SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  177
Télécharger pour lire hors ligne
ชนิดา ปโชติการ
Nutritional Management in DM
HTN and Diabetes Nephropathy
ผศ ดร. ชนิดา ปโชติการ,PhD.,LD,MPH,CDT
สมาคมผูใหความรูโรคเบาหวาน
สมาคมนักกําหนดอาหารแหงประเทศไทย
ชนิดา ปโชติการ
ก. ข.
ค. ง. เกลือแกง
ชนิดา ปโชติการ
ก. ข.
ค. ง.
ขนมปงขาว
ชนิดา ปโชติการ
ก. ข.
ค. ง.
นํ้าตาลที่ไม่เหมือนใคร?
ชนิดา ปโชติการ
ก. ข.
ค. ง.
เงาะ 4 ผลฝรั่ง 1 ลูก
แกวมังกร 1 ผล กลวยหอม 1 ลูก
ข้อใดที่รับประทานแล้วให้ปริมาณสารอาหารที่ต่างกัน
ชนิดา ปโชติการ
ก. ข.
ค. ง.
นํ้ามันรําข ้าวนํ้ามันปาล์ม
นํ้ามันถั่วเหลือง นํ้ามันดอกทานตะวันนํ้ามันที่ไม่เหมือนใคร
ชนิดา ปโชติการ
บุคคลากรที่เกี่ยวข้องในการดูแล
ผู้ที่เป็ นโรคไตเรื้อรัง
ผู้ป่ วย
แพทย
พยาบาล
เภสัชกร
นักกําหนดอาหาร/
นักโภชนาการ/
โภชนากร
ที่มา: Jutamas Onnom
อสม
เจาหนาที่
สธ
นักกิจกรรม/
นักกายภาพ
ชนิดา ปโชติการ
องคความรูที่ควรมี
• •ความรูพื้นฐานดานโภชนาการ / โภชน
บําบัด
• •ความรูพื้นฐานดานของโรค NCD
• •ทักษะและเทคนิคในการใหคําปรึกษา
ชนิดา ปโชติการ
ลักษณะของทีมที่ประสบความสําเร็จในการ
ดูแลผู้ป่ วยด้านโภชนาการ
• ผู้ป่ วยเป็ นจุดศุนย์กลาง
• ตระหนักความสําคัญของการให้โภชนบําบัด
• มีความรู้และทักษะในการให้คําปรึกษาด้าน
โภชนาการ
• มีการติดตามและประเมินภาวะโภชนาการอย่าง
สมํ่าเสมอ
• มีทักษะในการสื่อสาร
• มีการทํางานแบบสหสาขาวิชาชีพซึ่งตระหนักถึง
บทบาทซึ่งกันและกันในการดุแลผู้ป่ วยในด้านอาหาร
และโภชนาการ
ชนิดา ปโชติการ
ตัวชี้วัด เป้ าหมาย
1. นํ้าตาลในเลือด (มก./
ดล.)
- อดอาหาร 8 ชม
2.ไขมันในเลือด (มก./
ดล.)
- คอเลสเตอรอล
(CHOL)
- แอลดีแอล (LDL)
- เอชดีแอล (HDL)
- ไตรกลีเซอไรด์ (TG)
80 - 100
น้อยกว่า 200
น้อยกว่า 130
มากกว่า 40
น้อยกว่า 150
120/80
18.5 - 22.9
เป้าหมายผลการตรวจเลือด
ชนิดา ปโชติการ
WHO ได ้แนะนําการบริโภคเพื่อลดปัญหา โรคหลอดเลือด
โรคมะเร็ง โรคอ ้วน และโรคเบาหวาน
ข ้อแนะนําคือ -- โปรตีนร ้อยละ 10-15 ของพลังงาน
=(8-12 ชต /วัน)
- ผักและผลไม ้วันละ 400 กรัมขึ้นไป
=(ผัก 4 ทัพพี ผลไม ้ 2 จานเล็ก)
- เกลือ ไม่เกินวันละ 5 กรัม (2400 มก)
= 4 ชช นํ้าปลา
-ออกกําลังกายโดยการเดินหรือกิจกรรม
= วันละ 1 ชั่วโมง
http://ftp.fao.org/es/esn/nutririon/diet_prevention_disease.pdf
อาหารสุขภาพ
ชนิดา ปโชติการ
WHO ได ้แนะนําการบริโภคเพื่อลดปัญหา โรคหลอดเลือด
โรคมะเร็ง โรคอ ้วน และโรคเบาหวาน
ข ้อแนะนําคือ
- จํากัดการบริโภคไขมันไม่เกินร ้อยละ 15-30 ของ
พลังงาน =(6-8 ชช)
- ไขมันอิ่มตัวน้อยกว่าร ้อยละ 10 (กินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน)
- คาร์โบไฮเดรตร ้อยละ 55-70 ของพลังงานทั้งวัน
=(2-3ทัพพีต่อมื้อ)
-การบริโภคนํ้าตาลไม่เกินร ้อยละ 10 ของคาร์โบไฮเดรต
= (6ชช)
http://ftp.fao.org/es/esn/nutririon/diet_prevention_disease.pdf
อาหารสุขภาพ
ชนิดา ปโชติการ
Prevention of
diet deficiency
disease
การขาดสารอาหาร
โรคเรื้อรัง
ความไมสมดุลจากการกิน
ชนิดา ปโชติการ
• กินให้ครบทั้ง 5 หมู่ให้สมดุลเหมาะสมตามวัยให้ได้
ปริมาณพลังงานและสารอาหารตามความต้องการของ
ร่างกาย
• อาหารที่บริโภคต้องสะอาด หรือสารต้องห้ามหรือ
สารเคมีเป็ นอันตรายต่างๆ
- ถ้าน้อยเกินไป โรคขาดสารอาหาร (diet deficiency
disease)
- ถ้ามากเกินไป โรคอ้วน โรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ เช่น
โรคหัวใจขาดเลือด (coronary vascular disease,
CVD) ,โรคเบาหวาน (diabetes) ภาวะหลอดเลือดแดง
แข็งตัว(Atherosclerosis) , โรคมะเร็ง (cancer) ,โรค
ตับ (liver disease)
การบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
ชนิดา ปโชติการ
ไขมันใน
เลือดสูง
ความอ้วน
โรคหัวใจ
ความดัน
โลหิตสูง
เบาหวาน
เมตาบอลิก ซินโดรม
ชนิดา ปโชติการ
เกณฑ์ของ NCEP ATPIII ในการ
วินิจฉัย metabolic syndrome จะต้อง
มีความผิดปกติอย่างน้อย 3 ข้อใน 5
ข้อต่อไปนี้
1. อ ้วนลงพุง เส ้นรอบเอวมากกว่า 90 ซม.
