SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
งานวิจัย



          เรื่อง ความเครียดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 แต่ ละแผนการเรียน



                                               โดย

             1. นายจักรภัทร          ติรักษา          ชั้น ม.5/7       เลขที่ 2

             2. นางสาวสุ ดารัตน์     พันธ์ วงศ์       ชั้น ม.5/7       เลขที่ 18

             3. นางสาวมนัญชยา        บางวัน           ชั้น ม.5/7       เลขที่ 34.



                                         ครู ทปรึกษา
                                              ี่

                                   ครู ยงศักดิ์ กระจ่ างแจ้ ง
                                        ิ่



รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ ความรู้ (Resear & Knowledge Fromation)

             ตามหลักสู ตร โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standarad School)

                                    โรงเรียนพะเยาพิทยาคม

                      ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ปี การศึกษา 2555
ชื่องานวิจัย ความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 แต่ละแผนการเรี ยน

ผู้จัดทา           1. นายจักรภัทร          ติรักษา          ชั้น ม.5/7      เลขที่ 2

                   2. นางสาวสุ ดารัตน์     พันธ์วงศ์        ชั้น ม.5/7      เลขที่ 18

                   3. นางสาวมนัญชยา        บางวัน           ชั้น ม.5/7      เลขที่ 34.

โรงเรียน พะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา

ครู ทปรึกษา ครู ยงศักดิ์ กระจ่างแจ้ง
     ี่          ิ่

                                                 บทคัดย่อ

           งานวิจยเป็ นการวิจยเชิงพรรณนา เพอ่อศึกษาพฤติกรรมสุ ขภาพของนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 6 คออ
                 ั           ั
พฤติกรรมสุ ขภาพด้าน การพักผ่อนใว้เพียงพอ การออกกาลังกาย ด้านการจัดการความเครี ยด เปรี ยบเทียบ
พฤติกรรมสุ ขภาพนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ตามความแตกต่าง ดังนี้ ข้อมูลส่ วนบุคคลประกอบด้วย เพศ
อายุ สายการเรี ยน รายได้ของครอบครัว และเป้ าวมายของชีวต และเป้ าวมายในชีวิตของแต่ละคนนั้น ซึ่ งคน
                                                      ิ
มุ่งววังที่สูงมาก ซึ่ งสุ่ มตัวอย่าง จากนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 จานวน 30 คน และมีแบบวลายขั้นตอน
(Multiple Random Sampling) เครอ่ องมออที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสัมภาษณ์ขอมูลส่ วน
                                                                                    ้
บุคคล แบบสัมภาษณ์สาเวตุของความเครี ยด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะว์ขอมูลคออ ร้อยละ (%) วิเคราะว์
                                                                ้
ผลการวิจยพบว่ามีความเครี ยดในการกลัวสอบไม่ติด 43.3 % เครี ยดในการเรี ยนต่อ 40 % เรี ยนวนัก 30%
        ั
การเงิน 3.3% คิดมาก 3.3% ไม่แน่ใจ 3.3% กลัวผิดววังในสิ่ งที่ววัง 3.3%

           ดังนั้นข้อมูลเวล่านี้จึงมีประโยชน์ต่อครู ผสอนวรอ อคนในครอบครัวเพอ่อจะได้ช่วย ผ่อนคลาย
                                                     ู้
                                              ั
ความเครี ยดและใว้คาปรึ กษาในเรอ่ องต่าง ๆ ใว้กบนักเรี ยนใว้ไม่มีความเครี ยดจนมากเกินไป จนทาใว้ไม่ดี
ต่อสุ ขภาพ
บทที่ 1

                                                    บทนา

ทีมาและความสาคัญของปัญหา
  ่

        ความเครี ยดเป็ นภาวะที่เกิดขึ้นเนอ่ องจาก ร่ างกายถูกสิ่ งกระตุนที่ทาใว้ตอ่นเต้นและวิตกกังวลส่ งผลทา
                                                                       ้
ใว้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางร่ างกายและวรอ อทาใว้เกิดอาการปกติทางร่ างกายนั้นวากความเครี ยดนั้นมีมาก
        ่ ั                                ั
และคงอยูกบตัวยาวนาน สภาพเช่นนี้เกิดขึ้นได้กบเด็กทัวไป ในสภาพความเป็ นจริ งเด็กที่มีความเครี ยดต้อง
                                                  ่
เผชิญกับความเครี ยดและปั ญวาสุ ขภาพจิต โดยเฉพาะการจัดการศึกษาของประเทศไทยที่พบในระบบ
โรงเรี ยน คออ ระบบแพ้คดออก ต้องแย่งแข่งขันชิงดีชิงเด่นเพอ่อเอาชนะซึ่ งกันและกันตลอดเวลา
                      ั

        ในสภาพปัจจุบนการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมออง การศึกษา และ
                    ั
                                                                       ่
วัฒนธรรมในสังคมไทย ค่านิ ยมและความเชอ่อ มีผลการกระทบต่อสภาพความเป็ นอยูและวิถีการดาเนินชีวิต
ของประชาชน และมีผลกระทบต่อสภาพจิตใจของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ด้วย เพราะสิ่ งที่เว็นได้
ชัดเจนในสังคม ก็คออ มีการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นและต่อสู ้ดิ้นรนเพอ่อตัวเอง สิ่ งเวล่านี้ก่อใว้เกิดความเครี ยด ความ
กดดันทางด้านจิตใจ และก่อความคิดต่าง ๆ ว่าจะต้องศึกษาต่อที่ไวน จึงจะมีที่ทางานที่ดีและมันคง ดังนั้น
                                                                                       ่
ปั ญวาความเครี ยดเป็ นปั ญวาทางสุ ขภาพที่รุนแรงและมีความสาคัญอย่างยิง
                                                                    ่

วัตถุประสงค์ ของการวิจัย

        1. เพอ่อศึกษาความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม

        2. เพอ่อศึกษาความแตกต่างของปั จจัยส่ วนบุคคลที่มีผลต่อความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา
             ปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา

        3. เพอ่อศึกษาสาเวตุของความเครี ยดและการปรับตัวต่อความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
             6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา

สมมุติฐานของงานวิจัย

        นักเรี ยนมีปัจจัยส่ วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ ระดับชั้นปี ที่ศึกษา คณะ ระดับเกรดเฉลี่ย ภูมิลาเนาเดิม
การทางานพร้อมกับการเรี ยน มีระดับความเครี ยดแตกต่างกัน
ขอบเขตของโครงงาน

        1. นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 จานวน 30 คน ชาย 4 คน วญิง 26 คน

        2. ตั้งแต่วนที่
                   ั                  2555 ถึงวันที่            2555

นิยามศัพท์เฉพาะ

        ความเครี ยด วมายถึงเป็ นระบบเตออนภัยของร่ างกาย ใว้เตรี ยมพร้อมที่กระทาสิ่ งใดสิ่ งวนึ่ง การมี
ความเครี ยดน้อยเกินไปและมากเกินไปไม่เป็ นผลดีต่อสุ ขภาพ ส่ วนใวญ่เข้าใจว่าความเครี ยดเป็ นสิ่ งไม่ดี มัน
ก่อใว้เกิดอาการปวดศีรษะ ปวดกล้ามเน้อ วัวใจเต้นเร็ ว แน่นท้อง มออเท้าเย็น แต่ความเครี ยดก็มีส่วนดี
บทที่ 2

                                  แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                                 ่



การวิจยนี้ ผูวิจยได้รวบรวมแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง สรุ ปเป็ น 4 วัวข้อได้ ดังนี้
      ั ้ ั

แนวคิดเกียวกับความเครียดและความเครียดในการทางาน
         ่

1. ความวมายของความเครี ยด

2. องค์ประกอบของความเครี ยด

3. ประเภทของความเครี ยด

4. ปั จจัยที่มีผลต่อความเครี ยด



แนวคิดเกียวกับความเครียดและความเครียดในการทางาน
         ่

ความหมายของความเครียด

         ความเครี ยดเป็ นการแสดงออกของร่ างกายที่มีต่อสิ่ งแวดล้อมที่มากระทบทาใว้คนเรา

เกิดการเรี ยนรู ้ที่จะตอบสนองต่อสิ่ งต่าง ๆ เวล่านั้น ความเครี ยดมีท้ งคุณประโยชน์และโทษต่อการ
                                                                      ั

ปฏิบติงาน สุ ขภาพร่ างกาย และจิตใจของเราในการดารงชี วตในแต่ละวัน ได้มีผใว้ความวมายของ
    ั                                                ิ                 ู้

ความเครี ยดไว้ต่าง ๆ ดังนี้

         ความเครี ยด (stress) ตามความวมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525

                           ่                         ่ ั
วมายถึง อาการที่สมองไม่ได้ผอนคลาย เพราะคร่ าเคร่ งอยูกบงานจนเกินไป และมีรากศัพท์มากจาก

ภาษาละตินว่า “stringere” ซึ่ งแปลว่า ความขมึงเกลียว (Webster, 1968, p. 1861) ได้มีผใว้ความวมาย
                                                                                   ู้

ของความเครี ยดวลายลักษณะ ซึ่งสามารถจาแนกความเครี ยดที่อาจทาได้อย่างวนึ่งจาก 3 แบบ
ต่อไปนี้ แนวนิยามสิ่ งเร้า แนวนิยามการตอบสนอง และแนวนิยามแบบปฏิสัมพันธ์

         1. แนวนิยามสิ่ งเร้า เป็ นปั จจัยภายนอก วรอ อเป็ นสิ่ งเร้าที่กระต่อบุคคล ความเครี ยดในลักษณะนี้

เป็ นความกดดัน แรงบีบ วรอ อสิ่ งเร้าที่กดดันบุคคลแตกต่างไปจากปกติวรอ อต่างจากสภาพที่ควรจะ

เป็ น เมอ่อถูกแรงดันมากเกินไปจะเกิดผลเสี ยต่อสุ ขภาพมีผใว้ความวมายความเครี ยดในแนวนิยม
                                                       ู้

สิ่ งเร้าวลายท่าน ดังนี้

         แคมพ์เบลล์ (Campbell, 1981, p. 602) ได้ความวมายว่า ความเครี ยดเป็ นสิ่ งใด ๆ ก็ตามซึ่ ง

รบกวนต่อการทาวน้าที่ของสิ่ งมีชีวต และผลกระทบจะชัดเจนขึ้นเมอ่อมีตวกระตุนความเครี ยดต่อ
                                 ิ                               ั     ้

บุคคลซึ่ งจะมีปฏิกิริยาตอบโต้ทางจิตใจ โดยอาจเกิดความรู ้สึกกดดันขึ้นในทันทีทนใดขณะประสบ
                                                                            ั

กับภาวะความขัดแย้งทางความคิดและพฤติกรรม

         ร๊ อบบินส์ (Robbins, 2001, p. 63) ได้ใว้ความวมายของความเครี ยดว่า วมายถึง ผลของ

ความกดดันที่เกิดขึ้นเมอ่อบุคคลไม่สามารถทาตามความต้องการของตนเองได้ การที่บุคคลต้องเผชิ ญ

กับการสู ญเสี ยสิ่ งที่ปรารถนา บุคคลสู ญเสี ยโอกาสในการกระทาบางสิ่ งบางอย่าง และบุคคลคิดว่า

สิ่ งที่สูญเสี ยวรอ อความปรารถนานั้นคออสิ่ งที่มีความสาคัญต่อตนเอง

         สุ วนีย ์ เกี่ยวกิ่งแก้ว (2527, วน้า 2) กล่าววาความเครี ยดคออความปั่ นป่ วนวรอ อไม่สมดุลและ

มีปัจจัยวรอ อสิ่ งกระตุนที่มีผลคุกคามต่อสวัสดิภาพร่ างกายและจิตใจ
                       ้

         สุ ปราณี ผลชีวน (2530, วน้า 1) กล่าวว่าความเครี ยดวมายถึง ความกดดันที่บุคคลได้รับ
                       ิ

ซึ่ งบางครั้งบุคคลนั้นเข้าใจเองว่ามากเกินไปวรอ อสุ ดที่จะทนได้ ทั้งยังวมายถึง การเปลี่ยนแปลงทาง

ร่ างกายและจิตใจที่ตอบสนองความกดดันเวล่านั้นด้วย

         กรมสุ ขภาพจิต (2541, วน้า 9) กล่าวว่าความเครี ยดนั้นเป็ นภาวะของอารมณ์วรอ อความรู ้สึก

ที่เกิดขึ้นเมอ่อเผชิ ญกับปั ญวาต่าง ๆ ที่ทาใว้รู้สึกไม่สบายใจคับข้องใจ วรอ อถูกบีบคั้น กดดันจน ทาใว้
เกิดความรู ้สึกทุกข์ใจ สับสน โกรธ วรอ อเสี ยใจ

                     ้ิั         ่
จากความวมายดังกล่าวผูวจยสรุ ปได้วา ความเครี ยดเป็ นสิ่ งกระตุนจากภายนอกที่ทาใว้
                                                             ้

บุคคลเกิดความปั่ นป่ วน และบุคคลนั้นต้องเกิดการเรี ยนรู ้จะบรรเทาความรู ้สึกนั้นลงได้

        2. แนวนิยามการตอบสนอง เป็ นปฏิกิริยาวรอ อการตอบสนองของคนที่มีต่อความกดดัน

ของสิ่ งแวดล้อม ความเครี ยดเป็ นการตอบสนองทั้งทางร่ างกายและจิตใจที่บุคคลกาวนดขึ้นตามตัว

ก่อความเครี ยด (stressor) โดยสิ่ งที่ทาใว้เกิดความเครี ยดนั้น จึงเว็นได้วา ตามทัศนะนี้จะมุ่งเน้นที่
                                                                         ่

ปฏิกิริยาของคนที่มีต่อความกดดันของสิ่ งแวดล้อม มีผใว้ความวมายความเครี ยดในแนวนิยมสิ่ งเร้า
                                                  ู้

วลายท่าน ดังนี้

        แสงระวี ชูพาณิ ชกุล (2542, วน้า 13) กล่าวว่า ความเครี ยด วมายถึง ภาวะกดดันที่มีต่อ

ร่ างกายแสดงออกไป เมอ่อมีบุคคล เวตุการณ์ วรอ อสิ่ งวนึ่งสิ่ งใดมากระทบร่ างกายและจิตใจของ

บุคคล ทาใว้บุคคลนั้นต้องเผชิญกับปั ญวาและความกดดัน ต้องวาคาตอบใว้ตนเองว่าจะสู ้ต่อไปจะ

วิงวนีออกมา วรอ อจะอดทนนิ่งเฉย
  ่

        ชูทิตย์ ปานปรี ชา (2534, วน้า 482) กล่าวว่า ความเครี ยดวมายถึง ภาวะจิตใจที่กาลังเผชิญ

                 ่
ปั ญวาต่าง ๆ ไม่วาจะเป็ นปั ญวาในตัวคน วรอ อนอกตัวคน เป็ นปั ญวาที่เกิดขึ้นจริ งวรอ อคาดว่าจะ

