ านเมืองในลุมนํ ้าสินธุมีร่องรอยของการปกครองแบบรวม ่ อํานาจเข้ าสูศนย์กลาง ทังนี ้เห็นได้ จากรูปแบบการสร้ างเมืองฮารัป ่ ู ้ ปาและเมืองโมเฮนโจดาโร ที่มีการวางผังเมืองในลักษณะเดียวกัน ตัวเมืองมักสร้ างอยูในปอมซึงต้ องมีผ้ นําที่มีอํานาจแบบรวมศูนย์ ่ ้ ่ ู ผู้นํามีสถานภาพเป็ นทังกษัตริ ย์และเป็ นนักบวชจึงมีอํานาจทังทาง ้ ้ โลกและทางธรรม
  • 40. ต่อมาเมื่อพวกอารยันเข้ ามาปกครองดินแดนลุมนํ ้าสินธุแทนพวกด ่ ราวิเดียน จึงได้ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ นแบบกระจายอํานาจ โดยแต่ ละเผ่ามีหวหน้ าที่เรี ยกว่า “ราชา” ปกครองกันเอง มีหน่วยการปกครอง ั ลดหลันลงไปตามลําดับ จากครอบครัวที่มีบดาเป็ นหัวหน้ าครอบครัว ่ ิ หลายครอบครัวรวมเป็ นระดับหมูบ้าน และหลายหมูบ้านมีราชาเป็ น ่ ่ หัวหน้ า ต่อมาแต่ละเผ่ามีการพุงรบกันเอง ทําให้ ราชาได้ ขึ ้นมามีอํานาจ ่ สูงสุดในการปกครองด้ วยวิธีตางๆ เช่น พิธีราชาภิเษก ความเชื่อในเรื่ อง ่ อวตารพิธีอศวเมธ เป็ นพิธีขยายอํานาจโดยส่งม้ าวิ่งไปยังดินแดนต่างๆ ั จากนันจึงส่งกองทัพติดตามไปรบเพื่อยึดครองดินแดนที่ม้าวิ่งผ่านไป การ ้ ตังชื่อเพื่อสร้ างความยิ่งใหญ่ คําสอนในคัมภีร์ศาสนาและตําราสนับสนุน ้ ความยิ่งใหญ่ของราชา และต่อมาก็มีคติความเชื่อว่า ราชาทรงเป็ นสมมติ เทพ คือ พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นเทพอวตารลงมาเพื่อปกครองมวลมนุษย์
  • 41. ในด้ านการปกครองมีการเขียนตําราเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ชื่อ อรรถศาสตร์ ระบุหน้ าที่ของกษัตริย์ ในด้ าน กฎหมาย มีพระธรรมศาสตร์ และต่อมามีการเขียนพระ ธรรมนูญธรรมศาสตร์ ขึ ้น
  • 43. ในลุมนํ ้าสินธุ กลุมชนที่อาศัยอยูในระยะแรก คือ พวกดราวิเดียน ่ ่ ่ ซึงเป็ นโครงสร้ างทางสังคมประกอบด้ วยผู้ปกครอง ได้ แก่ ราชาและ ขุนนาง ่ แต่เมื่อพวกอารยันเข้ ามาปกครองทําให้ มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม กล่าวคือ ฝ่ ายดราวิเดียนถูกลดฐานะลง เป็ นทาส ความสัมพันธ์ของคนใน สังคมระยะแรกมีการแต่งงานระหว่างชนสองกลุมแต่ตอมาพวกอารยันเกรง ่ ่ ว่าจะถูกกลืน ทางเชื ้อชาติจงห้ ามการแต่งงานระหว่างชนสองกลุม ทําให้ เกิด ึ ่ การแบ่งแยกระหว่างเผ่าพันธุ์ จนกลายเป็ นระบบวรรณะ