หรือ 36 นิ้ว ในผู้ชาย หรือ มากกว่า 80
ซม. หรือ มากกว่า 32 ในเพศหญิง
2. ระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด มากกว่า
หรือเท่ากับ 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ชนิดา ปโชติการ
3. ระดับ HDL cholesterol น้อยกว่า
หรือเท่ากับ 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ในผู้ชาย และ น้อยกว่าหรือเท่ากับ
50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรในผู้หญิง
4. ความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ
130/85 มิลลิเมตรปรอทหรือกินยา
ลดความดันอยู่
5. ระดับนํ้าตาลขณะอดอาหาร มากกว่า
หรือเท่ากับ 100 มิลลิกรัมต่อ
เดซิลิตร
ชนิดา ปโชติการ
ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง 3 ข ้อจะมีอัตราการ
เกิดโรคหัวใจเพิ่มขึ้น 2 เท่า
ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง 4 ข ้อจะมีอัตราเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองเพิ่ม 3
เท่า และเกิดโรคเบาหวานเพิ่ม 24 เท่า
ชนิดา ปโชติการ
การควบคุมระดับน้ําตาล
• เปาหมายที่ตองการคือกินใหระดับน้ําตาลขึ้นชาๆ
และไมขึ้นสูง อาหารที่สงผลตอการควบคุมระดับ
น้ําตาลมีดังนี้
– ปริมาณ น้ําตาล ขาว แปง
– ปริมาณใยอาหารที่กิน
– ปริมาณไขมันจากสัตวที่กิน
– ความบอยครั้งในการกิน
ชนิดา ปโชติการ
การควบคุมระดับน้ําตาล
กินน้ําตาล ขาว แปงมาก น้ําตาลในเลือด
กินใยอาหารมาก น้ําตาลในเลือด
กินไขมันจากสัตวมาก น้ําตาลในเลือด
ชนิดา ปโชติการ
จากอาหารสูน้ําตาลในคนปกติ
นํ้าตาล
ในเลือด เนื้อเยื่อเอา
นํ้าตาลไปใช้
ได้พลังงาน
ทําให้ร่างกาย
ทํางานได้ตามปกติ
อินซูลิน
ที่มา ศัลยา คงสมบูรณเวช
กิน
นํ้าตาล
ข้าว แป้ ง
ชนิดา ปโชติการ
จากอาหารสูน้ําตาลในคนเบาหวาน
นํ้าตาล
ในเลือด เนื้อเยื่อเอา
นํ้าตาลไปใช้
ไม่ได้
นํ้าตาลใน
เลือดสูง
อินซูลิน
ที่มา ศัลยา คงสมบูรณเวช
กิน
นํ้าตาล
ข้าว แป้ ง
ชนิดา ปโชติการ
เวลาทีใชในการเปลียนไปเปนนําตาลของ
อาหารชนิดตางๆ
ชนิดอาหาร %ที่เปลี่ยนไป เวลาที่ใชในการ
เปลี่ยนเปนน้ําตาล
น้ําตาล 100% 15 – 30นาที
ขาว แปง ผลไม 90-100% 30 - 90 นาที
เนื้อสัตว นม ไข 58% 3 - 4 ชั่วโมง
ไขมัน 10-30% หลายชั่วโมง
ชนิดา ปโชติการ
เป้ าหมายในการควบคุมเบาหวาน
การตรวจ ดี ต้องปรับปรุง
นํ้าตาลในเลือดขณะอดอาหาร(มก./ดล.) 80-120 >140
นํ้าตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชม(มก./ดล.) 80-160 >180
น้ําตาลเฉลี่ยสะสมHbA1c (%)
<7 >8
โคเลสเตอรอลรวม (มก./ดล.) <200 >250
LDL- โคเลสเตอรอล(มก./ดล.)-ตัวไม่ดี <100 >130
HDL- โคเลสเตอรอล (มก./ดล.)-ตัวดี >45 <35
ไตรกลีเซอไรด(มก./ดล.) <200 >400
ดัชนีมวลกาย (กก./ตารางเมตร) 20-25 >27
ความดันเลือด (มม.ปรอท) ≤130/85 >160/90
ชนิดา ปโชติการ
เป้ าหมายในการคุมนํ้าตาลในGDM
ชนิดา ปโชติการ
A1C ~ “นํ้าตาลเฉลี่ยสะสม”
American Diabetes Association
A1C eAG
% mg/dL mmol/L
6 126 7.0
6.5 140 7.8
7 154 8.6
7.5 169 9.4
8 183 10.1
8.5 197 10.9
9 212 11.8
9.5 226 12.6
10 240 13.4
Formula: 28.7 x A1C - 46.7 - eAG