เกิดขึ้น เป็ นปั ญวามาจากความผิดปกติทางจิตใจ อันเป็ นปฏิกิริยาทางจิตใจที่ตอบสนองต่อสิ่ งเร้าวรอ อ

สิ่ งที่มากระตุน ซึ่ งเป็ นปั ญวาที่กาลังเผชิญกับสิ่ งเร้า ความรู ้สึกดังกล่าวนี้ทาใว้เกิดความแปรปรวน
               ้

ทางกายและจิตใจ

        กีร์ดาโน และคณะ (Girdano et al., 1993 อ้างถึงใน ธนินทร์ กล่อมฤกษ์, 2544, วน้า 26)

กล่าวว่า ความเครี ยด คออ ปฏิกิริยาของร่ างกาย วรอ อสิ่ งที่มากระตุนทั้งร่ างกายและจิตใจ ซึ่ งสามารถทา
                                                                  ้

ใว้ระบบของร่ างกายเกิดความเมอ่อยล้าจนถึงทาวน้าที่ผิดปกติ และเกิดโรคได้ในที่สุด
มิลส์ (Mills, 1982, p. 82) กล่าวว่า ความเครี ยดเป็ นปฏิกิริยาต่อสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายใน

บุคคลเกิดขึ้นเมอ่อบุคคลเป็ นว่ วงวรอ อวิตกกังวล เศร้าโศก ละอาย วรอ อโกรธ โดยอาจจะมีสาเวตุจาก

ตัวเอง ผูออ่น วรอ อสิ่ งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลนั้น โดยที่องค์ประกอบของความเครี ยดจะต้อง
         ้

ประกอบด้วยสิ่ งต่อไปนี้ คออ เวตุการณ์ภายนอก ความต้องการของบุคคลและปฏิกิริยาภายในบุคคล

ต่อสิ่ งกระตุน
             ้

        จากความวมายดังกล่าวผูวจยสรุ ปได้วา ความเครี ยดเป็ นปฏิกิริยาจากภายในของบุคคลที่มี
                             ้ิั         ่

ต่อสิ่ งที่มากระทบและทาใว้เกิดความเปลี่ยนของสภาพร่ างกายและจิตใจ

        3. แนวนิยามแบบปฏิสัมพันธ์ ความเครี ยดเป็ นผลที่เกิดจากความไม่สมดุลระวว่างความ

ต้องการภายนอกและความต้องการภายใน ซึ่ งเป็ นแรงกดดันกับการเรี ยนรู ้ความสามารถของตนที่จะ

บรรลุความต้องการนั้น ๆ ตามแนวนิยามนี้ ความเครี ยดจึงเป็ นผลที่เกิดตามมา จากการเกิด

ปฏิสัมพันธ์ระวว่างสิ่ งที่เร้าจากสิ่ งแวดล้อม การตอบสนองของบุคคลทางร่ างกายและจิตใจ

        คูเปอร์ และมาร์แชล (Cooper & Marshall, 1976, pp. 11-28) กล่าวว่า ความเครี ยด วมายถึง

เป็ นปฏิกิริยาระวว่างบุคคลกับสิ่ งแวดล้อมที่ทาใว้เกิดความเครี ยดในงาน บุคคลอาจเกิดความเครี ยด

เมอ่อสิ่ งแวดล้อมต้องการเกินกว่าความสามารถของบุคคลที่อยู่ วรอ อในกรณี ที่บุคคลไม่มีความสามารถ

ในการตอบสนองความต้องการงาน (สภาพแวดล้อมได้) วรอ อในอีกแง่วนึ่ง บุคคลอาจเกิดความเครี ยด

เมอ่อพบกับสภาพแวดล้อมที่เป็ นไปในทางลบ วรอ อในกรณี ที่งาน (สภาพแวดล้อม) เวล่านั้นไม่

สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคลได้

        ไพรัช พงษ์เจริ ญ (2537) กล่าวว่า ความเครี ยด วมายถึง ปฏิกิริยาโต้ตอบของจิตใจและ

                                       ่
ร่ างกายต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ทั้งสภาพแวดล้อมใกล้ตวและสภาพแวดล้อม
                                                                    ั

ที่ไกลตัวออกไป สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงเวล่านี้ เองที่มีผลกระทบต่อความรู ้สึกที่เปลี่ยนแปลง
ไปนี้เป็ นเรอ่ องที่แต่ละบุคคลจะสามารถกระทาได้มากน้อยแตกต่างกัน

        วัชรัตน์ วลีมรัตน์ (2527, วน้า 41) กล่าวว่า ความเครี ยด วมายถึง ปฏิกิริยาอย่างไม่เฉพาะเจาะจง

ต่อสิ่ งกดดันใด ๆ ก็ตาม สิ่ งที่ทาใว้เกิดปฏิกิริยาอาจจะเป็ นสิ่ งที่มีลกษณะทางกายภาพ คออ อุณวภูมิ
                                                                       ั

ร้อนจัด วนาวจัด สารพิษ นอกจากนี้ ความไม่สมบูรณ์ในสังคมทั้งในวน่วยงาน ครอบครัววรอ อ

ในสังคมใวญ่ สามารถก่อใว้เกิดผลในเชิงกระตุนใว้เกิดความเครี ยดได้
                                         ้

                                 ่
จากความวมายดังกล่าวผูวจยสรุ ปได้วา ความเครี ยดในแนวนิยามปฏิสัมพันธ์ วมายถึง
                     ้ิั

เป็ นปฏิกิริยาโต้ตอบระวว่างจิตใจและร่ างกายเมอ่อร่ างกายได้รับการกระทบกระเทออนสภาพแวดล้อม

องค์ ประกอบของความเครียด

        อัญชนา เวสารัชช์ (2527, วน้า 36-37) ได้กล่าวถึงสาเวตุใวญ่ ๆ ที่ทาใว้คนเราเครี ยดนั้น

เกิดจากองค์ประกอบ 5 ประการ คออ

        1. สภาพแวดล้อม ทั้งด้านกายภาพและจิตใจ ได้แก่ สิ่ งแวดล้อมที่เป็ นวัตถุบรรยากาศต่าง ๆ

ที่ลอมรอบตัวบุคคลนั้นอยู่ เช่น อากาศที่วนาวจัด เสี ยงดัง-ค่อย แสงจ้า วรอ อ มอด สารพิษต่าง ๆ
    ้

ในอากาศ

        2. องค์ประกอบทางด้านจิตใจ ความวนักแน่น รวมถึงการเก็บอารมณ์ ความรู ้สึกต่าง ๆ ไว้

และอาการของโรคจิต โรคประสาทต่าง ๆ

        3. งาน งานที่ทาใว้เราเครี ยดได้แก่ งานวนัก งานมาก งานเสี่ ยง งานจาเจซ้ าซาก น่าเบอ่อ

งานที่ตองใช้สติปัญญาและกาลังสมองมาก
       ้

        4. แรงกดดันทางสังคม เช่น วนี้สิน ค่านิยม ศีลธรรม ประเพณี เพอ่อน สถานะทางสังคม

ตาแวน่งวน้าที่การงาน
่
         5. สัมพันธภาพและพฤติกรรมลักษณะสัมพันธภาพที่มีตอบุคคลออ่นและพฤติกรรม การ

แสดงออกมีผลต่อคนเราจนทาใว้เครี ยดได้

ประเภทของความเครียด

         มิลเลอร์ และเคียเม่ (Miller & Keame, 1972 อ้างถึงใน รัชดา เอี่ยมยิงพาณิ ช, 2532, วน้า 19)
                                                                           ่

ได้แบ่งความเครี ยดออกเป็ น 2 ชนิด คออ ความเครี ยดทางร่ างกายและความเครี ยดทางจิตใจ

         1. ความเครี ยดทางร่ างกาย (physical stress) แบ่งเป็ น 2 ประเภท ตามปฏิกิริยาตอบสนอง

คออ

         1.1 ความเครี ยดชนิดเฉียบพลัน (emergency stress) เป็ นความเครี ยดเกิดขึ้นทันทีทนใด
                                                                                       ั

ที่ได้รับสิ่ งที่คุกคามชีวตที่เกิดขึ้นทันทีทนใด เช่น การได้รับบาดเจ็บ การเกิดอุบติเวตุ วรอ อการตกอยู่
                          ิ                 ั                                   ั

ในสภาพการกระทาน่ากลัว

         1.2 ความเครี ยดชนิดต่อเนอ่องกัน (continuing stress) เป็ นสิ่ งคุกคามชีวตที่เกิดขึ้น
                                                                                ิ

ต่อเนอ่อง เช่น การเปลี่ยนแปลงของร่ างกายในวัยต่าง ๆ วรอ อการเปลี่ยนแปลงของร่ างกายในบาง

โอกาส เช่น การเจ็บป่ วยเรอ้ อรัง การตั้งครรภ์ เป็ นต้น

         2. ความเครี ยดทางด้านจิตใจ (psychological stress) เป็ นการตอบสนองของร่ างกายอย่าง

เฉี ยบพลัน เมอ่อคิดว่าจะมีอนตรายเกิดขึ้น ทาใว้เกิดความเครี ยดของกล้ามเนอ้อ วัวใจเต้นแรงและเร็ ว
                           ั

ระดับความเครี ยด

ระดับความเครี ยดสามารถวัดได้จากพฤติกรรมที่เป็ นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่ งวรอ อ

เวตุการณ์ต่าง ๆ ที่มากระทบต่อบุคคล นั้นได้มีการแสดงออกมาวลากวลายรู ปแบบมีต้ งแต่ระดับที่
                                                                            ั

สามารถควบคุมตนเองได้ และจนถึงระดับที่ควบคุมตนเองไม่ได้ ได้มีผแบ่งระดับความเครี ยด
                                                             ู้

ออกเป็ นระดับต่าง ๆ ดังนี้
่ ั
        สุ จริ ต สุ วรรณชีพ (2531, วน้า 97) กล่าวว่าผลของความเครี ยดมีวลายด้านขึ้นอยูกบระดับ

ของความเครี ยดที่เกิดขึ้น กล่าวคออ

        1. ความเครี ยดในระดับต่า จะเพิ่มความสามารถในการทางานได้สูงยิงขึ้น และสร้าง
                                                                    ่

ความสุ ขใจใว้แก่มนุษย์

        2. ความเครี ยดในระดับปานกลาง อาจจะมีผลกระทบกระเทออนต่อพฤติกรรม และอาจ

นาไปสู่ การกระทาในลักษณะที่ซ้ า ๆ บ่อย ๆ ได้แก่ กินมากกว่าปกติ นอนไม่วลับ การติดเวล้าติดยา

        3. ความเครี ยดในระดับรุ นแรง อาจทาใว้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าวรุ นแรงถึงบ้าดีเดออดวรอ อ

ซึ มเศร้า วรอ อถึงกับวิตกจริ ต ไม่รับความเป็ นจริ ง ไม่สามารถควบคุมตนเองได้

        4. ความเครี ยดในระยะยาว อาจทาใว้เกิดโรคทางกายได้วลายโรค และโรคออ่น ๆ

ได้มากมาย รวมทั้งแก่เร็ วและอายุส้ ันด้วย

        ชูทิตย์ ปานปรี ชา (2534) ได้แบ่งระดับของความเครี ยดเป็ น 3 ประการ คออ

ระดับแรก เป็ นภาวะที่จิตใจมีความเครี ยดอยูเ่ ล็กน้อย ยังถออเป็ นภาวะปกติของทุกคน

                                       ั
ขณะเผชิญปั ญวาต่าง ๆ วรอ อกาลังต่อสู ้กบความรู ้สึกที่ไม่ดีของตนเอง

ระดับสอง เป็ นภาวะของจิตใจมีความเครี ยดอยูปานกลางเป็ นระยะที่ร่างกาย และจิตใจ
                                          ่

        ั
ต่อสู ้กบความเครี ยดที่แสดงออกใว้เว็น โดยมีการเปลี่ยนแปลงทางสรี ระทางร่ างกาย ความคิดอารมณ์

พฤติกรรมและการดาเนินชีวต
                       ิ

        ระดับสาม เป็ นภาวะของจิตใจที่มีความเครี ยดรุ นแรงวรอ อความเครี ยดมากกว่าร่ างกายและ

จิตใจพ่ายแพ้ต่อความเครี ยด มีการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย และจิตใจใว้เว็นได้ชด มีพยาธิ สภาพ
                                                                          ั

วรอ อป่ วยเป็ นโรค ทาใว้เกิดการดาเนินชีวิตเสี ยไป การตัดสิ นใจผิดพลาดระดับความเครี ยดที่แตกต่างกันย่อม
ส่ งผลกระทบต่อร่ างกาย และจิตใจที่แตกต่างกันไปด้วย กล่าวคออ
1. ถ้าเป็ นความเครี ยดในระดับต่าจะเป็ นตัวผลัดดันใว้คนทางานได้มากขึ้น ไม่เกียจคร้าน

นิ่งดูดาย

            2. ถ้าเป็ นความเครี ยดในระดับปานกลาง อาจมีผลกระทบต่อการทางานเช่น กินมากกว่า

ปกติ นอนไม่วลับ ติดเวล้าติดยา เป็ นต้น

            3. ถ้าเป็ นความเครี ยดระดับรุ นแรง อาจทาใว้เกิดการกระทาก้าวร้าวถึงบ้าดีเดออดวรอ อ

ซึ มเศร้าถึงกับวิกลจริ ตไม่สามารถควบคุมตนเองได้

            เฟรน และวาริ กา (Frain & Valiga, 1979 อ้างถึงใน ธนินทร์ กล่อมฤกษ์, 2544, วน้า 34-

35) ได้แบ่งความเครี ยดออกเป็ น 4 ระดับ

            ระดับ 1 ความเครี ยดที่เกิดขึ้นตามปกติในชีวตประจาวัน (day to day stress) ความเครี ยด
                                                      ิ

ในระดับนี้ทาใว้คนปรับตัวโดยอัตโนมัติ และใช้พลังงานในการปรับตัวน้อยที่สุด เช่น การมีชีวต
                                                                                      ิ

แบบเร่ งรัด การเดินทางในสภาพการจราจรติดขัด การปรับตัวกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป

ความเครี ยดในระดับนี้มีนอยมากและวมดไปในระยะเวลาอันสั้น ไม่คุกคามการดาเนินชีวต
                        ้                                                   ิ

            ระดับ 2 ความเครี ยดระดับต่า (mild stress) เป็ นความเครี ยดที่เกิดขึ้นในชี วตประจาวัน
                                                                                       ิ

เนอ่องจากมีสิ่งคุกคาม เช่น การสัมภาษณ์เพอ่อเข้าทางานวรอ อพบเวตุการณ์ที่สาคัญในสังคมความเครี ยด