  • 44. แบ่งหน้ าที่ชดเจนโดยแบ่งออกเป็ น 4 วรรณะใหญ่ๆ คือ ั · วรรณะพราหมณ์ ผู้ประกอบพิธีกรรมและสืบต่อศาสนา เปรี ยบเสมือน ปากของพระพรหม · วรรณะกษัตริย์ มีหน้ าที่ปกครองแว่นแคว้ น เปรี ยบเสมือน แขนของพระพรหม · วรรณะแพศย์ มีหน้ าที่ผลิตอาหารและหารายได้ ให้ แก่บ้านเมือง เปรี ยบเสมือน ขาของพระพรหม · วรรณะศูทร คือคนพื ้นเมืองดังเดิมที่ทําหน้ าที่รับใช้ วรรณะทังสาม ้ ้ เปรี ยบเสมือน เท้ าของพระพรหม
  • 45. ส่วนลูกที่เกิดจากการแต่งงานข้ ามวรรณะถูกจัดให้ อยู่ นอกสังคม เรี ยกว่า พวกจัณฑาล นอกจากนี ้ในหมูชาวอารยัน ่ สตรี มีฐานะสูงในสังคมและใช้ โคเป็ นเครื่ องมือวัดความมันคง ่ ของบุคคลในด้ านวัฒนธรรมพวกดราวิเดียนนับถือสัตว์บาง ชนิด ได้ แก่ โค ช้ าง และแรดนอกจากนี ้ยังนับถือเทพเจ้ าต่างๆ และแม่พระธรณี ซึงเป็ นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ พวก ่ อารยันรับความเชื่อของพวกดราวิเดียนบางอย่างมานับถือ ได้ แก่ การนับถือโค พระศิวะ และศิวลึงค์
  • 46. พวกอารยันใช้ ภาษาสันสกฤตซึงเป็ นภาษาที่ใช้ เขียน ่ คัมภีร์ศาสนา เช่น คัมภีร์พระเวท เมื่อประมาณ 1,000 ปี มาแล้ ววรรณกรรมที่สําคัญ ได้ แก่ มหากาพย์ มหาภารตยุทธ ซึงเป็ นเรื่ องการสู้รบในหมูพวกอารยันและมหากาพย์ ่ ่ รามเกียรติเ์ ป็ นเรื่ องการสู้รบระหว่างพวกดราวิเดียน กับพวก อารยัน ชาวอารยันมักยึดมันในหลักศาสนาที่ปรากฏในคัมภีร์ ่ พระเวทและระบบวรรณะขณะเดียวกันชาวอารยันบางกลุมไม่ ่ เห็นด้ วยกับความคิดเหล่านี ้
  • 47. อารยธรรมของอินเดียได้ แพร่หลายไปสูภมิภาคต่างๆ ่ ู โดยผ่านการค้ าขายการเผยแผ่ศาสนาทางการเมืองโดยผสมผสาน เข้ ากับวัฒนธรรม พื ้นบ้ านในดินแดนต่างๆ จนกลายเป็ นส่วนหนึง ่ ของสังคมนันๆ พระพุทธศาสนาปรากฏเด่นชัดในเอเชียตะวันออก ้ เฉียงใต้ จนกลายเป็ นพื ้นฐานสําคัญของวัฒนธรรมต่างๆในภูมิภาค นี ้ เช่น ภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม และ สถาปั ตยกรรม เป็ นต้ น
  • 49. คนในดินแดนลุมนํ ้าสินธุมีการทําอาชีพเกษตรเป็ นพื ้นฐานทาง ่ เศรษฐกิจและมีการทําการค้ าภายใน การเพิ่มประชากรในแต่ละ อาณาจักร ทําให้ การค้ าภายในเมืองต่างๆขยายตัวขึ ้น ซึงมีสนค้ าสําคัญ ่ ิ เช่น ดีบก ทองแดง หินมีคาชนิดต่างๆ นอกจากนี ้ยังมีสนค้ าอุตสาหกรรม ุ ่ ิ เช่น การทอผ้ า ฝาย ไหม เป็ นสินค้ าไปขายในดินแดนต่างๆ อาทิเช่น ้ ซาอุดอาระเบีย เปอร์ เซีย และอียิปต์ เป็ นต้ น ิ