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณคาร์โบไฮเดรตในระดับแคลอรีต่างๆ
พลังงาน คาร์โบไฮเดรต (กรัม) คาร์โบ (Choice/carb)
(แคลอรี)
1200 150 10
1500 190 12 1/2
1800 225 15
2000 250 16 1/2
2200 285 18 1/2
2400 300 20
ที่มา: ศัลยา คงสมบูรณเวช
ชนิดา ปโชติการ
ไม่ควรกินนํ้าตาลเกิน
(10%พลังงาน/วัน)
1 ช ้อนชา = ข ้อนิ้วหัวแม่มือ
กินนํ้ามันชนิดดีไม่เกิน 9 ช ้อนชาหรือ 3 ช ้อนโต๊ะต่อวัน
กินนํ้าตาลไม่เกิน 6 ช ้อนชาหรือ 2 ช ้อนโต๊ะต่อวัน
ที่มา: ศัลยา คงสมบูรณเวช
ชนิดา ปโชติการ
น้ําตาลที่พบในอาหาร
• น้ําตาลในผักผลไม
• นํ้าตาลทราย
• นํ้าตาลมะพร้าว
• นํ้าตาลในนม
ชนิดา ปโชติการ
นํ้าตาลจากเครื่องดื่ม
ที่มา: ฝายโภชนาการ ร.พ.พระมงกุฎ
นํ้าตาล 1 ช้อนชาให้พลังงาน = 20 แคลอรี
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณนํ้าตาลในอาหารและเครื่องดื่ม
ผลิตภัณฑ์ ปริมาณนํ้าตาล
(ช้อนชา)
นมเปรี้ยว (รสผลไม้รวม) 27 กรัม 2 ½
นมเปรี้ยว(รสธรรมดา) 120 ซีซี 3
นมเปรี้ยว(รสสตอเบอร์รี) 120 ซีซี 3
คอฟฟีพลัส 1 ซอง 20 กรัม 3
กาแฟ 3 in one (26 กรัม) 3
กองโภชนาการ กรมอนามัยและ สถาบันโภชนาการ ม มหิดล
ชนิดา ปโชติการ
ผลิตภัณฑ์ ปริมาณนํ้าตาล (ช้อนชา)
นํ้าขิง 1 ซอง (18 กรัม ) 3 ½
เครื่องดื่มชูกําลัง 100 ซีซี 3 ½
กาแฟ 1 กระป๋ อง 180 กรัม 3 ½
นมถั่วเหลือง250 ซีซี 3 ½
โยเกิร์ตผสมวุ้นมะพร้าว 150 กรัม 4
นมปรุงแต่งรสช็อคโกแลต 200 ซีซี 4
นํ้าผลไม้ (รสส้ม) 240 ซีซี 4 ½
โยเกิร์ตผสมธัญญาพืช 150 กรัม 4 ½
ปริมาณนํ้าตาลในอาหารและเครื่องดื่ม
ชนิดา ปโชติการ
ผลิตภัณฑ์ ปริมาณนํ้าตาล
(ช้อนชา)
นํ้าส้ม 25% ผสมวุ้นมะพร้าว 400 ซีซี 7
นํ้าส้ม 1 กระป๋ อง 325 ซีซี 7 ½
นํ้าอัดลม 1 กระป๋ อง325 ซีซี 8
ชาเขียว 500 ซีซี 12
ปริมาณนํ้าตาลในอาหารและเครื่องดื่ม
กองโภชนาการ กรมอนามัยและ สถาบันโภชนาการ ม มหิดล
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณนํ้าตาลในขนม
ชื่อขนม ปริมาณนํ้าตาล
(กรัม) (ช้อนชา)
ขนมเปียกปูน 1 ชิ้น 10 2 1/2
ข้าวต้มมัดไส้กล้วย 1 ชิ้น 11 2 3/4
ข้าวเหนียวสังขยา 1 ห่อ 19 4 3/4
ข้าวเหนียวหน้าปลาแห้ง 1 ห่อ 22 5 1/2
ขนมทอดหยอด 1 ลูก 5 1 1/4
ขนมเม็ดขนุน 1 เม็ด 3 3/4
ขนมฝอยทอง 1 แพ 13 3 1/4
กองโภชนาการ กรมอนามัยและ สถาบันโภชนาการ ม มหิดล
ชนิดา ปโชติการ
ควรเลือกรับประทานขนมชนิดใดบ้างเลือกมา 3 ชนิด
1. ลูกชุบ
2. กล ้วยไข่เชื่อม
3. ข ้าวต ้มมัด
4. ฟักทองนึ่ง
5. ถั่วเขียวต ้มนํ้าตาล
6. ฝอยทอง
7. ทองหยิบ
ชนิดา ปโชติการ
ควรเลือกรับประทานขนมชนิดใดบ้างเลือกมา 3 ชนิด
1. ลูกชุบ
4. ฟักทองนึ่ง
5. ถั่วเขียวต ้มนํ้าตาล
  
ชนิดา ปโชติการ
ADI
(mg/
kg
body
wt)
นํ้าอัดลม 1
กระป๋ อง
(mg)
จํานวน
นํ้าอัดลมที่
ดื่มแล ้วเกิด
อันตราย
(ADI for
60-kg
person)
จํานวน
นํ้าตาล
เทียมที่กิน
แล ้วเป็น
อันตราย
(mg)
จํานวน
นํ้าตาล
เทียมที่กิน
แล ้วเป็น
อันตรายเป็น
ซอง ADI
for 60-kg
Acesulfame K 15 40 25 50 18
Aspartame 50 200 15 35 86
Saccharin 5 140 2 40 7.5
Sucralose 5 70 4.5 5 60
นํ้าตาลเทียม
ชนิดา ปโชติการ
ควรจะกินอยางไร?