ระดับต่านี้ทาใว้บุคคลตอ่นตัว และร่ างกายจะเกิดปฏิกิริยาต่อต้านขึ้น ความเครี ยดในระดับนี้มีนอย และ
                                                                                           ้

สิ้ นสุ ดลงในระยะเวลาเพียงวินาที วรอ อชัวโมงเท่านั้น
                                        ่

            ระดับ 3 ความเครี ยดระดับปานกลาง (moderate stress) ความเครี ยดระดับนี้แรงกว่าระดับ 1

และระดับ 2 อาจปรากฏเป็ นเวลานาน และไม่สามารถปรับตัวได้ในเวลาอันรวดเร็ ว เช่น ความเครี ยด

ที่เกิดขึ้นจากการเข้าทางานใวม่ การทางานวนัก การเจ็บป่ วยที่รุนแรง สภาวะนี้ทาใว้บุคคลรู ้สึก

                   ่
คุกคาม เนอ่องจากอยูระวว่าง ความสาเร็ จกับความล้มเวลวบุคคลจะไม่สามารถควบคุมสถานการณ์
ต่าง ๆ ได้ และมีการแสดงออกทางอารมณ์เพอ่อลดความเครี ยด ความเครี ยดระดับนี้ จะเกิดเป็ นชัวโมง
                                                                                       ่

วลายชัวโมง วรอ ออาจจะเป็ นวัน
      ่

         ระดับ 4 ความเครี ยดระดับสู ง (severe stress) เกิดจากสถานการณ์คุกคามยังคงดาเนิ นอยู่

อย่างต่อเนอ่ อง จนทาใว้บุคคลเกิดความเครี ยดสู งขึ้น ความเครี ยดระดับนี้ทาใว้บุคคลประสบความ

ล้มเวลวในการปรับตัว เช่น ขาดสมาธิ ในการทางาน ไม่สนใจครอบครัว เกิดการขาดงาน ความเครี ยด

ในระดับนี้จะเกิดขึ้นเป็ นสัปดาว์ เดออน วรอ อ เป็ นปี

ปัจจัยทีมีผลต่ อความเครียด
        ่

         สสิ ธร เทพตระการพร (2542, วน้า 604-605) ปั จจัยสิ่ งแวดล้อมในการทางานที่มีผลต่อ

ความเครี ยดดังนี้คออ

         1. การควบคุมงาน (job control) เป็ นการมีส่วนร่ วมของคนงานในอันที่จะกาวนดงาน

ประจา (routine) รวมไปถึงการมีโอกาสได้ควบคุมดูแลกระบวนการผลิตด้วย

         2. การสนับสนุนจากสังคม (social support) วมายถึงการได้รับความช่วยเวลออวรอ อการ

ส่ งเสริ มจากผูควบคุมงานวรอ อวัววน้างาน และผูร่วมงาน
               ้                             ้

         3. ความไม่พอใจในงานที่ทา (job distress of dis-satisfaction) มีความสัมพันธ์โดยตรงกับ

                                                       ่ ้
เนอ้องานและปริ มาณงาน รวมไปถึงความก้าววน้าในงานที่ทาอยูดวย

         4. ความต้องการของงานและผลงาน (task and performance demands) ถูกกาวนดโดย

ปริ มาณงาน รวมถึงความต้องการความตั้งใจในการทางานด้วย วันกาวนดส่ งงาน (deadline)

         5. ความมันคงในวน้าที่การงาน (job security) ความกลัวการว่างงานวรอ อการตกงาน
                  ่

         6. ความรับผิดชอบ (responsibility) งานที่ตองการความรับผิดชอบสู งมีความสัมพันธ์
                                                  ้

โดยตรงกับการเพิ่มขึ้นของโรคแผลในกระเพาะอาวารและความดันโลวิ ตสู ง
7. ปั ญวาสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ (physical environmental problems) รวมถึงปัญวาเสี ยง

ดัง แสงสว่างไม่เวมาะสม สภาพอากาศในตัวอาคารและสานักงานที่เล็กและปิ ดทึบ

        8. ความซับซ้อนของงาน (complexity) กาวนดโดยจานวนความต้องการของงานที่

แตกต่างกันในงานนั้น งานซ้ าซากและงานที่ทาอย่างเดียวเวมออน ๆ กันตลอดเวลา (repetitive and

monotonous work)

สาเหตุความเครียด

        ความเครี ยดเป็ นบ่อเกิดพฤติกรรมทั้งทางบวกและทางลบ โดยในทางบวกสามารถเป็ นแรง

เสริ มศักยภาพของคนเราใว้เพิมขึ้น แต่ถาเกิดในทางลบก็จะเป็ นการบันทอนจิตใจใว้เสอ่ อมโทรมลง
                           ่         ้                         ่

                                 ่ ั
ทั้งนี้การเกิดความเครี ยด ขึ้นอยูกบแวล่งที่เป็ นสาเวตุของความเครี ยดนั้น ๆ ได้มีนกวิชาวลายท่าน
                                                                                 ั

ได้ศึกษาถึงสาเวตุของความเครี ยด และความเครี ยดในการทางาน ดังนี้

        จงรักษ์ ศุภกิจเจริ ญ (2527) จาแนกสาเวตุของความเครี ยดได้ 2 ลักษณะ คออ

        1. สาเวตุของความเครี ยดที่มีสาเวตุเฉพาะ (specific stress agent) อาจเกิดจากจุลินทรี ย ์

เช่น เชอ้ อโรค ทางเคมี ฟิ สิ กส์ และสาเวตุจากการขาดปั จจัยต่าง ๆ เช่น การขาดอากาศ ขาดน้ า

ขาดออกซิเจน และการเสี ยสมดุล

        2. สาเวตุของความเครี ยดที่ไม่เฉพาะเจาะจง (nonspecific stress agent) ได้แก่มูลเวตุที่

เกี่ยวจิตใจ เช่น เกิดความกลัว ความวิตกกังวล การไม่ประสบความสาเร็ จของมนุษย์สัมพันธ์วรอ อ

การทางานเกิดความคับข้องใจ

        ชูทิตย์ ปานปรี ชา (2519, วน้า 486-488) ได้แบ่งสาเวตุของการก่อใว้เกิดความเครี ยดคออ

        1. สาเวตุภายใน วมายถึง ความเครี ยดที่เกิดจากสาเวตุวรอ อปั จจัยต่าง ๆ ที่มาจากตัวคน

แยกได้ 2 ชนิด คออ
1.1 สาเวตุทางกาย เป็ นภาวะบางอย่างของร่ างกายที่ทาใว้เกิดความเครี ยดร่ างกายและ

จิตใจเป็ นสิ่ งที่แยกกันไม่ได้ เมอ่อร่ างกายเครี ยดก็จะทาใว้จิตใจเครี ยดด้วย เช่น ความเวนอ่อยล้าทาง

ร่ างกาย ซึ่ งสภาพร่ างกายที่ไม่สมบูรณ์แข็งแรง วรอ อผ่านการทางานวนักและนานร่ างกายได้รับการ

พักผ่อนไม่เพียงพอ รับประทานอาวารไม่เพียงพอ ไม่ถูกสุ ขลักษณะ ความเจ็บป่ วยทางร่ างกาย ภาวะ

ติดสุ รา ยาเสพติดไปกดประสาทเป็ นผลใว้ร่างกายอ่อนเพลีย

         1.2 สภาพจิตใจ คออ สภาพจิตใจที่ก่อใว้เกิดความเครี ยดได้ คออ

         1.2.1 อารมณ์ไม่ดีทุกชนิด ได้แก่ ความกลัว ความโกธร ความวิตกกังวล ความเศร้า

ทุกข์ใจ ความรู ้สึกสิ้ นววัง

         1.2.2 ความรู ้สึกบางอย่าง ได้แก่ ความรู ้สึกสู ญเสี ยเชอ่อเสี ยงเกียรติยศ ความ

ภาคภูมิใจ ความรู ้สึกว่าตัวเองกระทาผิดกลัวว่าผูออ่นจะรู ้
                                               ้

         1.2.3 ความคับข้องใจ เกิดขึ้นเมอ่อความต้องการถูกขัดขวาง ความรู ้สึกไม่พอใจ

วิตกกังวล เวมออนถูกบีบคั้น

         1.2.4 บุคลิกภาพ ได้แก่ เป็ นคนจริ งจังกับชีวต ใจร้อน รุ นแรง ก้าวร้าว ควบคุม
                                                     ิ

อารมณ์ไม่อยู่ เป็ นคนต้องพึ่งพาคนออ่น

         2. สาเวตุภายนอก วมายถึง ปั จจัยต่าง ๆ นอกตัวคนที่เป็ นสาเวตุทาใว้เกิดความเครี ยด

ได้แก่

         2.1 การสู ญเสี ยสิ่ งที่รัก ได้แก่ คนรัก เช่น พ่อแม่ ลูก คู่รัก การสู ญเสี ยของรัก ทรัพย์สิน

วน้าที่การงาน

         2.2 การเปลี่ยนแปลงในชีวตโดยระยะวัวเลี้ยววัวต่อของชี วต จะมีจิตใจแปรปรวน
                                ิ                             ิ

(psychological imbalance) เช่น การเข้าโรงเรี ยนครั้งแรก การแต่งงาน วัยวมดประจาเดออน
การเกษียณอายุ วรอ อการเปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างกะทันวันโดยมิได้คาดวรอ อ

เตรี ยมการไว้ก่อน

                                 ่
        2.3 ภัยอันตรายต่าง ๆ ไม่วาจะเป็ นภัยที่มนุษย์สร้างขึ้น วรอ อภัยจากธรรมชาติ

        2.4 ทางานชนิดที่ทาใว้เกิดความเครี ยด เช่น งานที่ตองรับผิดชอบมาก ทางานวลาย
                                                         ้

วน้าที่ วลายแว่ง วรอ องานไม่พึงพอใจ งานที่ไม่มนคงแน่นอน ขาดความก้าววน้า มองไม่เว็น
                                              ่ั

ความสาเร็จของงานทีทาอยู่
                  ่

                   ้                        ้ ่
        2.5 งานที่ตองรับผิดชอบในระดับสู ง ผูที่อยูในตาแวน่งวัววน้า วรอ อผูบริ วาร งานที่
                                                                          ้

ต้องรับผิดชอบด้านการวินิจฉัย สังการ วางแผน คุมโยบาย ควบคุมดูแลผูใต้บงคับบัญชาเป็ นจานวน
                               ่                                ้ ั

มาก มีปัญวาต้องแก้ไขอยูเ่ สมอ

        2.6 ภาวะเศรษฐกิจตกต่า ยากจน เป็ นต้น

        2.7 สภาพของสังคมเมออง ที่ชีวตต้องต่อสู ้แข่งขัน การจราจรติดขัด การเดินทาง
                                    ิ

ไม่สะดวก ขาดอากาศบริ สุทธิ์

จตุพร เพ็งชัย (2534) ได้กล่าวถึงสาเวตุของการเกิดความเครี ยดว่ามาจากสิ่ งต่าง ๆ เวล่านี้

คออ                                                                                 ่
        1. ความกดดันจากสิ่ งแวดล้อม เช่น เรอ่ องงาน เงิน เรอ่ องภายในครอบครัว ที่อยูอาศัย ซึ่ งทา

ใว้เกิดความไม่สบายใจ

        2. ความขัดแย้งอันเกิดจากภายในจิตใจ เช่น ความไม่สมววัง ความรู ้สึกสู ญเสี ย

การตัดสิ นใจไม่เด็ดขาด

        3. ความเป็ นทุกข์อนเกิดจากความเจ็บป่ วยของร่ างกาย
                          ั

นอกจากภาวะความเครี ยดที่ส่งผลต่อสรี ระทางกายและทางจิตใจ รวมทั้งความเจ็บป่ วยแล้ว

ยังมีกระบวนของความรู ้สึกที่มนุษย์ตระวนักในใจถึงภัยที่จะเกิดขึ้น และวาวิธีการเผชิ ญวน้ากับ
ปั ญวา ก็จะทาใว้เกิดความเครี ยดได้เช่นกัน ซึ่ งได้แก่

          1. ความคับข้องใจ (frustration) วมายถึง สถานการณ์ที่บุคคลไม่สามารถปฏิบติสิ่งวนึ่ง
                                                                               ั

สิ่ งใดใว้สาเร็ จตามความมุ่งวมายที่วางไว้

          2. ความกลัวอันตราย (treat) วมายถึง การที่คนรู ้วาจะมีอนตรายรออยู่ ภัยนี้จะเกิดความ
                                                          ่     ั

ต้องการทางร่ างกายและแรงจูงใจที่พึงปรารถนา เช่น ความเจ็บปวด ความสู ญเสี ย ความนับถออจาก

ผูออ่นรออยูเ่ บอ้องวลัง อันตรายที่จะเกิดขึ้นนั้นยิงมีสูงเพียงใด ความกลัวเกรงก็ยงมากขึ้นเท่านั้น
  ้                                               ่                            ิ่

          3. ความขัดแย้งในใจ (conflict) วมายถึง การที่คนต้องตัดสิ นใจเลออกสิ่ งใดสิ่ งวนึ่งซึ่ ง

                              ุ่
ทาใว้เขาเผชิ ญกับสภาพการณ์ที่ยงยากซับซ้อนในการตัดสิ นใจว่าจะเลออกสิ่ งใดสิ่ งวนึ่ งก่อใว้เกิด

ความรู้สึกขัดแย้งในใจได้

          4. ความวิตกกังวล (anxiety) วมายถึง ปฏิกิริยาที่ตอบโต้สภาวการณ์บางอย่างที่ทาใว้

คนตกอยูในภาวะที่อึดอัดกังวลใจ ความวิกตกังวลเป็ นปฏิกิริยาของคนปกติโดยทัว ๆ ไป ถ้ามีและไม่
       ่                                                               ่

รุ นแรงแต่ถามีมากเกินไปย่อมเป็ นปั ญวา
           ้

กรมสุ ขภาพจิต (2540, วน้า 3) ได้แบ่งสาเวตุของการเกิดความเครี ยดออกเป็ น 3 ประการ

คออ       1. สาเวตุทางด้านจิตใจ ได้แก่ ความกลัวว่าจะไม่ได้ดงววัง กลัวจะไม่สาเร็ จ วนักใจใน
                                                           ั

งานที่ได้รับมอบวมาย รู ้สึกว่าตัวเองต้องทาสิ่ งที่ยากเกินความสามารถ มีความวิตกกังวลล่วงวน้ากับ

สิ่ งที่ยงไม่เกิดขึ้น เป็ นต้น
         ั

          2. สาเวตุจากการเปลี่ยนแปลงในชีวต ได้แก่ การเปลี่ยนวัย การแต่งงาน การตั้งครรภ์ การ
                                         ิ

เริ่ มเข้าทางาน การเปลี่ยนงาน การเกษียณอายุ เป็ นต้น

          3. สาเวตุจากการเจ็บป่ วยทางกาย ได้แก่ การเจ็บไข้ไม่สบายที่รุนแรง ตลอดไปจนถึงการ

เจ็บป่ วยด้วยโรคที่รุนแรงและเรอ้ อรัง เช่น เบาววาน มะเร็ ง ความดันโลวิตสู ง เป็ นต้น
บทที่ 3