  • 50. เมื่อชาวอารยันมีอํานาจมันคง จึงได้ สร้ างบ้ านอยูเ่ ป็ น ่ หมูบ้าน มีการปลูกข้ าวและเลี ้ยงสัตว์พนธุ์ตางๆ มากขึ ้น เพื่อใช้ ่ ั ่ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ นอกจากนี ้ชาวอารยันยังมีอาชีพเป็ นช่าง ต่างๆ เช่น ช่างทองแดง ช่างเหล็ก ช่างปั นหม้ อ ช่างปะชุน เย็บผ้ า ้ เป็ นต้ น การที่ชาวอารยันดําเนินการค้ าขายทังทางบกและทาง ้ ทะเลอย่างต่อเนื่อง ทําให้ มีเศรษฐกิจดีพอที่จะสนับสนุนให้ เกิด การสร้ างสรรค์อารยธรรมในด้ านอื่นๆ
  • 52. อินเดียเป็ นแหล่งกําเนิดศาสนาสําคัญของโลกตะวันออก ได้ แก่ 1. พระพุทธศาสนา มีหลักคําสอนที่สําคัญ เช่น อริยสัจ 4 มีจดหมายเพื่อมุงสูนิพพาน ุ ่ ่ 2. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู มีเทพเจ้ าที่สําคัญ เช่น พระศิวะ เป็ น เทพผู้ทําลายความชัวร้ าย พระพรหม เป็ นเทพเจ้ าผู้สร้ างสรรพสิง ่ ่ บนโลก พระวิษณุ เป็ นเทพเจ้ าแห่งสันติสขและปราบปรามความ ุ ยุงยาก เป็ นต้ น ่
  • 53. คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู -ศรุต= พระเวท เกี่ยวกับศาสนา ิ -สมฺฤติ แยกได้ เป็ น 3 เรื่ อง คือ มหากาพย์ เกี่ยวกับ ศีลธรรม ธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับ กฎหมาย ปุราณะ เกี่ยวกับ ประวัตศาสตร์ ิ
  • 54. 3. ศาสนาเชน มีศาสดา คือ มหาวีระ มีนิกายที่สําคัญอยู่ 2 นิกาย คือ นิกายเศวตัมพร เป็ นนิกายนุ่งผ้ าขาว ถือว่าสีขาวเป็ นสีบริ สทธิ์ ุ และนิกายทิฆมพร เป็ นนิกายนุงลมห่มฟา (เปลือยกาย) ั ่ ้ 4. ศาสนาซิกข์ เป็ นศาสนาที่ก่อตังขึ ้นมาโดย พระศาสดา ศรี คุรุ นา ้ นัก เดว ยิ ในปี พ.ศ. 2012 (ค.ศ. 1469) โดยหลักธรรมและคําสอน พื ้นฐานของศาสนาซิกข์ขึ ้นมา เป็ นศาสนาที่ตงอยูบนรากฐานแห่ง ั้ ่ ความจริงและเน้ นความเรี ยบง่าย สอนให้ ทกคนยึดมันและศรัทธาใน ุ ่ พระเจ้ าแต่เพียงพระองค์เดียว
  • 56. นอกจากนี ้ยังพบวัฒนธรรมด้ านภาษา คือ ตัวอักษร โบราณของอินเดีย ซึงเป็ นอักษรดังเดิมที่ยงไม่มีนกวิชาการ ่ ้ ั ั อ่านออก อักษรโบราณนี ้ปรากฏในดวงตราต่างๆมากกว่า 1,200 ชิ ้นโดยในดวงตราจะมีภาพวัว ควาย เสือ จระเข้ และ ช้ างปรากฏอยูด้วย ่