•ควรเลือกกินขาว แปงที่มีใยอาหารสูง
ซึ่งก็คืออาหารประเภท ธัญพืชที่ไมได
ขัดสีตางๆ เลือกขาวซอมมือแทนขาว
ขัดขาว
ชนิดา ปโชติการ
ผัก 3 ทัพพี+ ผลไม้ = 15-20 ชิ้นคํา
ข้าวกล้อง + ถั่ว = 7 ทัพพี
ปริมาณใยอาหารที่ควรกิน
ชนิดา ปโชติการ
กินผลไม 1 จานเล็ก = 8-10 ชิ้นคํา
•เลือกผลไมสีสม /เหลือง วันละครั้ง
•เลือกผลไมที่มีรสเปรี้ยว(มีวิตามินซีสูง)
•เลือกตามฤดูกาล
ชนิดา ปโชติการ
กินผลไมจานเล็กตอมื้อ
7-8 ชิ้นคํา 7-8 ชิ้นคํา 1/2 ลูก
3-4 ลูก 3-4ลูก 3-4 ลูก
1 จานเล็ก =
ชนิดา ปโชติการ
Choosing of fruits and vegetables with various color
and varieties help to ensure we are getting a variety of
phytochemicals
เน้นผักผลไม้ 5 สี
ชนิดา ปโชติการ
ดัชนีนํ้าตาล (glycemic index)
เป็ นตัวเลขบอกปริมาณนํ้าตาลในเลือดที่
เพิ่มขึ้นหลังการรับประทานอาหารแต่ละชนิด
เทียบกับการรับประทานนํ้าตาลกลูโคสใน
จํานวนคาร์โบไฮเดรตที่เท่ากัน นํ้าตาล
กลูโคสมีดัชนีนํ้าตาลเท่ากับ 100%
ชนิดา ปโชติการ
ดัชนีนํ้าตาล
• ดัชนีนํ้าตาลตํ่า = 0-55
• ดัชนีนํ้าตาลปานกลาง = 56-69
• ดัชนีนํ้าตาลตํ่า = 70-100
ชนิดา ปโชติการ
ดัชนีนํ้าตาลของอาหารไทยบางชนิด
ชนิดอาหาร ดัชนีนํ้าตาล(%)
• กลูโคส 100
• ข้าวเหนียว 75
• ข้าวจ้าว 71
• ก๋วยเตี๋ยวเส้นใหญ่ 54
• ก๋วยเตี๋ยวเส้นหมี่ 53
• วุ้นเส้น (แป้ งปลอดโปรตีน) 45
ที่มาสุรัตน โคมินทร
ชนิดา ปโชติการ
ดัชนีนํ้าตาลของผัก
บร๊อคโคลี่ = 10
กระหลํ่าปลี = 10
ผักกาดแก ้ว = 10
เห็ด = 10
หัวหอม = 10
พริกหยวก = 10
ถั่วพีแห้ง = 28
แครอท = 49
ถั่วเม็ดเขียว = 48
ข้าวโพด = 60
ฟักทอง = 75
ชนิดา ปโชติการ
ค่าดัชนีนํ้าตาลในผลไม้
• มะม่วงเสวยดิบ
(28),
• ฝรั่ง (34)
• ส้มสายนํ้าผึ้ง (44)
• ลําไย (44),
• เงาะ (55),
 แตงโมกินรี (58),
 มะม่วงนํ้าดอกไม้สุก
(64),
 มะละกอ (65)
 สับปะรด (72)
ชนิดา ปโชติการ
ธงโภชนาการ
ขาว 8-12 ทัพพี
ผลไม 3-5 สวน
เนื้อสัตว 6-12 ชอนโตะ
ผัก 4-6 ทัพพี
นม 1-2 แกว
น้ํามัน นาตาลและ
เกลือ เล็กนอย
การกินเพื่อปองกัน
ชนิดา ปโชติการ
ปรามิด เบาหวาน
ผัก 4-5 ทัพพี
ขาว แปง 4-5 ทัพพี
ถั่ว 1-2
การออกกําลังกาย
และควบคุมน้ําหนัก
ผลไม 4-5 สวน
น้ํามันพืช 3-4 ชอนชา
ถั่วตางๆ 1-2ทัพพี ธัญพืช 1-2ทัพพี
น้ํา 5-6แกว
กินวันละเทาไร
เนื้อสัตว ปลา ไข 2 สวน
วิตามิน
หลีกเลี่ยงอาหารที่หวานจัดลดกินเนื้อแดงและเนย
คนไขไตตอง
ระวังผัก
และผลไมที่มี
โพแทสเซียมสูง
และอาจตอง
จํากัดเนื้อสัตว
นมพรองมันเนย 1 แกว
ชนิดา ปโชติการ
ชนิดา ปโชติการ
ชนิดา ปโชติการ
ตักข้าว = 1 ทัพพีหมอ
ชนิดา ปโชติการ
ชนิดา ปโชติการ
ชนิดา ปโชติการ
กินใหถูกตองนะคะ
ไตจะไดเสื่อมชาลง
ทําอยางไร?ที่จะชะลอการลางไต
ชนิดา ปโชติการ
ชนิดา ปโชติการ
โรคไตจากเบาหวาน
• โรคเบาหวานเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําให
เกิดโรคไตถาไมควบคุมระดับน้ําตาลใน
เลือด
• หนวยกรองของเสียในไตจะถูกทําลาย
ทําใหมีโปรตีนหลุดออกมาในปสสาวะ
ชนิดา ปโชติการ
ผูปวยที่เสี่ยงที่จะเปนโรคไต
1. เปนเบาหวานนานกวา 10 ป
2. มีประวัติครอบครัวที่เปนโรค
ไตวายจากเบาหวาน
3. ควบคุมน้ําตาลในเลือดไมดี
ชนิดา ปโชติการ
ผูปวยที่เสี่ยงที่จะเปนโรคไต
4. มีความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
5. ตรวจพบประสาทตาเสื่อมจาก
เบาหวาน
6. ตรวจพบโปรตีนในปสสาวะ
ชนิดา ปโชติการ
เบาหวานลงไต
• หนาที่ไตทํางานมากขึ้น
• ปสสาวะมีโปรตีนบางครั้ง
• ปสสาวะมีโปรตีนเล็กนอย
• ปสสาวะมีโปรตีนมาก
• ไตวายเรื้อรัง
ชนิดา ปโชติการ
0
20
40
60
80
100
120
140
160
180
0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30
อัตราการกรอง (GFR, ml/min)
เวลาที่เปนเบาหวาน (ป)
หนาที่ไตปกติ
คุมความดันโลหิต
คุมอาหารเค็ม
คุมไขมันในเลือด
คุมอาหาร
โปรตีน
ล้างไต
เปลี่ยนไต
ตรวจตา หัวใจ
หลอดเลือด
คุมนํ้าตาลใน
เลือด + ยา
ACEI
ที่มา:อุดม ไกรฤทธิชัย
ชนิดา ปโชติการ
ระยะ
ของโรค
1
2
3
4
5
ไตเรื้อรังระยะสุดทาย
เตรียมตัวฟอกเลือด
การทํางาน ของไตลดอยางมาก
เหลือต่ํากวารอยละ 30
การทํางาน ของไตลดบาง ประมาณครึ่ง
ไตผิดปกติและมีการทํางาน ลดบาง
ไตเริ่มเสื่อมแตการทํางานปกติ
อัตราการขจัดของเสีย
ที่ไต
มิลลิลิตร/นาที
> 90
60 – 89
30 – 59
15 – 29
< 15
< 10
ความชุกใน