                                         วิธีดาเนินการทาวิจัย

วิธีการศึกษา

        การศึกษาวิจยครั้งนี้ ดาเนิ นการศึกษาแบบการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม (questionnaire)
                   ั

เพอ่อศึกษาวามเครี ยดและการเผชิญปั ญวาในการเรี ยน ผูวจยได้กาวนดวิธีศึกษาวิจยในเรอ่ องต่าง ๆ
                                                   ้ิั                    ั

เพอ่อใว้การวิจยครั้งนี้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาวนดไว้ และมีเกณฑ์มาตรฐานการวิจยทัวไป
              ั                                                                 ั ่



สถานทีและจุดศึกษา
      ่

          โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม



ระยะเวลาดาเนินการ

          การศึกษาด้วยตนเอง เรอ่ องความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม
เป็ นการศึกษาเชิงประยุกต์โดยทาการศึกษาแบบสารวจและใช้แบบสอบถามเป็ นเครอ่ องมออในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา



(1.) ประชากร

    ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คออ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง
จังววัดพะเยา ซึ่งมีจานวน 30 คน เพศชาย 15 คน เพศวญิง 15 คน
(2.) เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย
                 ่

         เครอ่ องมออที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ เป็ นแบบสอบถามที่ผวจยสร้างขึ้นจากการค้นคว้าเอกสารงานวิจยที่
                                  ั                           ู้ ิ ั                               ั
เกี่ยวข้องและแบบวัดความเครี ยด



ส่ วนที่ 1 ข้อมูลส่ วนบุคคล เป็ นคาถามประเภทเลออกคาตอบ

     -   อายุ
     -   เพศ
     -   สายการเรี ยน
     -   การเลออกศึกษาต่อ
     -   เป้ าวมายของชีวิต
     -   ความเพียงพอของการเงิน
     -   เกรดเฉลี่ย
     -   เวลาการอ่านวนังสอ อ
     -   ความตั้งใจ
     -   ความมุ่งมัน่
     -   ความสัมพันธ์ของครอบครัว


ส่ วนที่ 2 แบบวัดความเครี ยดที่ประยุกต์มาใช้โดยการใว้คะแนนแบบวัดความเครี ยดชองคาถามแต่ละข้อจะ
มีคาตอบใว้เลออก 4 ระดับ การใว้คะแนนตามระดับของความเครี ยด แบ่งตามเกณฑ์ของแบบวัดความเครี ยด
ดังนี้

                              คะแนน 0-23         มีระดับความเครี ยดน้อย

                              คะแนน 24-41        มีระดับความเครี ยดปานกลาง

                              คะแนน 42-61        มีระดับความเครี ยดสู ง

                              คะแนน 62 ขึ้นไป มีระดับความเครี ยดรุ นแรง
เมอ่อรวมคะแนนแล้วนามาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ปกติที่กาวนด ดังนี้

   - ช่วงคะแนน 0-23 มีระดับความเครี ยดน้อยคออ ความเครี ยดขนาดน้อยๆ และวายไปเวลาอันสั้น เป็ น
     ความเครี ยดที่เกิดในชีวิตประจาวัน
   - คะแนน 24-41            มีระดับความเครี ยดปานกลางคออ ความเครี ยดที่เกิดขึ้นในชี วต
                                                                                     ิ
     ประจาวันเนอ่ องจากสิ่ งที่คุกคามวรอ อพบเวตุการณ์สาคัญๆในสังคม

   - คะแนน 42-61          มีระดับความเครี ยดสู งคออ เป็ นระดับที่บุคคลได้รับเวตุการณ์ที่ก่อใว้เกิด
     ความเครี ยดสู งไม่สามารถปรับตัวใว้ลดความเครี ยดลงได้ในเวลาอันสั้น
   - คะแนน 62 ขึ้นไป มีระดับความเครี ยดรุ นแรงคออ เป็ นความเครี ยดระดับสู งที่ติดต่อกันมาอย่าง
     ต่อเนอ่องจนทาใว้บุคคลเกิดความเบอ่อวน่าย ท้อแท้ วมดแรง ควบคุมตัวเองไม่ได้


   ส่ วนที่ 3 คาถามเกี่ยวกับลักษณะความเครี ยดและสาเวตุของแต่ละบุคคลเป็ นข้อคาถามเกี่ยวกับปั จจัยด้าน
   สิ่ งแวดล้อม เป็ นคาถามประเภทเลออกคาตอบ ได้แก่

   - ปัญวาแลสาเวตุที่ทาใว้เครี ยด
   - การมองปั ญวาที่เกิดขึ้น
   - วิธีการปรับตัวของท่านเมอ่อมีปัญวาด้านความเครี ยด


สถิติทใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
        ี่
           การวิเคราะห์ ข้อมูลผู้ศึกษาแบ่ งการวิเคราะห์ ออกเป็ น 2 ส่ วน ดังนี้
                   ส่ วนที่ 1. แบบสอบถามในส่ วนของข้อมูลทัวไปของกลุ่มประชากร 208 นาย ใช้สถิติเชิง
                                                                 ่
พรรณนา คออ ความถี่ (Frequenc) อัตราร้อยละ (Percentage) แล้วนาเสนอข้อมูลในรู ปของตาราง และข้อมูล
ที่เก็บรวบรวมได้นามาประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ป ใช้สูตรดังนี้
                   ค่าร้อยละ (%) = n x 100
                                          N
                             n = จานวนผูตอบแบบสอบถาม
                                           ้
                             N = จานวนกลุ่มประชากรทั้งวมด
บทที่ 4

                                             ผลการทดลอง

ลาดับการแสดงผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

         การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรอ่ อง ความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 แต่ละแผนการเรี ยน
โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา ผูศึกษาได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม
                                                    ้
และได้ดาเนินการวิเคราะว์ขอมูลจากแบบสอบถามที่ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ จานวนรวมทั้งสิ้ น 30
                               ้
ฉบับ คิดเป็ นร้อยละ 100 ซึ่งได้รับกลับคอนมาและจัดลาดับในการนาเสนอผลการวิเคราะว์ขอมูล โดย       ้
แบ่งเป็ น 2 ส่ วน ตามวัตถุประสงค์ในการนาเสนอ ดังต่อไปนี้
         ส่ วนที่ 1 ข้อมูลส่ วนบุคคล เป็ นคาถามประเภทเลออกคาตอบ
        ส่ วนที่ 2 แบบวัดความเครี ยดที่ประยุกต์มาใช้โดยการใว้คะแนนแบบวัดความเครี ยดชองคาถามแต่
ละข้อจะมีคาตอบใว้เลออก 4 ระดับ การใว้คะแนนตามระดับของความเครี ยด แบ่งตามเกณฑ์ของแบบวัด
ความเครี ยด

ส่ วนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลพืนฐานทัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
                                    ้       ่
          ในการศึกษา เรอ่ อง ปัจจัยจูงใจในการปฏิบติงานของบุคลากรสถานีตารวจภูธรเมอองพะเยา
                                                 ั
อาเภอเมออง จังววัดพะเยา ครั้งนี้ ผูศึกษาได้ดาเนินการสอบถามกลุ่มประชากรในสถานีตารวจภูธรเมออง
                                          ้
พะเยา ประกอบด้วย เพศ อายุ ตาแวน่งงาน ระยะเวลาการทางาน(อายุราชการ) ยศ ระดับการศึกษา และ
สถานภาพ ซึ่ งสามารถแสดงตามตารางดังนี้

ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้ อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ

                  เพศ                            จานวน                           ร้ อยละ
                  ชาย                              25                               83.3
                  วญิง                              5                               16.6
                  รวม                              30                            100.00


      จากตารางที่ 1 พบว่า กลุ่มประชากรส่ วนใวญ่ เพศวญิง คิดเป็ นร้อยละ 83.3 และ
เพศชาย คิดเป็ นร้อยละ 16.6 ตามลาดับ
ตารางที่ 2 แสดงจานวนและร้ อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกสายการเรียน

              สายการเรียน                          จานวน                             ร้ อยละ
              วิทย์ – คณิ ต                          20                                 66.6
              คณิ ต – อังกฤษ                         5                                  16.6
                  สังคม                              2                                   6.6
                    จีน                              1                                    3
                  ญี่ปุ่น                            2                                   6.6
                 ฝรั่งเศส                            0                                    0
                  รวม                                30                              100.00

             จากตารางที่ 2 พบว่า กลุ่มประชากรส่ วนใวญ่สายการเรี ยนวิทย์ – คณิ ต คิดเป็ นร้อยละ66.6
  รองลงมา คออ สายการเรี ยนคณิต – อังกฤษ คิดเป็ นร้อยละ 16.6 สายการเรี ยนสังคม คิดเป็ นร้อยละ 6.6 สายการ
 เรี ยนญี่ปุ่น คิดเป็ นร้อยล่ะ 6.6 อายุ สายการเรี ยนจีน คิดเป็ นร้อยละ 3 และสายการเรี ยนฝรั่งเศส คิดเป็ นร้อยละ
 0 ตามลาดับ


 ตารางที่ 3 แสดงจานวนและร้ อยละของผู้ตอบแบบสอบถามเรื่องการเงินในครอบครัว

            ระดับความเครียด                        จานวน                             ร้ อยละ
                  มาก                                2                                   6.6
                 ปานกลาง                             20                                 83.3
                   น้อย                              3                                    1
                   รวม                               30                              100.00

         จากตารางที่ 3 พบว่า กลุ่มประชากรส่ วนใวญ่มีปัญวาทางด้านการเงินมาก คิดเป็ นร้อยล่ะ 6.6
ปั ญวาทางด้านการเงินปานกลาง คิดเป็ นร้อยล่ะ 83.3 ปั ญวาทางด้านการเงินน้อย คิดเป็ นร้อยล่ะ 1
ตารางที่ 4 แสดงจานวนและร้ อยละของผู้ตอบแบบสอบถามเวลาในการอ่านหนังสื อ

                  เวลา                         จานวน                           ร้ อยละ
                  มาก                            0                                 0
                ปานกลาง                          22                               73.3
                  น้อย                           8                                26.6
                  รวม                            30                            100.00

                                  ่
           จากตารางที่ 4 พบว่า กลุมประชากรส่ วนใวญ่มีเวลาในการอ่านวนังสอ อมาก คิดเป็ นร้อยล่ะ 0
ปั ญวามีเวลาในการอ่านวนังสอ อปานกลาง คิดเป็ นร้อยล่ะ 73.3 มีเวลาในการอ่านวนังสอ อ น้อย คิดเป็ นร้อยล่ะ
26.6
ส่ วนที่ 2 แบบวัดความเครี ยดที่ประยุกต์มาใช้โดยการใว้คะแนนแบบวัดความเครี ยดชองคาถามแต่
             ละข้อจะมีคาตอบใว้เลออก 4 ระดับ การใว้คะแนนตามระดับของความเครี ยด แบ่งตามเกณฑ์ของแบบวัด
             ความเครี ยด

             ตารางที่ 1 ค่ าสถิติแบบวัดระคับความเครียด


                                                                                ระดับความเครี ยด
                                                     มากที่สุด                มาก                   ปานกลาง               น้อย
                 รายการ
                                                         SD                   SD
                                          x
                                          ˉ                      n x
                                                                   ˉ                 n x
                                                                                       ˉ              SD      n x
                                                                                                                ˉ         SD      n
1.ปัญวาด้านการเงินในครอบครัว                   0          0       0    6.6    1.08    2      50         10    15   43.3            13

2.การเลออกศึกษาต่อในคณะต่างๆ                  53.3       11.04   16    13.3   3.68    4     26.6       5.21   8    6.6     2.43    2

3.กลัวสอบไม่ติดในคณะที่ตองการ
                        ้                     83.3       13.09   25    13.3   3.68    4      3.3       0.96   1     0       0      0

4.กลัวสอบไม่ติดในมวาวิทยาลัยที่ตองการ
                                ้             73.3       11.88   22    23.3   5.63    7      3.3       0.96   1     0       0      0

5.ระยะเวลาในการอ่านวนังสอ อ                   63.3       9.95    19    20       5     6     13.3      3.68    4    3.3     0.96    1

6.ติดเพอ่อนและอยากเรี ยนที่เดียวกันกับ
                                              66.6       10.08   20    26.6   5.21    8      3.3      0.96    1    3.3     0.96    1
เพอ่อน
7.กลัวเลออกคณะที่ไม่ตรงความสามารถ             60         9.88    18    30       7     9      10          5    3     0       0      0

8.เกรดเฉลี่ยของตนเองในแต่ล่ะเทอม              76.6       12.01   23    16.6   3.50    5      6.6       1.08   2     0       0      0

9.ครอบครัวกดดัน                               16.6       3.88     5    23.3   5.63    7     13.3       3.68   4    13.3   1.04     14

10.วาเป้ าวมายชีวตของตนเองยังไม่ได้
                 ิ                            36.6       8.55    11    30       7     9     13.3       3.68   4    20      5.01    6

                   รวม                      52.96        10.55   159   20.3   5.33    52    15.63      3.68   43   8.98    2.01   37
บทที่ 5

                                    สรุ ปผล อภิปราย และข้ อเสนอแนะ



สรุ ปผลการทดลอง

        นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 นั้นมีความเครี ยดมากในเรอ่ อง การเลออกที่จะศึกษาต่อใน
ระดับอุดมศึกษาวรอ อในระดับมวาวิทยาลัยเพราะในการที่จะเข้าศึกษาต่อนั้น จะต้องการ การสอบวัดความรุ ้
ว่ามีมากวรอ อน้อยแค่ไวน ถึงจะเข้าในมวาวิทยาลัยที่ตองการได้ และ ในสาขา วรอ อ คณะที่ตองการได้ ซึ่ง
                                                  ้                                ้
การวัดผลนั้นมีความยากมาก จึงทาใว้นกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 นั้นมีความเครี ยดที่มากไปด้วย เพราะ
                                  ั
กลัวว่าจะสอบไม่ติดในสิ่ งที่ตนเองต้องการ



อภิปรายการทดลอง

        จากการทดลอง โดยใช้นกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม จานวน 30 คน ในการ
                           ั
ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับสาเวตุความของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 พบว่า

        จากการสารวจและรวบรวมข้อมูล พบว่านักเรี ยนมีความเครี ยดมากที่สุด คิดเป็ นร้อยล่ะ52.96 มี
ความเครี ยดมาก คิดเป็ นร้อยล่ะ 20.3 มีความเครี ยดปานกลาง คิดเป็ นร้อยล่ะ 15.63 และมีความเครี ยดน้อย
คิดเป็ นร้อยล่ะ 8.98 ตามลาดับ



ข้ อเสนอแนะ

        1. ควรมีการเก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้ าวมายมากกว่านี้