  • 57. พวกอารยันใช้ ภาษาสันสกฤตซึงเป็ นภาษาที่ใช้ เขียนคัมภีร์ ่ ศาสนา เช่น คัมภีร์พระเวท เมื่อประมาณ 1,000 ปี มาแล้ ว วรรณกรรม ที่สําคัญ ได้ แก่ มหากาพย์มหาภารตยุทธ(มหาภารตะ) ซึงเป็ นเรื่ องการ ่ ์ สู้รบในหมูพวกอารยัน และมหากาพย์รามเกียรติ(รามายณะ) เป็ นเรื่ อง ่ การสู้รบระหว่างพวกดราวิเดียน กับพวกอารยัน
  • 59. ด้ านสถาปั ตยกรรม 1. ซากเมืองฮารับปาและโมเฮนโจดาโร ทําให้ เห็นว่ามีการวางผัง เมืองอย่างดี มีสาธารณูปโภคอํานวยความสะดวกหลายอย่าง เช่น ถนน บ่อนํ ้า ประปา ซึงเน้ นประโยชน์ใช้ สอยมากกว่าความสวยงาม ่ 2. ซากพระราชวังที่เมืองปาฏลีบตรและตักศิลา สถูปและเสาแปด ุ เหลี่ยม ที่สําคัญคือ สถูปเมืองสาญจี (สมัยราชวงศ์โมริ ยะ) 3. สุสานทัชมาฮาล สร้ างด้ วยหินอ่อน เป็ นการผสมระหว่างศิลปะ อินเดียและเปอร์ เชีย
  • 60. ด้ านประติมากรรม 1. พระพุทธรูปแบบคันธาระ 2. พระพุทธรูปแบบมถุรา 3. พระพุทธรูปแบบอมราวดี 4. ภาพสลักนูนที่มหาพลิปลม ได้ รับการยกย่องว่ามหัศจรรย์ ุ ั
  • 61. จิตรกรรม สมัยคุปตะ และหลังสมัยคุปตะ เป็ นสมัยที่รุ่งเรื องที่สดของอินเดีย ุ พบงานจิตรกรรมที่ผนังถํ ้าอชันตะ เป็ นภาพเขียนในพระพุทธศาสนา แสดงถึงชาดกต่างๆ ที่งดงามมาก ความสามารถในการวาดเส้ นและ การอาศัยเงามืดบริเวณขอบภาพ ทําให้ ภาพแลดูเคลื่อนไหว ให้ ความรู้สกสมจริง ึ
  • 62. นาฏศิลป ์ เกี่ยวกับการฟอนรํ า เป็ นส่วนหนึงของพิธีกรรมเพื่อบูชาเทพเจ้ า ้ ่ ตามคัมภีร์พระเวท สังคีตศิลป ์ สวดสรรเสริญเทพเจ้ าทังหลาย ถือเป็ นแบบแผนการร้ องที่ ้ เก่าแก่ที่สดใน สังคีตศิลปของอินเดีย แบ่งเป็ นดนตรี ศาสนา ุ ์ ดนตรี ในราชสํานักและดนตรี ท้องถิ่นเครื่ องดนตรี สําคัญ คือ วีณา หรื อพิณ ใช้ สําหรับดีด เวณุ หรื อขลุย และกลอง ่
  • 64. การขุดค้ นทางโบราณคดีทําให้ ทราบว่าอารยธรรมนี ้ สลายตัวเมื่อประมาณ 1500 ปี ก่อนคริ สตกาล(1500 B.C.) ซึงเป็ น ่ ช่วงเวลาเดียวกันกับที่ชนเผ่าอารยันเข้ ามามีบทบาทอยูในอนุทวีป ่ ในคัมภีร์ฤคเวทของอารยันได้ กล่าวถึงอินทร เทพเจ้ ารุ่นแรก ๆ ของ อารยันว่าเป็ นผู้ทําลายปอม (ปุรํทร) ในตอนแรกเข้ าใจกันว่าเรื่ องนี ้ ้ เป็ นนิยายของชาวอารยัน แต่จากการขุดค้ นพบเมืองโมเฮนโจ-ดา โร ทําให้ เชื่อได้ วาเป็ นเรื่ องจริ งเพราะหลักฐานโบราณวัตถุได้ ชี ้ชัด ่ ว่า เมืองนี ้ถูกทําลายโดยกลุมคนที่มีอาวุธที่มีประสิทธิภาพ ใช้ ม้า ่ ซึงในช่วงเวลา 1500 B.C. ก็คือ ชาวอารยันนันเอง ่ ่