ประชากร > 20 ปี
64%
31%
4.3%
0.2%
0.2%
ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม หรือ
ด้วยวิธีล้างไตทางช่องท้อง
ระยะต่างๆ ของโรคไตเรื้อรัง
โรคไตเรื้อรัง (0.1%)
Stage 3 – 5 CKD = 4.5% x 40 M. = 2 ลานคน
ชนิดา ปโชติการ
การแบ่งโรคไตเรื้อรังออกเป็ นระยะต่าง ๆ
ระยะ ความหมาย %การทํางานที่เหลืออยู่
1 ไตเริ่มถูกทําลายเล็กน้อย > 90
แต่การทํางานของไตยังปกติอยู่
2 ไตทํางานลดลงเล็กน้อย 60-89
3a ไตทํางานลดลงเล็กน้อยถึงปานกลาง 45-59
3b ไตทํางานลดลงเล็กน้อยถึงปานกลาง 30-44
4 ไตทํางานลดลงอย่างมาก 15-29
5 ไตเรื้อรังระยะสุดท้าย <15
(หรือต้องทําการล้างไต) NKF-K/DOQI, 2002
ชนิดา ปโชติการ
ไมอยากลางไตตองทําอยางไร
•ลดเค็ม
•ลดโปรตีน
เอกหทัย แซ่เตีย นักกําหนดอาหาร สถาบันไตภภูมิราชนครินทร์
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณโปรตีน กรัม/
นํ้าหนักตัว 1 กก/วัน
ระยะของการเป็ นโรคไตเรื้อรัง
โปรตีน 0.8-1.0 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2
โปรตีน 0.6-0.8 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3
โปรตีน 0.3-0.6 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน* ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3
โปรตีน 0.6 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5
โปรตีน 0.3-04 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน* ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5
โปรตีน 0.3-04 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน** ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5
โปรตีน 1.0-1.5 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผูปวยที่รับการบบัดทดแทนไต
ปริมาณโปรตีนที่ต้องการในผู้ป่ วยไตเรื้อรังระยะต่างๆ
ที่มา: สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย 2553
ชนิดา ปโชติการ
การแนะนําอาหารในผู้ป่ วย
โรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2
• ควรเน้นในเรื่องการ ควบคุมความดันโลหิตให ้
น้อยกว่า 130-139/80-89 มิลลิเมตรปรอท
• ควบคุมระดับนํ้าตาลสะสมในเลือดHbA1c ไม่ให ้
เกิน 7%
• โดยลดการบริโภคเค็ม(2 กรัม/วัน) จํากัด
ปริมาณแป้งและนํ้าตาลรวมทั้งไขมันชนิดอิ่มตัว
และตรวจนํ้าตาลก่อนและหลังอาหารสองชั่วโมง
อย่างสมํ่าเสมอ
ชนิดา ปโชติการ
การนับ
คาร์โบไฮเดรต
ตรวจนํ้าตาลก่อนและ
หลังอาหารสองชั่วโมง
ควบคุมนํ้าตาล
ออกกําลังกาย
ชนิดา ปโชติการ
อะไรที่ทําให้ความดันสูง ?
• เกลือแร่ ชื่อ โซเดียม
• พบใน เกลือ นํ้าปลา เบเกอรี
• อาหารแปรรูป เช่น ปลาเค็ม อาหาร
กระป๋ องไส้กรอก
• อาหารตากแห้ง
ชนิดา ปโชติการ
ในธรรมชาติ ถ ้าไม่ปรุงอะไรเลยในอาหาร
เราจะได ้โซเดียมประมาณ 800-1000
มิลลิกรัม ที่เหลือมาจากการปรุงอาหาร
โซเดียมพบได ้
เกลือ
เครื่องปรุงรส เช่น นํ้าปลา
อาหารเบเกอรี(ผงฟู)
อาหารกระป๋ อง(สารกันบูด)
จํากัดเกลือโซเดียม
2000 มก/วัน
ชนิดา ปโชติการ
การปรับพฤติกรรม วิธีการ ประโยชน์ในการลด
Systolic blood
pressure
ลดนํ้าหนัก ควบคุม BMI 18.5-24.9 kg/m2 5-20 mmHg/นน ตัวที่
ลด 10 kg
ลด Na ไม่ให้เกินวันละ 100 mmol,Na 2.4 g
( เกลือแกง 6 กรัม หรือ ประมาณ 1 ช้อนชา)
2-8 mmHg
เพิ่มผัก ผลไม้ ลด
ไขมันอิ่มดัว
กินผัก ผลไม้ และนมที่มีไขมันตํ่า, ลดไขมันรวม และ
ไขมันอิ่มตัว
8-14 mmHg
ออกกําลังกาย ออกกําลังกายแบบแอโรบิคสมํ่าเสมอ เช่น เดินเร็วๆ
อย่างน้อยวันละ 30 นาที 4 วัน/สัปดาห์
4-9 mmHg
ดื่ม alcohol
พอประมาณ
ผู้ชาย No more than 2 drinks/day
เบียร์ 720 ml, ไวน์ 300 ml วิสกี้ 90 ml/วัน
ผู้หญิงหรือผู้ที่รูปร่างเล็กให้ลดขนาดของ alcohol
ลงครึ่งหนึ่ง
2-4 mmHg
ควบคุมความดันโลหิต DASH: Dietary Approaches to Stop HT
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณโซเดียม
• เกลือ(โซเดียมคลอไรด์)
– 1 ช ้อนชา (ช.ช) 5000มก = โซเดียม 2000 มก
– เกลือ มีโซเดียม = 40%
• นํ้าปลาและซีอิ๊ว 1ช.ช= โซเดียม 400 มก
• ซอสมะเขือเทศ 1 ช.ช = โซเดียม 55 มก
• ซอสหอยนางรม 1 ช.ช = โซเดียม 140-160 มก
• นํ้าจิ้มไก่1 ช.ช = โซเดียม 67-76 มก
• บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป 60 กรัม = โซเดียม 1,500 มก.