        2. ควรมีการจัดกิจกรรมเพอ่อคลาดเครี ยดแก่นกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
                                                 ั

Contenu connexe

Tendances

แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)sonsukda
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาsuchinmam
 
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการการวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2teerachon
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
โครงร่าง1
โครงร่าง1โครงร่าง1
โครงร่าง1qnlivyatan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5qnlivyatan
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมprrimhuffy
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1tassanee chaicharoen
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษากำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษาUmmara Kijruangsri
 

Tendances (20)

แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการการวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
โครงร่าง1
โครงร่าง1โครงร่าง1
โครงร่าง1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษากำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา
 

En vedette

Time table 30.8.10 excel format
Time table 30.8.10 excel formatTime table 30.8.10 excel format
Time table 30.8.10 excel formatProfkunal
 
Pm guideliness
Pm guidelinessPm guideliness
Pm guidelinessupendhra90
 
Helpful calculators
Helpful calculatorsHelpful calculators
Helpful calculatorsupendhra90
 
How windows server 2008 r2 helps optimize it and save you money
How windows server 2008 r2 helps optimize it and save you moneyHow windows server 2008 r2 helps optimize it and save you money
How windows server 2008 r2 helps optimize it and save you moneyupendhra90
 
Networks and Neighborhoods
Networks and NeighborhoodsNetworks and Neighborhoods
Networks and Neighborhoodswisealf
 

En vedette (8)

Time table 30.8.10 excel format
Time table 30.8.10 excel formatTime table 30.8.10 excel format
Time table 30.8.10 excel format
 
Fias report
Fias reportFias report
Fias report
 
Fish
FishFish
Fish
 
Icwai Pus 8708[1]
Icwai Pus 8708[1]Icwai Pus 8708[1]
Icwai Pus 8708[1]
 
Pm guideliness
Pm guidelinessPm guideliness
Pm guideliness
 
Helpful calculators
Helpful calculatorsHelpful calculators
Helpful calculators
 
How windows server 2008 r2 helps optimize it and save you money
How windows server 2008 r2 helps optimize it and save you moneyHow windows server 2008 r2 helps optimize it and save you money
How windows server 2008 r2 helps optimize it and save you money
 
Networks and Neighborhoods
Networks and NeighborhoodsNetworks and Neighborhoods
Networks and Neighborhoods
 

Similaire à Isstrain

ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีSuwicha Tapiaseub
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯnampeungnsc
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50wayosaru01
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50chugafull
 
....
........
....MM AK
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50yyyim
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50Weerachat Martluplao
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3Kruthai Kidsdee
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 

Similaire à Isstrain (20)

06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานน
การงานนการงานน
การงานน
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
....
........
....
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
3.ตารางวิเคราะห์แอกกอฮอล์ม.3เอมพันธ์
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 