  • 65. แม้ วาจะเป็ นที่ยอมรับกันโดยทัวไปว่าอารยันเป็ นเหตุสําคัญที่ ่ ่ ทําให้ อารยธรรมนี ้สลายตัวลงไปอย่างฉับพลัน แต่ในความเป็ นจริง แล้ วเชื่อว่าได้ ปรากฏร่องรอยของความเสื่อมในอารยธรรมนี ้มาก่อน แล้ ว สาเหตุของความเสื่อมนันก็อาจเนื่องมาจากจํานวนประชากรที่ ้ เพิ่มขึ ้น ทําให้ บ้านเมืองขาดความเป็ นระเบียบ การก่อสร้ างไม่มี ระเบียบเหมือนในยุคแรก ๆ มีการสร้ างลํ ้าไปในถนน ประเด็นนี ้สะท้ อน ให้ เห็นถึงอํานาจของผู้ปกครองที่ด้อยลงไปกว่าเดิมด้ วย นอกเหนือจากเหตุนี ้แล้ วเชื่อว่า ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ ้นบ่อย ๆ ในแถบลุมแม่นํ ้าสินธุคือ อุทกภัยเป็ นสาเหตุสําคัญที่ทําให้ เกิดปั ญหา ่ ต่าง ๆ ตามมา จนทําให้ เกิดความเสื่อมขึ ้น อย่างเช่น การขาดแคลน อาหาร โรคระบาด การไร้ ที่อยูอาศัย ่
  • 66. นอกจากนี ้ ลักษณะบางประการของอารยธรรมนี ้อาจจะมี ส่วนที่ทําให้ เกิดความเสื่อมในระยะยาว คือ ลักษณะอนุรักษ์ นิยม (Conservatism) จากความสัมพันธ์ที่อารยธรรมนี ้กับดินแดนแถบ ลุมแม่นํ ้าไทรกริส-ยูเฟรติส ซึงมีความรู้ความสามารถทางเทคนิค ่ ่ วิทยาที่เหนือกว่า เช่น การใช้ เหล็ก แต่ประชาชนในอารยธรรมนี ้ กลับมิได้ ใช้ ประโยชน์กบความสัมพันธ์นี ้ ดินแดนลุมแม่นํ ้าสินธุ ั ่ ยังคงใช้ ทองแดง ซึงเป็ นโลหะที่ออนเมื่อเทียบกับโลหะชนิดอื่น ๆ ที่ ่ ่ ประชาชนของกลุมอื่นใช้ กน ่ ั
  • 67. โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกอารยันที่ รู้จกใช้ เหล็ก จึงทําให้ มี ั อาวุธหรื อเครื่ องมือที่มีประสิทธิภาพดีกว่า ลักษณะอนุรักษ์ นิยม เช่นนี ้อาจนําไปสูความเสื่อมได้ ่ นอกจากนี ้จากการขุดค้ นยังพบว่าชาวอารยธรรมนี ้สร้ าง บ้ านเรื อนซ้ อนทับบนฐานเดิมขึ ้นต่อ ๆ กันไปถึง 9 ชัน ้ ปรากฏการณ์เช่นนี ้สะท้ อนให้ เห็นถึงความคิดที่ยดมันอยูกบสิงที่มี ึ ่ ่ ั ่ ที่เป็ นอยู่ อันอาจเป็ นสาเหตุหนึงของความเสื่อมในอารยธรรมนี ้ ่
  • 69. รายชื่อผู้จดทํา ั ศรัณย์รัตน์ ประวัติศิลป ม.6.7 เลขที่ 9 ์ อรกานต์ สินเสรี กล ม.6.7 เลขที่ 30 ุ