• โจ๊กกึ่งสําเร็จรูป 42 กรัม = โซเดียม 1,000 มก.
• ***สรุปใช ้นํ้าปลาได ้ไม่เกินวันละ 3- 4 ช ้อนชา***
ชนิดา ปโชติการสถาบันวโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 71
ปริมาณโซเดียมในไข่
90 mg
440-590 mg
480 mgไข่ต้ม 1 ฟอง (50 ก)
ไข่เจียว 1 ฟอง
ไข่เค็ม 1 ฟอง (50 ก)
ชนิดา ปโชติการ72
ปลาสลิดทอด 1 ตัว = น้ําปลา 2 ชอนชา
นอกเครื่องปรุงแลวยังพบเค็มในของ
หมักดอง เบเกอรี่ ของตากแหง
ปลาสดมีโซเดียมน้อยมาก
ที่มา: ยุพา ชาญวิกรัย
ชนิดา ปโชติการ
ชนิดา ปโชติการ74
น้ําปลา 1 ชอนชาปาท่องโก๋ 3-4 คู่
เบเกอรี่ อาหารสําเร็จรูป
=
ผงฟู
ที่มา: ยุพา ชาญวิกรัย
ชนิดา ปโชติการ
ควรเลือกรับประทานขนมกรุบกรอบประเภทใด?
ก. Snack jack
ข. Conne cheese
ค. Cereal mix
ง. แครกเกอร์ Luxury กล่องเขียว
ชนิดา ปโชติการ
โซเดียม ?
โจ๊กหมู
ชนิดา ปโชติการ
ประเภท ขนาด/ปริมาณ ปริมาณโซเดียม
(มิลลิกรัม)
โจ๊กหมู 35 กรัม/ 1ซอง 1000
2 ½ ช้อนชา
ชนิดา ปโชติการ
โซเดียม ?
ปลากระป๋ อง
ชนิดา ปโชติการ
ประเภท ขนาด/ปริมาณ ปริมาณโซเดียม
(มิลลิกรัม)
ปลากระป๋ อง 155 กรัม/1 กระป๋ อง 640
1 ½ ช้อนชา
ชนิดา ปโชติการ
โซเดียม ?
บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป
ชนิดา ปโชติการ
ประเภท ขนาด/ปริมาณ ปริมาณโซเดียม
(มิลลิกรัม)
บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป 60 กรัม/1 ห่อ 1500
4 ช้อนชา
ชนิดา ปโชติการ
โซเดียม ?
มันฝรั่งทอด
ชนิดา ปโชติการ
ประเภท ขนาด/ปริมาณ ปริมาณโซเดียม
(มิลลิกรัม)
มันฝรั่งทอด 60 กรัม/ซอง 280
¾ ช้อนชา
ชนิดา ปโชติการ
โซเดียม ?
ปลาสวรรค์อบ
ชนิดา ปโชติการ
ประเภท ขนาด/ปริมาณ ปริมาณโซเดียม
(มิลลิกรัม)
ปลาสวรรค์อบ 36 กรัม/ซอง 1000
2 ½ ช้อนชา
ชนิดา ปโชติการ
โซเดียม ?
ขาไก่
ชนิดา ปโชติการ
ประเภท ขนาด/ปริมาณ ปริมาณโซเดียม
(มิลลิกรัม)
ขาไก่ 40 กรัม/ซอง 600
1 ½ ช้อนชา
ชนิดา ปโชติการ
โซเดียม ?
แอปเปิ้ลอบกรอบ
ชนิดา ปโชติการ
ประเภท ขนาด/ปริมาณ ปริมาณโซเดียม
(มิลลิกรัม)
แอปเปิ้ลอบกรอบ 150 กรัม/ซอง 0
= 0
ชนิดา ปโชติการ
การแนะนําการลดเค็ม
• เปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงรส
• ใช ้มะนาว พริก เครื่องเทศปรุงอาหารแทนเกลือหรือ
นํ้าปลา
• ถ ้าซื้ออาหารกระป๋ องต ้องอ่านสลากอาหารเพื่อดู
ปริมาณสารอาหารเลือกที่มีเกลือตํ่า
• กินอาหารสด เช่น เนื้อสัตว์ ผัก หรือผลไม ้แทนการ
รับประทานอาหารที่ผ่านขบวนการถนอมอาหาร
• ไม่เติมเกลือหรือนํ้าปลาเพิ่มในอาหารที่ปรุงเสร็จ
ชนิดา ปโชติการ
• อาหารตากแห ้ง เช่น ปลาเค็ม เนื้อเค็ม หอยเค็ม กุ้ง
แห ้ง ปลาแห ้ง
• เนื้อสัตว์ปรุงรส ได ้แก่ หมูหยอง หมูแผ่น กุนเชียง
• อาหารกึ่งสําเร็จรูป เช่น บะหมี่สําเร็จรูป โจ๊กซอง ซุป
ซอง
• อาหารสําเร็จรูป เช่น มันฝรั่งแผ่น อาหรกระป๋ อง
• เครื่องปรุงรสที่มีเกลือมากเช่น ซุปก ้อน ผงปรุงรส
ผงฟู
• อาหารหมักดองเค็ม เช่น กะปิ เต ้าหู้ยี้ ปลาร ้า ไตปลา
ไข่เค็ม ผักดอง ผลไม ้ดอง
การแนะนําการลดเค็ม
ชนิดา ปโชติการ
เติมผักในตํารับอาหาร
ชนิดา ปโชติการ
ใชเครื่องเทศตางๆ
พริก ตะไคร
กระเทียมขิงขา
กระเพรา
ชนิดา ปโชติการ