Isstrain

  • 1. งานวิจัย เรื่อง ความเครียดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 แต่ ละแผนการเรียน โดย 1. นายจักรภัทร ติรักษา ชั้น ม.5/7 เลขที่ 2 2. นางสาวสุ ดารัตน์ พันธ์ วงศ์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 18 3. นางสาวมนัญชยา บางวัน ชั้น ม.5/7 เลขที่ 34. ครู ทปรึกษา ี่ ครู ยงศักดิ์ กระจ่ างแจ้ ง ิ่ รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ ความรู้ (Resear & Knowledge Fromation) ตามหลักสู ตร โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standarad School) โรงเรียนพะเยาพิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ปี การศึกษา 2555
  • 2. ชื่องานวิจัย ความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 แต่ละแผนการเรี ยน ผู้จัดทา 1. นายจักรภัทร ติรักษา ชั้น ม.5/7 เลขที่ 2 2. นางสาวสุ ดารัตน์ พันธ์วงศ์ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 18 3. นางสาวมนัญชยา บางวัน ชั้น ม.5/7 เลขที่ 34. โรงเรียน พะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา ครู ทปรึกษา ครู ยงศักดิ์ กระจ่างแจ้ง ี่ ิ่ บทคัดย่อ งานวิจยเป็ นการวิจยเชิงพรรณนา เพอ่อศึกษาพฤติกรรมสุ ขภาพของนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 6 คออ ั ั พฤติกรรมสุ ขภาพด้าน การพักผ่อนใว้เพียงพอ การออกกาลังกาย ด้านการจัดการความเครี ยด เปรี ยบเทียบ พฤติกรรมสุ ขภาพนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ตามความแตกต่าง ดังนี้ ข้อมูลส่ วนบุคคลประกอบด้วย เพศ อายุ สายการเรี ยน รายได้ของครอบครัว และเป้ าวมายของชีวต และเป้ าวมายในชีวิตของแต่ละคนนั้น ซึ่ งคน ิ มุ่งววังที่สูงมาก ซึ่ งสุ่ มตัวอย่าง จากนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 จานวน 30 คน และมีแบบวลายขั้นตอน (Multiple Random Sampling) เครอ่ องมออที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสัมภาษณ์ขอมูลส่ วน ้ บุคคล แบบสัมภาษณ์สาเวตุของความเครี ยด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะว์ขอมูลคออ ร้อยละ (%) วิเคราะว์ ้ ผลการวิจยพบว่ามีความเครี ยดในการกลัวสอบไม่ติด 43.3 % เครี ยดในการเรี ยนต่อ 40 % เรี ยนวนัก 30% ั การเงิน 3.3% คิดมาก 3.3% ไม่แน่ใจ 3.3% กลัวผิดววังในสิ่ งที่ววัง 3.3% ดังนั้นข้อมูลเวล่านี้จึงมีประโยชน์ต่อครู ผสอนวรอ อคนในครอบครัวเพอ่อจะได้ช่วย ผ่อนคลาย ู้ ั ความเครี ยดและใว้คาปรึ กษาในเรอ่ องต่าง ๆ ใว้กบนักเรี ยนใว้ไม่มีความเครี ยดจนมากเกินไป จนทาใว้ไม่ดี ต่อสุ ขภาพ
  • 3. บทที่ 1 บทนา ทีมาและความสาคัญของปัญหา ่ ความเครี ยดเป็ นภาวะที่เกิดขึ้นเนอ่ องจาก ร่ างกายถูกสิ่ งกระตุนที่ทาใว้ตอ่นเต้นและวิตกกังวลส่ งผลทา ้ ใว้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางร่ างกายและวรอ อทาใว้เกิดอาการปกติทางร่ างกายนั้นวากความเครี ยดนั้นมีมาก ่ ั ั และคงอยูกบตัวยาวนาน สภาพเช่นนี้เกิดขึ้นได้กบเด็กทัวไป ในสภาพความเป็ นจริ งเด็กที่มีความเครี ยดต้อง ่ เผชิญกับความเครี ยดและปั ญวาสุ ขภาพจิต โดยเฉพาะการจัดการศึกษาของประเทศไทยที่พบในระบบ โรงเรี ยน คออ ระบบแพ้คดออก ต้องแย่งแข่งขันชิงดีชิงเด่นเพอ่อเอาชนะซึ่ งกันและกันตลอดเวลา ั ในสภาพปัจจุบนการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมออง การศึกษา และ ั ่ วัฒนธรรมในสังคมไทย ค่านิ ยมและความเชอ่อ มีผลการกระทบต่อสภาพความเป็ นอยูและวิถีการดาเนินชีวิต ของประชาชน และมีผลกระทบต่อสภาพจิตใจของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ด้วย เพราะสิ่ งที่เว็นได้ ชัดเจนในสังคม ก็คออ มีการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นและต่อสู ้ดิ้นรนเพอ่อตัวเอง สิ่ งเวล่านี้ก่อใว้เกิดความเครี ยด ความ กดดันทางด้านจิตใจ และก่อความคิดต่าง ๆ ว่าจะต้องศึกษาต่อที่ไวน จึงจะมีที่ทางานที่ดีและมันคง ดังนั้น ่ ปั ญวาความเครี ยดเป็ นปั ญวาทางสุ ขภาพที่รุนแรงและมีความสาคัญอย่างยิง ่ วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. เพอ่อศึกษาความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม 2. เพอ่อศึกษาความแตกต่างของปั จจัยส่ วนบุคคลที่มีผลต่อความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา 3. เพอ่อศึกษาสาเวตุของความเครี ยดและการปรับตัวต่อความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา สมมุติฐานของงานวิจัย นักเรี ยนมีปัจจัยส่ วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ ระดับชั้นปี ที่ศึกษา คณะ ระดับเกรดเฉลี่ย ภูมิลาเนาเดิม การทางานพร้อมกับการเรี ยน มีระดับความเครี ยดแตกต่างกัน
  • 4. ขอบเขตของโครงงาน 1. นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 จานวน 30 คน ชาย 4 คน วญิง 26 คน 2. ตั้งแต่วนที่ ั 2555 ถึงวันที่ 2555 นิยามศัพท์เฉพาะ ความเครี ยด วมายถึงเป็ นระบบเตออนภัยของร่ างกาย ใว้เตรี ยมพร้อมที่กระทาสิ่ งใดสิ่ งวนึ่ง การมี ความเครี ยดน้อยเกินไปและมากเกินไปไม่เป็ นผลดีต่อสุ ขภาพ ส่ วนใวญ่เข้าใจว่าความเครี ยดเป็ นสิ่ งไม่ดี มัน ก่อใว้เกิดอาการปวดศีรษะ ปวดกล้ามเน้อ วัวใจเต้นเร็ ว แน่นท้อง มออเท้าเย็น แต่ความเครี ยดก็มีส่วนดี
  • 5. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ การวิจยนี้ ผูวิจยได้รวบรวมแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง สรุ ปเป็ น 4 วัวข้อได้ ดังนี้ ั ้ ั แนวคิดเกียวกับความเครียดและความเครียดในการทางาน ่ 1. ความวมายของความเครี ยด 2. องค์ประกอบของความเครี ยด 3. ประเภทของความเครี ยด 4. ปั จจัยที่มีผลต่อความเครี ยด แนวคิดเกียวกับความเครียดและความเครียดในการทางาน ่ ความหมายของความเครียด ความเครี ยดเป็ นการแสดงออกของร่ างกายที่มีต่อสิ่ งแวดล้อมที่มากระทบทาใว้คนเรา เกิดการเรี ยนรู ้ที่จะตอบสนองต่อสิ่ งต่าง ๆ เวล่านั้น ความเครี ยดมีท้ งคุณประโยชน์และโทษต่อการ ั ปฏิบติงาน สุ ขภาพร่ างกาย และจิตใจของเราในการดารงชี วตในแต่ละวัน ได้มีผใว้ความวมายของ ั ิ ู้ ความเครี ยดไว้ต่าง ๆ ดังนี้ ความเครี ยด (stress) ตามความวมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ่ ่ ั วมายถึง อาการที่สมองไม่ได้ผอนคลาย เพราะคร่ าเคร่ งอยูกบงานจนเกินไป และมีรากศัพท์มากจาก ภาษาละตินว่า “stringere” ซึ่ งแปลว่า ความขมึงเกลียว (Webster, 1968, p. 1861) ได้มีผใว้ความวมาย ู้ ของความเครี ยดวลายลักษณะ ซึ่งสามารถจาแนกความเครี ยดที่อาจทาได้อย่างวนึ่งจาก 3 แบบ
  • 6. ต่อไปนี้ แนวนิยามสิ่ งเร้า แนวนิยามการตอบสนอง และแนวนิยามแบบปฏิสัมพันธ์ 1. แนวนิยามสิ่ งเร้า เป็ นปั จจัยภายนอก วรอ อเป็ นสิ่ งเร้าที่กระต่อบุคคล ความเครี ยดในลักษณะนี้ เป็ นความกดดัน แรงบีบ วรอ อสิ่ งเร้าที่กดดันบุคคลแตกต่างไปจากปกติวรอ อต่างจากสภาพที่ควรจะ เป็ น เมอ่อถูกแรงดันมากเกินไปจะเกิดผลเสี ยต่อสุ ขภาพมีผใว้ความวมายความเครี ยดในแนวนิยม ู้ สิ่ งเร้าวลายท่าน ดังนี้ แคมพ์เบลล์ (Campbell, 1981, p. 602) ได้ความวมายว่า ความเครี ยดเป็ นสิ่ งใด ๆ ก็ตามซึ่ ง รบกวนต่อการทาวน้าที่ของสิ่ งมีชีวต และผลกระทบจะชัดเจนขึ้นเมอ่อมีตวกระตุนความเครี ยดต่อ ิ ั ้ บุคคลซึ่ งจะมีปฏิกิริยาตอบโต้ทางจิตใจ โดยอาจเกิดความรู ้สึกกดดันขึ้นในทันทีทนใดขณะประสบ ั กับภาวะความขัดแย้งทางความคิดและพฤติกรรม ร๊ อบบินส์ (Robbins, 2001, p. 63) ได้ใว้ความวมายของความเครี ยดว่า วมายถึง ผลของ ความกดดันที่เกิดขึ้นเมอ่อบุคคลไม่สามารถทาตามความต้องการของตนเองได้ การที่บุคคลต้องเผชิ ญ กับการสู ญเสี ยสิ่ งที่ปรารถนา บุคคลสู ญเสี ยโอกาสในการกระทาบางสิ่ งบางอย่าง และบุคคลคิดว่า สิ่ งที่สูญเสี ยวรอ อความปรารถนานั้นคออสิ่ งที่มีความสาคัญต่อตนเอง สุ วนีย ์ เกี่ยวกิ่งแก้ว (2527, วน้า 2) กล่าววาความเครี ยดคออความปั่ นป่ วนวรอ อไม่สมดุลและ มีปัจจัยวรอ อสิ่ งกระตุนที่มีผลคุกคามต่อสวัสดิภาพร่ างกายและจิตใจ ้ สุ ปราณี ผลชีวน (2530, วน้า 1) กล่าวว่าความเครี ยดวมายถึง ความกดดันที่บุคคลได้รับ ิ ซึ่ งบางครั้งบุคคลนั้นเข้าใจเองว่ามากเกินไปวรอ อสุ ดที่จะทนได้ ทั้งยังวมายถึง การเปลี่ยนแปลงทาง ร่ างกายและจิตใจที่ตอบสนองความกดดันเวล่านั้นด้วย กรมสุ ขภาพจิต (2541, วน้า 9) กล่าวว่าความเครี ยดนั้นเป็ นภาวะของอารมณ์วรอ อความรู ้สึก ที่เกิดขึ้นเมอ่อเผชิ ญกับปั ญวาต่าง ๆ ที่ทาใว้รู้สึกไม่สบายใจคับข้องใจ วรอ อถูกบีบคั้น กดดันจน ทาใว้
  • 7. เกิดความรู ้สึกทุกข์ใจ สับสน โกรธ วรอ อเสี ยใจ ้ิั ่ จากความวมายดังกล่าวผูวจยสรุ ปได้วา ความเครี ยดเป็ นสิ่ งกระตุนจากภายนอกที่ทาใว้ ้ บุคคลเกิดความปั่ นป่ วน และบุคคลนั้นต้องเกิดการเรี ยนรู ้จะบรรเทาความรู ้สึกนั้นลงได้ 2. แนวนิยามการตอบสนอง เป็ นปฏิกิริยาวรอ อการตอบสนองของคนที่มีต่อความกดดัน ของสิ่ งแวดล้อม ความเครี ยดเป็ นการตอบสนองทั้งทางร่ างกายและจิตใจที่บุคคลกาวนดขึ้นตามตัว ก่อความเครี ยด (stressor) โดยสิ่ งที่ทาใว้เกิดความเครี ยดนั้น จึงเว็นได้วา ตามทัศนะนี้จะมุ่งเน้นที่ ่ ปฏิกิริยาของคนที่มีต่อความกดดันของสิ่ งแวดล้อม มีผใว้ความวมายความเครี ยดในแนวนิยมสิ่ งเร้า ู้ วลายท่าน ดังนี้ แสงระวี ชูพาณิ ชกุล (2542, วน้า 13) กล่าวว่า ความเครี ยด วมายถึง ภาวะกดดันที่มีต่อ ร่ างกายแสดงออกไป เมอ่อมีบุคคล เวตุการณ์ วรอ อสิ่ งวนึ่งสิ่ งใดมากระทบร่ างกายและจิตใจของ บุคคล ทาใว้บุคคลนั้นต้องเผชิญกับปั ญวาและความกดดัน ต้องวาคาตอบใว้ตนเองว่าจะสู ้ต่อไปจะ วิงวนีออกมา วรอ อจะอดทนนิ่งเฉย ่ ชูทิตย์ ปานปรี ชา (2534, วน้า 482) กล่าวว่า ความเครี ยดวมายถึง ภาวะจิตใจที่กาลังเผชิญ ่ ปั ญวาต่าง ๆ ไม่วาจะเป็ นปั ญวาในตัวคน วรอ อนอกตัวคน เป็ นปั ญวาที่เกิดขึ้นจริ งวรอ อคาดว่าจะ เกิดขึ้น เป็ นปั ญวามาจากความผิดปกติทางจิตใจ อันเป็ นปฏิกิริยาทางจิตใจที่ตอบสนองต่อสิ่ งเร้าวรอ อ สิ่ งที่มากระตุน ซึ่ งเป็ นปั ญวาที่กาลังเผชิญกับสิ่ งเร้า ความรู ้สึกดังกล่าวนี้ทาใว้เกิดความแปรปรวน ้ ทางกายและจิตใจ กีร์ดาโน และคณะ (Girdano et al., 1993 อ้างถึงใน ธนินทร์ กล่อมฤกษ์, 2544, วน้า 26) กล่าวว่า ความเครี ยด คออ ปฏิกิริยาของร่ างกาย วรอ อสิ่ งที่มากระตุนทั้งร่ างกายและจิตใจ ซึ่ งสามารถทา ้ ใว้ระบบของร่ างกายเกิดความเมอ่อยล้าจนถึงทาวน้าที่ผิดปกติ และเกิดโรคได้ในที่สุด
  • 8. มิลส์ (Mills, 1982, p. 82) กล่าวว่า ความเครี ยดเป็ นปฏิกิริยาต่อสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายใน บุคคลเกิดขึ้นเมอ่อบุคคลเป็ นว่ วงวรอ อวิตกกังวล เศร้าโศก ละอาย วรอ อโกรธ โดยอาจจะมีสาเวตุจาก ตัวเอง ผูออ่น วรอ อสิ่ งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลนั้น โดยที่องค์ประกอบของความเครี ยดจะต้อง ้ ประกอบด้วยสิ่ งต่อไปนี้ คออ เวตุการณ์ภายนอก ความต้องการของบุคคลและปฏิกิริยาภายในบุคคล ต่อสิ่ งกระตุน ้ จากความวมายดังกล่าวผูวจยสรุ ปได้วา ความเครี ยดเป็ นปฏิกิริยาจากภายในของบุคคลที่มี ้ิั ่ ต่อสิ่ งที่มากระทบและทาใว้เกิดความเปลี่ยนของสภาพร่ างกายและจิตใจ 3. แนวนิยามแบบปฏิสัมพันธ์ ความเครี ยดเป็ นผลที่เกิดจากความไม่สมดุลระวว่างความ ต้องการภายนอกและความต้องการภายใน ซึ่ งเป็ นแรงกดดันกับการเรี ยนรู ้ความสามารถของตนที่จะ บรรลุความต้องการนั้น ๆ ตามแนวนิยามนี้ ความเครี ยดจึงเป็ นผลที่เกิดตามมา จากการเกิด ปฏิสัมพันธ์ระวว่างสิ่ งที่เร้าจากสิ่ งแวดล้อม การตอบสนองของบุคคลทางร่ างกายและจิตใจ คูเปอร์ และมาร์แชล (Cooper & Marshall, 1976, pp. 11-28) กล่าวว่า ความเครี ยด วมายถึง เป็ นปฏิกิริยาระวว่างบุคคลกับสิ่ งแวดล้อมที่ทาใว้เกิดความเครี ยดในงาน บุคคลอาจเกิดความเครี ยด เมอ่อสิ่ งแวดล้อมต้องการเกินกว่าความสามารถของบุคคลที่อยู่ วรอ อในกรณี ที่บุคคลไม่มีความสามารถ ในการตอบสนองความต้องการงาน (สภาพแวดล้อมได้) วรอ อในอีกแง่วนึ่ง บุคคลอาจเกิดความเครี ยด เมอ่อพบกับสภาพแวดล้อมที่เป็ นไปในทางลบ วรอ อในกรณี ที่งาน (สภาพแวดล้อม) เวล่านั้นไม่ สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคลได้ ไพรัช พงษ์เจริ ญ (2537) กล่าวว่า ความเครี ยด วมายถึง ปฏิกิริยาโต้ตอบของจิตใจและ ่ ร่ างกายต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ทั้งสภาพแวดล้อมใกล้ตวและสภาพแวดล้อม ั ที่ไกลตัวออกไป สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงเวล่านี้ เองที่มีผลกระทบต่อความรู ้สึกที่เปลี่ยนแปลง