วิธีเลือกกินอาหาร:เครื่องเคียง
94
กินอาหาร
ไฟแดงคู่
กับผัก ช่วย
ควบคุม
ความดัน
กินแต่อาหาร
ไฟแดง
ความดันขึ้น
สูง
กินอาหารไฟ
เขียว ความ
ดันไม่ขึ้น
แกงกะทิ น้ําพริก
น้ําพริก ผักผัก
ผัก ผลไม
ที่มา: ปรารถนา ตปนีย
ชนิดา ปโชติการ
การอ่านฉลาก
อ่านฉลากโภชนาการ เลือกอาหารที่มีโซเดียม
น้อย นํ้าตาน้อย ควรเลือกอาหารว่างที่
โซเดียม < 100 มิลลิกรัมต่อห่อ
ที่มา: เอกหทัย แซเตีย
ชนิดา ปโชติการ
การอ่านฉลากโภชนาการ
แบบเก่า
แบบใหม่(GDA)
(ฉลากหวาน
มัน เค็ม)
ที่มา: เอกหทัย แซเตีย
ชนิดา ปโชติการ
ผู้ป่ วยเป็ นโรคไตเรื้อรัง
ระยะที่ 3 หรือมากกว่า
• ควรจํากัดปริมาณโปรตีน(0.6-0.8 กรัม/นนตัว
1 กก/วัน
• ติดตามปริมาณนํ้าและเกลือแร่โดยเฉพาะ ระดับ
โพแทสเซียม ฟอสฟอรัสในเลือด
• ระดับของพลังงานควรจะประมาณ 35 กิโล
แคลอรี่ /นํ้าหนักตัว 1 กก /วันใน ผู้ป่ วยที่อายุ
น้อยกว่า 60 ปี และ 30 กิโลแคลอรี่ ในผู้ป่ วยที่
อายุมากกว่า 60 ปี
ชนิดา ปโชติการ
เป้ าหมายในการจัดการด้านโภชนาการ
•ชะลอการเสื่อมของไต
•ลดอาการยูรีเมีย
•ลดความผิดปกติของขบวนการเมตาบอริกซึม
•รักษาสมดุลย์ของ fluid และ electrolyte
•ผู้ป่ วยอยู่อย่างมีคุณภาพชีวิต
ชนิดา ปโชติการ
จะจัดอาหารไดอยางไร?
1. ประเมินความต ้องการโปรตีนและพลังงานให ้
เหมาะกับนํ้าหนักตัวและระยะของการเป็นโรคไต
เรื้อรัง
2. วางแผนสัดส่วนอาหาร 5 หมู่ตามความต ้องการ
3. ให ้ความรู้โดยการเอื้ออํานาจให ้ผู้ป่ วย
(empowerment)
4. ติดตามและประเมิน
5. ให ้ความรู้เพิ่มเติม
ชนิดา ปโชติการ
การประเมิน:นํ้าหนักที่ควรเป็ น
 การหา น.น ที่น่าจะเป็ นอย่างง่าย.และเมื่อคนไข้บวม
ผู้ชาย = ส่วนสูง(ซม) - 100
ผู้หญิง = (ส่วนสูง(ซม) – 105
+ (3-5 ก.ก) ขึ้นกับโครงสร้าง
ตัวอย่างผู้ป่ วยเพศหญิงสูง 165ซ.ม. นํ้าหนักที่ควรเป็ น ?
นํ้าหนักที่ควรเป็ น = (165-105)
= 60 ก.ก.
ชนิดา ปโชติการ
เราหาส่วนสูงได้จากที่ไหนบ้าง?
1. จากบัตรประชาชน
2. การวัดโดยการกางแขน(arm span).
Arm span ทําการวัดจาก sternal notch จนถึงโคนนิ้วที่ยาวที่สุดของแขนขางที่ถนัด แลวคูณดวย 2Arm span ทําการวัดจาก sternal notch จนถึงโคนนิ้วที่ยาวที่สุดของแขนขางที่ถนัด แลวคูณดวย 2Arm span ทําการวัดจาก sternal notch จนถึงโคนนิ้วที่ยาวที่สุดของแขนขางที่ถนัด แลวคูณดวย 2Arm span ทําการวัดจาก sternal notch จนถึงโคนนิ้วที่ยาวที่สุดของแขนขางที่ถนัด แลวคูณดวย 2
วัดจากจุดกึ่งกลาง
ยอดกระดูกอกถึง
ปลายโคนนิ้วที่ยาว
ที่สุดข้างที่ถนัด
ชนิดา ปโชติการ
วิธีวัดส่วนสูงโดยใช้การวัด ulna
วัดได ้ 28 ซม
ชนิดา ปโชติการ
การประมาณสวนสูงโดยใช Ulna
ความยาว
Ulna (ซม.)
ประมาณความสูง(เมตร)
ผู้ชาย อายุ<
65
ผู้ชาย อายุ>
65
ผู้หญิงอายุ
< 65
ผู้หญิง
อายุ> 65
28.0 1.80 1.75 1.73 1.71
28.5 1.82 1.76 1.75 1.73
29.0 1.84 1.78 1.76 1.75
29.5 1.85 1.79 1.77 1.76
30.0 1.87 1.81 1.79 1.78
30.5 1.89 1.82 1.80 1.79
31.0 1.91 1.84 1.81 1.81
31.5 1.93 1.86 1.83 1.83
32.0 1.94 1.87 1.84 1.84
Source: Malnutrition Advisory Group. The "MUST" explanatory booklet. British Association for Parenteral and Enteral Nutrition.