  • 9. ไปนี้เป็ นเรอ่ องที่แต่ละบุคคลจะสามารถกระทาได้มากน้อยแตกต่างกัน วัชรัตน์ วลีมรัตน์ (2527, วน้า 41) กล่าวว่า ความเครี ยด วมายถึง ปฏิกิริยาอย่างไม่เฉพาะเจาะจง ต่อสิ่ งกดดันใด ๆ ก็ตาม สิ่ งที่ทาใว้เกิดปฏิกิริยาอาจจะเป็ นสิ่ งที่มีลกษณะทางกายภาพ คออ อุณวภูมิ ั ร้อนจัด วนาวจัด สารพิษ นอกจากนี้ ความไม่สมบูรณ์ในสังคมทั้งในวน่วยงาน ครอบครัววรอ อ ในสังคมใวญ่ สามารถก่อใว้เกิดผลในเชิงกระตุนใว้เกิดความเครี ยดได้ ้ ่ จากความวมายดังกล่าวผูวจยสรุ ปได้วา ความเครี ยดในแนวนิยามปฏิสัมพันธ์ วมายถึง ้ิั เป็ นปฏิกิริยาโต้ตอบระวว่างจิตใจและร่ างกายเมอ่อร่ างกายได้รับการกระทบกระเทออนสภาพแวดล้อม องค์ ประกอบของความเครียด อัญชนา เวสารัชช์ (2527, วน้า 36-37) ได้กล่าวถึงสาเวตุใวญ่ ๆ ที่ทาใว้คนเราเครี ยดนั้น เกิดจากองค์ประกอบ 5 ประการ คออ 1. สภาพแวดล้อม ทั้งด้านกายภาพและจิตใจ ได้แก่ สิ่ งแวดล้อมที่เป็ นวัตถุบรรยากาศต่าง ๆ ที่ลอมรอบตัวบุคคลนั้นอยู่ เช่น อากาศที่วนาวจัด เสี ยงดัง-ค่อย แสงจ้า วรอ อ มอด สารพิษต่าง ๆ ้ ในอากาศ 2. องค์ประกอบทางด้านจิตใจ ความวนักแน่น รวมถึงการเก็บอารมณ์ ความรู ้สึกต่าง ๆ ไว้ และอาการของโรคจิต โรคประสาทต่าง ๆ 3. งาน งานที่ทาใว้เราเครี ยดได้แก่ งานวนัก งานมาก งานเสี่ ยง งานจาเจซ้ าซาก น่าเบอ่อ งานที่ตองใช้สติปัญญาและกาลังสมองมาก ้ 4. แรงกดดันทางสังคม เช่น วนี้สิน ค่านิยม ศีลธรรม ประเพณี เพอ่อน สถานะทางสังคม ตาแวน่งวน้าที่การงาน
  • 10. 5. สัมพันธภาพและพฤติกรรมลักษณะสัมพันธภาพที่มีตอบุคคลออ่นและพฤติกรรม การ แสดงออกมีผลต่อคนเราจนทาใว้เครี ยดได้ ประเภทของความเครียด มิลเลอร์ และเคียเม่ (Miller & Keame, 1972 อ้างถึงใน รัชดา เอี่ยมยิงพาณิ ช, 2532, วน้า 19) ่ ได้แบ่งความเครี ยดออกเป็ น 2 ชนิด คออ ความเครี ยดทางร่ างกายและความเครี ยดทางจิตใจ 1. ความเครี ยดทางร่ างกาย (physical stress) แบ่งเป็ น 2 ประเภท ตามปฏิกิริยาตอบสนอง คออ 1.1 ความเครี ยดชนิดเฉียบพลัน (emergency stress) เป็ นความเครี ยดเกิดขึ้นทันทีทนใด ั ที่ได้รับสิ่ งที่คุกคามชีวตที่เกิดขึ้นทันทีทนใด เช่น การได้รับบาดเจ็บ การเกิดอุบติเวตุ วรอ อการตกอยู่ ิ ั ั ในสภาพการกระทาน่ากลัว 1.2 ความเครี ยดชนิดต่อเนอ่องกัน (continuing stress) เป็ นสิ่ งคุกคามชีวตที่เกิดขึ้น ิ ต่อเนอ่อง เช่น การเปลี่ยนแปลงของร่ างกายในวัยต่าง ๆ วรอ อการเปลี่ยนแปลงของร่ างกายในบาง โอกาส เช่น การเจ็บป่ วยเรอ้ อรัง การตั้งครรภ์ เป็ นต้น 2. ความเครี ยดทางด้านจิตใจ (psychological stress) เป็ นการตอบสนองของร่ างกายอย่าง เฉี ยบพลัน เมอ่อคิดว่าจะมีอนตรายเกิดขึ้น ทาใว้เกิดความเครี ยดของกล้ามเนอ้อ วัวใจเต้นแรงและเร็ ว ั ระดับความเครี ยด ระดับความเครี ยดสามารถวัดได้จากพฤติกรรมที่เป็ นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่ งวรอ อ เวตุการณ์ต่าง ๆ ที่มากระทบต่อบุคคล นั้นได้มีการแสดงออกมาวลากวลายรู ปแบบมีต้ งแต่ระดับที่ ั สามารถควบคุมตนเองได้ และจนถึงระดับที่ควบคุมตนเองไม่ได้ ได้มีผแบ่งระดับความเครี ยด ู้ ออกเป็ นระดับต่าง ๆ ดังนี้
  • 11. ่ ั สุ จริ ต สุ วรรณชีพ (2531, วน้า 97) กล่าวว่าผลของความเครี ยดมีวลายด้านขึ้นอยูกบระดับ ของความเครี ยดที่เกิดขึ้น กล่าวคออ 1. ความเครี ยดในระดับต่า จะเพิ่มความสามารถในการทางานได้สูงยิงขึ้น และสร้าง ่ ความสุ ขใจใว้แก่มนุษย์ 2. ความเครี ยดในระดับปานกลาง อาจจะมีผลกระทบกระเทออนต่อพฤติกรรม และอาจ นาไปสู่ การกระทาในลักษณะที่ซ้ า ๆ บ่อย ๆ ได้แก่ กินมากกว่าปกติ นอนไม่วลับ การติดเวล้าติดยา 3. ความเครี ยดในระดับรุ นแรง อาจทาใว้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าวรุ นแรงถึงบ้าดีเดออดวรอ อ ซึ มเศร้า วรอ อถึงกับวิตกจริ ต ไม่รับความเป็ นจริ ง ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ 4. ความเครี ยดในระยะยาว อาจทาใว้เกิดโรคทางกายได้วลายโรค และโรคออ่น ๆ ได้มากมาย รวมทั้งแก่เร็ วและอายุส้ ันด้วย ชูทิตย์ ปานปรี ชา (2534) ได้แบ่งระดับของความเครี ยดเป็ น 3 ประการ คออ ระดับแรก เป็ นภาวะที่จิตใจมีความเครี ยดอยูเ่ ล็กน้อย ยังถออเป็ นภาวะปกติของทุกคน ั ขณะเผชิญปั ญวาต่าง ๆ วรอ อกาลังต่อสู ้กบความรู ้สึกที่ไม่ดีของตนเอง ระดับสอง เป็ นภาวะของจิตใจมีความเครี ยดอยูปานกลางเป็ นระยะที่ร่างกาย และจิตใจ ่ ั ต่อสู ้กบความเครี ยดที่แสดงออกใว้เว็น โดยมีการเปลี่ยนแปลงทางสรี ระทางร่ างกาย ความคิดอารมณ์ พฤติกรรมและการดาเนินชีวต ิ ระดับสาม เป็ นภาวะของจิตใจที่มีความเครี ยดรุ นแรงวรอ อความเครี ยดมากกว่าร่ างกายและ จิตใจพ่ายแพ้ต่อความเครี ยด มีการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย และจิตใจใว้เว็นได้ชด มีพยาธิ สภาพ ั วรอ อป่ วยเป็ นโรค ทาใว้เกิดการดาเนินชีวิตเสี ยไป การตัดสิ นใจผิดพลาดระดับความเครี ยดที่แตกต่างกันย่อม ส่ งผลกระทบต่อร่ างกาย และจิตใจที่แตกต่างกันไปด้วย กล่าวคออ
  • 12. 1. ถ้าเป็ นความเครี ยดในระดับต่าจะเป็ นตัวผลัดดันใว้คนทางานได้มากขึ้น ไม่เกียจคร้าน นิ่งดูดาย 2. ถ้าเป็ นความเครี ยดในระดับปานกลาง อาจมีผลกระทบต่อการทางานเช่น กินมากกว่า ปกติ นอนไม่วลับ ติดเวล้าติดยา เป็ นต้น 3. ถ้าเป็ นความเครี ยดระดับรุ นแรง อาจทาใว้เกิดการกระทาก้าวร้าวถึงบ้าดีเดออดวรอ อ ซึ มเศร้าถึงกับวิกลจริ ตไม่สามารถควบคุมตนเองได้ เฟรน และวาริ กา (Frain & Valiga, 1979 อ้างถึงใน ธนินทร์ กล่อมฤกษ์, 2544, วน้า 34- 35) ได้แบ่งความเครี ยดออกเป็ น 4 ระดับ ระดับ 1 ความเครี ยดที่เกิดขึ้นตามปกติในชีวตประจาวัน (day to day stress) ความเครี ยด ิ ในระดับนี้ทาใว้คนปรับตัวโดยอัตโนมัติ และใช้พลังงานในการปรับตัวน้อยที่สุด เช่น การมีชีวต ิ แบบเร่ งรัด การเดินทางในสภาพการจราจรติดขัด การปรับตัวกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ความเครี ยดในระดับนี้มีนอยมากและวมดไปในระยะเวลาอันสั้น ไม่คุกคามการดาเนินชีวต ้ ิ ระดับ 2 ความเครี ยดระดับต่า (mild stress) เป็ นความเครี ยดที่เกิดขึ้นในชี วตประจาวัน ิ เนอ่องจากมีสิ่งคุกคาม เช่น การสัมภาษณ์เพอ่อเข้าทางานวรอ อพบเวตุการณ์ที่สาคัญในสังคมความเครี ยด ระดับต่านี้ทาใว้บุคคลตอ่นตัว และร่ างกายจะเกิดปฏิกิริยาต่อต้านขึ้น ความเครี ยดในระดับนี้มีนอย และ ้ สิ้ นสุ ดลงในระยะเวลาเพียงวินาที วรอ อชัวโมงเท่านั้น ่ ระดับ 3 ความเครี ยดระดับปานกลาง (moderate stress) ความเครี ยดระดับนี้แรงกว่าระดับ 1 และระดับ 2 อาจปรากฏเป็ นเวลานาน และไม่สามารถปรับตัวได้ในเวลาอันรวดเร็ ว เช่น ความเครี ยด ที่เกิดขึ้นจากการเข้าทางานใวม่ การทางานวนัก การเจ็บป่ วยที่รุนแรง สภาวะนี้ทาใว้บุคคลรู ้สึก ่ คุกคาม เนอ่องจากอยูระวว่าง ความสาเร็ จกับความล้มเวลวบุคคลจะไม่สามารถควบคุมสถานการณ์
  • 13. ต่าง ๆ ได้ และมีการแสดงออกทางอารมณ์เพอ่อลดความเครี ยด ความเครี ยดระดับนี้ จะเกิดเป็ นชัวโมง ่ วลายชัวโมง วรอ ออาจจะเป็ นวัน ่ ระดับ 4 ความเครี ยดระดับสู ง (severe stress) เกิดจากสถานการณ์คุกคามยังคงดาเนิ นอยู่ อย่างต่อเนอ่ อง จนทาใว้บุคคลเกิดความเครี ยดสู งขึ้น ความเครี ยดระดับนี้ทาใว้บุคคลประสบความ ล้มเวลวในการปรับตัว เช่น ขาดสมาธิ ในการทางาน ไม่สนใจครอบครัว เกิดการขาดงาน ความเครี ยด ในระดับนี้จะเกิดขึ้นเป็ นสัปดาว์ เดออน วรอ อ เป็ นปี ปัจจัยทีมีผลต่ อความเครียด ่ สสิ ธร เทพตระการพร (2542, วน้า 604-605) ปั จจัยสิ่ งแวดล้อมในการทางานที่มีผลต่อ ความเครี ยดดังนี้คออ 1. การควบคุมงาน (job control) เป็ นการมีส่วนร่ วมของคนงานในอันที่จะกาวนดงาน ประจา (routine) รวมไปถึงการมีโอกาสได้ควบคุมดูแลกระบวนการผลิตด้วย 2. การสนับสนุนจากสังคม (social support) วมายถึงการได้รับความช่วยเวลออวรอ อการ ส่ งเสริ มจากผูควบคุมงานวรอ อวัววน้างาน และผูร่วมงาน ้ ้ 3. ความไม่พอใจในงานที่ทา (job distress of dis-satisfaction) มีความสัมพันธ์โดยตรงกับ ่ ้ เนอ้องานและปริ มาณงาน รวมไปถึงความก้าววน้าในงานที่ทาอยูดวย 4. ความต้องการของงานและผลงาน (task and performance demands) ถูกกาวนดโดย ปริ มาณงาน รวมถึงความต้องการความตั้งใจในการทางานด้วย วันกาวนดส่ งงาน (deadline) 5. ความมันคงในวน้าที่การงาน (job security) ความกลัวการว่างงานวรอ อการตกงาน ่ 6. ความรับผิดชอบ (responsibility) งานที่ตองการความรับผิดชอบสู งมีความสัมพันธ์ ้ โดยตรงกับการเพิ่มขึ้นของโรคแผลในกระเพาะอาวารและความดันโลวิ ตสู ง
  • 14. 7. ปั ญวาสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ (physical environmental problems) รวมถึงปัญวาเสี ยง ดัง แสงสว่างไม่เวมาะสม สภาพอากาศในตัวอาคารและสานักงานที่เล็กและปิ ดทึบ 8. ความซับซ้อนของงาน (complexity) กาวนดโดยจานวนความต้องการของงานที่ แตกต่างกันในงานนั้น งานซ้ าซากและงานที่ทาอย่างเดียวเวมออน ๆ กันตลอดเวลา (repetitive and monotonous work) สาเหตุความเครียด ความเครี ยดเป็ นบ่อเกิดพฤติกรรมทั้งทางบวกและทางลบ โดยในทางบวกสามารถเป็ นแรง เสริ มศักยภาพของคนเราใว้เพิมขึ้น แต่ถาเกิดในทางลบก็จะเป็ นการบันทอนจิตใจใว้เสอ่ อมโทรมลง ่ ้ ่ ่ ั ทั้งนี้การเกิดความเครี ยด ขึ้นอยูกบแวล่งที่เป็ นสาเวตุของความเครี ยดนั้น ๆ ได้มีนกวิชาวลายท่าน ั ได้ศึกษาถึงสาเวตุของความเครี ยด และความเครี ยดในการทางาน ดังนี้ จงรักษ์ ศุภกิจเจริ ญ (2527) จาแนกสาเวตุของความเครี ยดได้ 2 ลักษณะ คออ 1. สาเวตุของความเครี ยดที่มีสาเวตุเฉพาะ (specific stress agent) อาจเกิดจากจุลินทรี ย ์ เช่น เชอ้ อโรค ทางเคมี ฟิ สิ กส์ และสาเวตุจากการขาดปั จจัยต่าง ๆ เช่น การขาดอากาศ ขาดน้ า ขาดออกซิเจน และการเสี ยสมดุล 2. สาเวตุของความเครี ยดที่ไม่เฉพาะเจาะจง (nonspecific stress agent) ได้แก่มูลเวตุที่ เกี่ยวจิตใจ เช่น เกิดความกลัว ความวิตกกังวล การไม่ประสบความสาเร็ จของมนุษย์สัมพันธ์วรอ อ การทางานเกิดความคับข้องใจ ชูทิตย์ ปานปรี ชา (2519, วน้า 486-488) ได้แบ่งสาเวตุของการก่อใว้เกิดความเครี ยดคออ 1. สาเวตุภายใน วมายถึง ความเครี ยดที่เกิดจากสาเวตุวรอ อปั จจัยต่าง ๆ ที่มาจากตัวคน แยกได้ 2 ชนิด คออ
  • 15. 1.1 สาเวตุทางกาย เป็ นภาวะบางอย่างของร่ างกายที่ทาใว้เกิดความเครี ยดร่ างกายและ จิตใจเป็ นสิ่ งที่แยกกันไม่ได้ เมอ่อร่ างกายเครี ยดก็จะทาใว้จิตใจเครี ยดด้วย เช่น ความเวนอ่อยล้าทาง ร่ างกาย ซึ่ งสภาพร่ างกายที่ไม่สมบูรณ์แข็งแรง วรอ อผ่านการทางานวนักและนานร่ างกายได้รับการ พักผ่อนไม่เพียงพอ รับประทานอาวารไม่เพียงพอ ไม่ถูกสุ ขลักษณะ ความเจ็บป่ วยทางร่ างกาย ภาวะ ติดสุ รา ยาเสพติดไปกดประสาทเป็ นผลใว้ร่างกายอ่อนเพลีย 1.2 สภาพจิตใจ คออ สภาพจิตใจที่ก่อใว้เกิดความเครี ยดได้ คออ 1.2.1 อารมณ์ไม่ดีทุกชนิด ได้แก่ ความกลัว ความโกธร ความวิตกกังวล ความเศร้า ทุกข์ใจ ความรู ้สึกสิ้ นววัง 1.2.2 ความรู ้สึกบางอย่าง ได้แก่ ความรู ้สึกสู ญเสี ยเชอ่อเสี ยงเกียรติยศ ความ ภาคภูมิใจ ความรู ้สึกว่าตัวเองกระทาผิดกลัวว่าผูออ่นจะรู ้ ้ 1.2.3 ความคับข้องใจ เกิดขึ้นเมอ่อความต้องการถูกขัดขวาง ความรู ้สึกไม่พอใจ วิตกกังวล เวมออนถูกบีบคั้น 1.2.4 บุคลิกภาพ ได้แก่ เป็ นคนจริ งจังกับชีวต ใจร้อน รุ นแรง ก้าวร้าว ควบคุม ิ อารมณ์ไม่อยู่ เป็ นคนต้องพึ่งพาคนออ่น 2. สาเวตุภายนอก วมายถึง ปั จจัยต่าง ๆ นอกตัวคนที่เป็ นสาเวตุทาใว้เกิดความเครี ยด ได้แก่ 2.1 การสู ญเสี ยสิ่ งที่รัก ได้แก่ คนรัก เช่น พ่อแม่ ลูก คู่รัก การสู ญเสี ยของรัก ทรัพย์สิน วน้าที่การงาน 2.2 การเปลี่ยนแปลงในชีวตโดยระยะวัวเลี้ยววัวต่อของชี วต จะมีจิตใจแปรปรวน ิ ิ (psychological imbalance) เช่น การเข้าโรงเรี ยนครั้งแรก การแต่งงาน วัยวมดประจาเดออน
  • 16. การเกษียณอายุ วรอ อการเปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างกะทันวันโดยมิได้คาดวรอ อ เตรี ยมการไว้ก่อน ่ 2.3 ภัยอันตรายต่าง ๆ ไม่วาจะเป็ นภัยที่มนุษย์สร้างขึ้น วรอ อภัยจากธรรมชาติ 2.4 ทางานชนิดที่ทาใว้เกิดความเครี ยด เช่น งานที่ตองรับผิดชอบมาก ทางานวลาย ้ วน้าที่ วลายแว่ง วรอ องานไม่พึงพอใจ งานที่ไม่มนคงแน่นอน ขาดความก้าววน้า มองไม่เว็น ่ั ความสาเร็จของงานทีทาอยู่ ่ ้ ้ ่ 2.5 งานที่ตองรับผิดชอบในระดับสู ง ผูที่อยูในตาแวน่งวัววน้า วรอ อผูบริ วาร งานที่ ้ ต้องรับผิดชอบด้านการวินิจฉัย สังการ วางแผน คุมโยบาย ควบคุมดูแลผูใต้บงคับบัญชาเป็ นจานวน ่ ้ ั มาก มีปัญวาต้องแก้ไขอยูเ่ สมอ 2.6 ภาวะเศรษฐกิจตกต่า ยากจน เป็ นต้น 2.7 สภาพของสังคมเมออง ที่ชีวตต้องต่อสู ้แข่งขัน การจราจรติดขัด การเดินทาง ิ ไม่สะดวก ขาดอากาศบริ สุทธิ์ จตุพร เพ็งชัย (2534) ได้กล่าวถึงสาเวตุของการเกิดความเครี ยดว่ามาจากสิ่ งต่าง ๆ เวล่านี้ คออ ่ 1. ความกดดันจากสิ่ งแวดล้อม เช่น เรอ่ องงาน เงิน เรอ่ องภายในครอบครัว ที่อยูอาศัย ซึ่ งทา ใว้เกิดความไม่สบายใจ 2. ความขัดแย้งอันเกิดจากภายในจิตใจ เช่น ความไม่สมววัง ความรู ้สึกสู ญเสี ย การตัดสิ นใจไม่เด็ดขาด 3. ความเป็ นทุกข์อนเกิดจากความเจ็บป่ วยของร่ างกาย ั นอกจากภาวะความเครี ยดที่ส่งผลต่อสรี ระทางกายและทางจิตใจ รวมทั้งความเจ็บป่ วยแล้ว ยังมีกระบวนของความรู ้สึกที่มนุษย์ตระวนักในใจถึงภัยที่จะเกิดขึ้น และวาวิธีการเผชิ ญวน้ากับ
  • 17. ปั ญวา ก็จะทาใว้เกิดความเครี ยดได้เช่นกัน ซึ่ งได้แก่ 1. ความคับข้องใจ (frustration) วมายถึง สถานการณ์ที่บุคคลไม่สามารถปฏิบติสิ่งวนึ่ง ั สิ่ งใดใว้สาเร็ จตามความมุ่งวมายที่วางไว้ 2. ความกลัวอันตราย (treat) วมายถึง การที่คนรู ้วาจะมีอนตรายรออยู่ ภัยนี้จะเกิดความ ่ ั ต้องการทางร่ างกายและแรงจูงใจที่พึงปรารถนา เช่น ความเจ็บปวด ความสู ญเสี ย ความนับถออจาก ผูออ่นรออยูเ่ บอ้องวลัง อันตรายที่จะเกิดขึ้นนั้นยิงมีสูงเพียงใด ความกลัวเกรงก็ยงมากขึ้นเท่านั้น ้ ่ ิ่ 3. ความขัดแย้งในใจ (conflict) วมายถึง การที่คนต้องตัดสิ นใจเลออกสิ่ งใดสิ่ งวนึ่งซึ่ ง ุ่ ทาใว้เขาเผชิ ญกับสภาพการณ์ที่ยงยากซับซ้อนในการตัดสิ นใจว่าจะเลออกสิ่ งใดสิ่ งวนึ่ งก่อใว้เกิด ความรู้สึกขัดแย้งในใจได้ 4. ความวิตกกังวล (anxiety) วมายถึง ปฏิกิริยาที่ตอบโต้สภาวการณ์บางอย่างที่ทาใว้ คนตกอยูในภาวะที่อึดอัดกังวลใจ ความวิกตกังวลเป็ นปฏิกิริยาของคนปกติโดยทัว ๆ ไป ถ้ามีและไม่ ่ ่ รุ นแรงแต่ถามีมากเกินไปย่อมเป็ นปั ญวา ้ กรมสุ ขภาพจิต (2540, วน้า 3) ได้แบ่งสาเวตุของการเกิดความเครี ยดออกเป็ น 3 ประการ คออ 1. สาเวตุทางด้านจิตใจ ได้แก่ ความกลัวว่าจะไม่ได้ดงววัง กลัวจะไม่สาเร็ จ วนักใจใน ั งานที่ได้รับมอบวมาย รู ้สึกว่าตัวเองต้องทาสิ่ งที่ยากเกินความสามารถ มีความวิตกกังวลล่วงวน้ากับ สิ่ งที่ยงไม่เกิดขึ้น เป็ นต้น ั 2. สาเวตุจากการเปลี่ยนแปลงในชีวต ได้แก่ การเปลี่ยนวัย การแต่งงาน การตั้งครรภ์ การ ิ เริ่ มเข้าทางาน การเปลี่ยนงาน การเกษียณอายุ เป็ นต้น 3. สาเวตุจากการเจ็บป่ วยทางกาย ได้แก่ การเจ็บไข้ไม่สบายที่รุนแรง ตลอดไปจนถึงการ เจ็บป่ วยด้วยโรคที่รุนแรงและเรอ้ อรัง เช่น เบาววาน มะเร็ ง ความดันโลวิตสู ง เป็ นต้น
  • 18. บทที่ 3 วิธีดาเนินการทาวิจัย วิธีการศึกษา การศึกษาวิจยครั้งนี้ ดาเนิ นการศึกษาแบบการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม (questionnaire) ั เพอ่อศึกษาวามเครี ยดและการเผชิญปั ญวาในการเรี ยน ผูวจยได้กาวนดวิธีศึกษาวิจยในเรอ่ องต่าง ๆ ้ิั ั เพอ่อใว้การวิจยครั้งนี้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาวนดไว้ และมีเกณฑ์มาตรฐานการวิจยทัวไป ั ั ่ สถานทีและจุดศึกษา ่ โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ระยะเวลาดาเนินการ การศึกษาด้วยตนเอง เรอ่ องความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม เป็ นการศึกษาเชิงประยุกต์โดยทาการศึกษาแบบสารวจและใช้แบบสอบถามเป็ นเครอ่ องมออในการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา (1.) ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คออ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา ซึ่งมีจานวน 30 คน เพศชาย 15 คน เพศวญิง 15 คน
  • 19. (2.) เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย ่ เครอ่ องมออที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ เป็ นแบบสอบถามที่ผวจยสร้างขึ้นจากการค้นคว้าเอกสารงานวิจยที่ ั ู้ ิ ั ั เกี่ยวข้องและแบบวัดความเครี ยด ส่ วนที่ 1 ข้อมูลส่ วนบุคคล เป็ นคาถามประเภทเลออกคาตอบ - อายุ - เพศ - สายการเรี ยน - การเลออกศึกษาต่อ - เป้ าวมายของชีวิต - ความเพียงพอของการเงิน - เกรดเฉลี่ย - เวลาการอ่านวนังสอ อ - ความตั้งใจ - ความมุ่งมัน่ - ความสัมพันธ์ของครอบครัว ส่ วนที่ 2 แบบวัดความเครี ยดที่ประยุกต์มาใช้โดยการใว้คะแนนแบบวัดความเครี ยดชองคาถามแต่ละข้อจะ มีคาตอบใว้เลออก 4 ระดับ การใว้คะแนนตามระดับของความเครี ยด แบ่งตามเกณฑ์ของแบบวัดความเครี ยด ดังนี้ คะแนน 0-23 มีระดับความเครี ยดน้อย คะแนน 24-41 มีระดับความเครี ยดปานกลาง คะแนน 42-61 มีระดับความเครี ยดสู ง คะแนน 62 ขึ้นไป มีระดับความเครี ยดรุ นแรง
  • 20. เมอ่อรวมคะแนนแล้วนามาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ปกติที่กาวนด ดังนี้ - ช่วงคะแนน 0-23 มีระดับความเครี ยดน้อยคออ ความเครี ยดขนาดน้อยๆ และวายไปเวลาอันสั้น เป็ น ความเครี ยดที่เกิดในชีวิตประจาวัน - คะแนน 24-41 มีระดับความเครี ยดปานกลางคออ ความเครี ยดที่เกิดขึ้นในชี วต ิ ประจาวันเนอ่ องจากสิ่ งที่คุกคามวรอ อพบเวตุการณ์สาคัญๆในสังคม - คะแนน 42-61 มีระดับความเครี ยดสู งคออ เป็ นระดับที่บุคคลได้รับเวตุการณ์ที่ก่อใว้เกิด ความเครี ยดสู งไม่สามารถปรับตัวใว้ลดความเครี ยดลงได้ในเวลาอันสั้น - คะแนน 62 ขึ้นไป มีระดับความเครี ยดรุ นแรงคออ เป็ นความเครี ยดระดับสู งที่ติดต่อกันมาอย่าง ต่อเนอ่องจนทาใว้บุคคลเกิดความเบอ่อวน่าย ท้อแท้ วมดแรง ควบคุมตัวเองไม่ได้ ส่ วนที่ 3 คาถามเกี่ยวกับลักษณะความเครี ยดและสาเวตุของแต่ละบุคคลเป็ นข้อคาถามเกี่ยวกับปั จจัยด้าน สิ่ งแวดล้อม เป็ นคาถามประเภทเลออกคาตอบ ได้แก่ - ปัญวาแลสาเวตุที่ทาใว้เครี ยด - การมองปั ญวาที่เกิดขึ้น - วิธีการปรับตัวของท่านเมอ่อมีปัญวาด้านความเครี ยด สถิติทใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ี่ การวิเคราะห์ ข้อมูลผู้ศึกษาแบ่ งการวิเคราะห์ ออกเป็ น 2 ส่ วน ดังนี้ ส่ วนที่ 1. แบบสอบถามในส่ วนของข้อมูลทัวไปของกลุ่มประชากร 208 นาย ใช้สถิติเชิง ่ พรรณนา คออ ความถี่ (Frequenc) อัตราร้อยละ (Percentage) แล้วนาเสนอข้อมูลในรู ปของตาราง และข้อมูล ที่เก็บรวบรวมได้นามาประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ป ใช้สูตรดังนี้ ค่าร้อยละ (%) = n x 100 N n = จานวนผูตอบแบบสอบถาม ้ N = จานวนกลุ่มประชากรทั้งวมด
  • 21. บทที่ 4 ผลการทดลอง ลาดับการแสดงผลการวิเคราะห์ ข้อมูล การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรอ่ อง ความเครี ยดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 แต่ละแผนการเรี ยน โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม อาเภอเมออง จังววัดพะเยา ผูศึกษาได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ้ และได้ดาเนินการวิเคราะว์ขอมูลจากแบบสอบถามที่ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ จานวนรวมทั้งสิ้ น 30 ้ ฉบับ คิดเป็ นร้อยละ 100 ซึ่งได้รับกลับคอนมาและจัดลาดับในการนาเสนอผลการวิเคราะว์ขอมูล โดย ้ แบ่งเป็ น 2 ส่ วน ตามวัตถุประสงค์ในการนาเสนอ ดังต่อไปนี้ ส่ วนที่ 1 ข้อมูลส่ วนบุคคล เป็ นคาถามประเภทเลออกคาตอบ ส่ วนที่ 2 แบบวัดความเครี ยดที่ประยุกต์มาใช้โดยการใว้คะแนนแบบวัดความเครี ยดชองคาถามแต่ ละข้อจะมีคาตอบใว้เลออก 4 ระดับ การใว้คะแนนตามระดับของความเครี ยด แบ่งตามเกณฑ์ของแบบวัด ความเครี ยด ส่ วนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลพืนฐานทัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ้ ่ ในการศึกษา เรอ่ อง ปัจจัยจูงใจในการปฏิบติงานของบุคลากรสถานีตารวจภูธรเมอองพะเยา ั อาเภอเมออง จังววัดพะเยา ครั้งนี้ ผูศึกษาได้ดาเนินการสอบถามกลุ่มประชากรในสถานีตารวจภูธรเมออง ้ พะเยา ประกอบด้วย เพศ อายุ ตาแวน่งงาน ระยะเวลาการทางาน(อายุราชการ) ยศ ระดับการศึกษา และ สถานภาพ ซึ่ งสามารถแสดงตามตารางดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้ อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ เพศ จานวน ร้ อยละ ชาย 25 83.3 วญิง 5 16.6 รวม 30 100.00 จากตารางที่ 1 พบว่า กลุ่มประชากรส่ วนใวญ่ เพศวญิง คิดเป็ นร้อยละ 83.3 และ เพศชาย คิดเป็ นร้อยละ 16.6 ตามลาดับ
  • 22. ตารางที่ 2 แสดงจานวนและร้ อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกสายการเรียน สายการเรียน จานวน ร้ อยละ วิทย์ – คณิ ต 20 66.6 คณิ ต – อังกฤษ 5 16.6 สังคม 2 6.6 จีน 1 3 ญี่ปุ่น 2 6.6 ฝรั่งเศส 0 0 รวม 30 100.00 จากตารางที่ 2 พบว่า กลุ่มประชากรส่ วนใวญ่สายการเรี ยนวิทย์ – คณิ ต คิดเป็ นร้อยละ66.6 รองลงมา คออ สายการเรี ยนคณิต – อังกฤษ คิดเป็ นร้อยละ 16.6 สายการเรี ยนสังคม คิดเป็ นร้อยละ 6.6 สายการ เรี ยนญี่ปุ่น คิดเป็ นร้อยล่ะ 6.6 อายุ สายการเรี ยนจีน คิดเป็ นร้อยละ 3 และสายการเรี ยนฝรั่งเศส คิดเป็ นร้อยละ 0 ตามลาดับ ตารางที่ 3 แสดงจานวนและร้ อยละของผู้ตอบแบบสอบถามเรื่องการเงินในครอบครัว ระดับความเครียด จานวน ร้ อยละ มาก 2 6.6 ปานกลาง 20 83.3 น้อย 3 1 รวม 30 100.00 จากตารางที่ 3 พบว่า กลุ่มประชากรส่ วนใวญ่มีปัญวาทางด้านการเงินมาก คิดเป็ นร้อยล่ะ 6.6 ปั ญวาทางด้านการเงินปานกลาง คิดเป็ นร้อยล่ะ 83.3 ปั ญวาทางด้านการเงินน้อย คิดเป็ นร้อยล่ะ 1
  • 23. ตารางที่ 4 แสดงจานวนและร้ อยละของผู้ตอบแบบสอบถามเวลาในการอ่านหนังสื อ เวลา จานวน ร้ อยละ มาก 0 0 ปานกลาง 22 73.3 น้อย 8 26.6 รวม 30 100.00 ่ จากตารางที่ 4 พบว่า กลุมประชากรส่ วนใวญ่มีเวลาในการอ่านวนังสอ อมาก คิดเป็ นร้อยล่ะ 0 ปั ญวามีเวลาในการอ่านวนังสอ อปานกลาง คิดเป็ นร้อยล่ะ 73.3 มีเวลาในการอ่านวนังสอ อ น้อย คิดเป็ นร้อยล่ะ 26.6
  • 24. ส่ วนที่ 2 แบบวัดความเครี ยดที่ประยุกต์มาใช้โดยการใว้คะแนนแบบวัดความเครี ยดชองคาถามแต่ ละข้อจะมีคาตอบใว้เลออก 4 ระดับ การใว้คะแนนตามระดับของความเครี ยด แบ่งตามเกณฑ์ของแบบวัด ความเครี ยด ตารางที่ 1 ค่ าสถิติแบบวัดระคับความเครียด ระดับความเครี ยด มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย รายการ SD SD x ˉ n x ˉ n x ˉ SD n x ˉ SD n 1.ปัญวาด้านการเงินในครอบครัว 0 0 0 6.6 1.08 2 50 10 15 43.3 13 2.การเลออกศึกษาต่อในคณะต่างๆ 53.3 11.04 16 13.3 3.68 4 26.6 5.21 8 6.6 2.43 2 3.กลัวสอบไม่ติดในคณะที่ตองการ ้ 83.3 13.09 25 13.3 3.68 4 3.3 0.96 1 0 0 0 4.กลัวสอบไม่ติดในมวาวิทยาลัยที่ตองการ ้ 73.3 11.88 22 23.3 5.63 7 3.3 0.96 1 0 0 0 5.ระยะเวลาในการอ่านวนังสอ อ 63.3 9.95 19 20 5 6 13.3 3.68 4 3.3 0.96 1 6.ติดเพอ่อนและอยากเรี ยนที่เดียวกันกับ 66.6 10.08 20 26.6 5.21 8 3.3 0.96 1 3.3 0.96 1 เพอ่อน 7.กลัวเลออกคณะที่ไม่ตรงความสามารถ 60 9.88 18 30 7 9 10 5 3 0 0 0 8.เกรดเฉลี่ยของตนเองในแต่ล่ะเทอม 76.6 12.01 23 16.6 3.50 5 6.6 1.08 2 0 0 0 9.ครอบครัวกดดัน 16.6 3.88 5 23.3 5.63 7 13.3 3.68 4 13.3 1.04 14 10.วาเป้ าวมายชีวตของตนเองยังไม่ได้ ิ 36.6 8.55 11 30 7 9 13.3 3.68 4 20 5.01 6 รวม 52.96 10.55 159 20.3 5.33 52 15.63 3.68 43 8.98 2.01 37
  • 25. บทที่ 5 สรุ ปผล อภิปราย และข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการทดลอง นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 นั้นมีความเครี ยดมากในเรอ่ อง การเลออกที่จะศึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษาวรอ อในระดับมวาวิทยาลัยเพราะในการที่จะเข้าศึกษาต่อนั้น จะต้องการ การสอบวัดความรุ ้ ว่ามีมากวรอ อน้อยแค่ไวน ถึงจะเข้าในมวาวิทยาลัยที่ตองการได้ และ ในสาขา วรอ อ คณะที่ตองการได้ ซึ่ง ้ ้ การวัดผลนั้นมีความยากมาก จึงทาใว้นกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 นั้นมีความเครี ยดที่มากไปด้วย เพราะ ั กลัวว่าจะสอบไม่ติดในสิ่ งที่ตนเองต้องการ อภิปรายการทดลอง จากการทดลอง โดยใช้นกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม จานวน 30 คน ในการ ั ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับสาเวตุความของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 พบว่า จากการสารวจและรวบรวมข้อมูล พบว่านักเรี ยนมีความเครี ยดมากที่สุด คิดเป็ นร้อยล่ะ52.96 มี ความเครี ยดมาก คิดเป็ นร้อยล่ะ 20.3 มีความเครี ยดปานกลาง คิดเป็ นร้อยล่ะ 15.63 และมีความเครี ยดน้อย คิดเป็ นร้อยล่ะ 8.98 ตามลาดับ ข้ อเสนอแนะ 1. ควรมีการเก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้ าวมายมากกว่านี้ 2. ควรมีการจัดกิจกรรมเพอ่อคลาดเครี ยดแก่นกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ั