http://www.bapen.org.uk/the-must.htm1
ชนิดา ปโชติการ
การหาค่า BMI อย่างง่าย
ถ ้า MAC <23.5 cm BMI จะประมาณ < 20 กก/ม 2 บงบอกภาวะการขาดสารอาหาร
ถ ้า MAC > 32 cm BMI จะประมาณ > 30 กก/ม 2 บงบอกภาวะนํ้าหนักเกิน/อ ้วน
ชนิดา ปโชติการ
1
การกําหนดโปรตีนตามGuideline ของสมาคมโรคไต
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณโปรตีน กรัม/
นํ้าหนักตัว 1 กก/วัน
ระยะของการเป็ นโรคไตเรื้อรัง
โปรตีน 0.8-1.0 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2
โปรตีน 0.6-0.8 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3
โปรตีน 0.3-0.6 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน* ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3
โปรตีน 0.6 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5
โปรตีน 0.3-04 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน* ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5
โปรตีน 0.3-04 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน** ผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5
โปรตีน 1.0-1.5 กรัม/น้ําหนักตัว 1 กก/วัน ผูปวยที่รับการบบัดทดแทนไต
ปริมาณโปรตีนที่ต้องการในผู้ป่ วยไตเรื้อรังระยะต่างๆ
ที่มา: สมาคมโรคไตแหงประเทศไทย 2553
ชนิดา ปโชติการ
พลังงานที่ต้องการ
• อายุ > 60 ปี = 30 kcal /นนตัว 1 kg/day
• อายุ < 60 ปี = 35 kcal /นนตัว 1 kg/day
• ถ ้าอ ้วน = 20-25 kcal /นนตัว 1 kg/day
• ถ ้าผอมมาก = 35-40 kcal /นนตัว 1 kg/day
NKF-K/DOQI, 2002
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับ(คนปกติ)
ตัวอย่าง
• นํ้าหนัก 60 กิโลกรัม อายุ 65 ปี
• โปรตีนที่ควรกิน = 0.8 กรัมต่อนํ้าหนัก
ตัว 1 กิโลกรัม
• ควรกินโปรตีน 0.8 x 60 = 48 กรัมต่อ
วัน
• พลังงาน =60 X 30 =1800 แคลลอรี
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับเมื่อไตเสื่อม
ระยะที่ 3
• นํ้าหนัก 70 กิโลกรัม
• โปรตีนที่ควรกิน = 0.6-0.8 กรัมต่อ
นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม
• ควรกินโปรตีน 0.6 x 60 = 36 กรัมต่อวัน
• พลังงาน =60 X 30 =1800 แคลลอรี
ชนิดา ปโชติการ
อาหารที่ผูปวยรายนี้ควรไดรับ
• โปรตีน 36-40 กรัมต่อวัน
1800 แคลลอรี 2 กรัม
sodium
• แปลเป็ นอาหารโรคไตเรื้อรังได้
อย่างไร?
ชนิดา ปโชติการ
หมู่อาหาร
(โปรตีน)
แบบแผนการบริโภค
ปริมาณโปรตีน (กรัม/วัน)
โปรตีน/
หน่วย
พลังงาน
เฉลี่ย
(แคลอรี)
20 30 35 40 50 60
เนื้อสัตว์
(1 ชต)
3.5 70 3 5 6 8 10 12
แป้ ง
(1 ทัพพี)
2.0 70 3 4 ½ 5 4 5 6
แป้ งปลอด
( 1ทัพพี)
- 70 2 2 2 3 1 1
ผัก(1ทัพพี) 1.0 25 3 3 3 3 4 5
ผลไม้
(1 จานเล็ก)
0.5 70 2 2 2 2 2 2
นํ้าตาล
(1 ชช)
- 20 6 6 6 6 6 6
นํ้ามัน
(1 ชช)
- 45 8 8 8 8 8 8
ชนิดา ปโชติการ
ชนิดา ปโชติการ
จํางายๆโปรตีนและพลังงานในอาหาร
โปรตีน พลังงานเฉลี่ย
7 70
1
1/2
25
70
2 70
ชนิดา ปโชติการ
โปรตีนและพลังงานในอาหาร
โปรตีน พลังงาน
0 45
0 20
น้ํามัน 1 ชอนชา
น้ําตาล 1 ชอนชา
ชนิดา ปโชติการ
หมวดเนื้อสัตว์ 2 ช้อนโต๊ะแลกอะไรได้
ให้ โปรตีน 7 กรัม พลังงาน 70 แคลอรี
2 = ชอนโตะ
4-5 ตัว 1 ตัวเล็ก
ไขทั้งฟอง 1 ฟอง ไขขาว 2 ฟอง 4-5 ลูก
กลองไมขีดไฟ
1 กลองเล็ก
=
=
= =
=
ชนิดา ปโชติการ
กลุมถั่วเมล็ดแหง
• มีโปรตีนสูงแตคุณภาพต่ําและมีปริมาณเกลือแร
ฟอสฟอรัสสูง
• ใหโปรตีน 7 กรัมพลังงาน 70 กิโลแคลอรี่
เตาหูเหลือง 1/2 แผน เตาหูขาว 1/2 หลอด
ชนิดา ปโชติการ
1 ทัพพี
1 ทัพพี
1 แผน1/2 กอน
1/2 ทัพพี4-6 แผน
หมวดข้าวและแป้ ง 1 ทัพพีแลกอะไรได้
โปรตีน 2 กรัม พลังงานเฉลี่ย 70 แคลอรี
= =
= =
ชนิดา ปโชติการ
ใหเลือกอาหารในจานเพื่อแทนการรับประทานไข 2 ฟอง
ง. ปลาทู 1 ตัวเล็ก และ กุง 4 ตัว
ก. เนื้อสัตว 2 ชอนโตะ
ข. เนื้อสัตว 3 ชอนโตะ
ค. ลูกชิ้น 4 ลูก
ชนิดา ปโชติการ
ให้เลือกอาหารเพื่อทดแทนการ
รับประทานข้าวเหนียว 2 ทัพพี
ก. ขนมปัง 1 แผ่น
ข. ข ้าวโพด ½ ฝัก
ค. ข ้าว 2 ทัพพี
ง. ข ้าว 3 ทัพพี และ ขนมปัง 1 แผ่น
ชนิดา ปโชติการ
แปงที่มีปริมาณ โปรตีนต่ํา
1 ทัพพีใหโปรตีนนอย ใหพลังงาน = 70 แคลอรี
•วุนเสน
•แปงมัน
•สาคู
•เสนเซี่ยงไฮ
ชนิดา ปโชติการ
1 ทัพพี 1 ทัพพี 1 ทัพพี
1 ทัพพี 1 ทัพพี 1 ทัพพี
หมวดผัก 1 ทัพพี
ผักสุก 1 ส่วน = 1กรัมโปรตีน พลังงาน 25แคลอรี่
ผักดิบ 2 ทัพพี=ผักสุก1 ทัพพี
==
= =
ชนิดา ปโชติการ
หมวดผลไม 1 จานเล็ก
7-8 ชิ้นคํา 7-8 ชิ้นคํา
1 ลูก
3-4 ลูก 4-5 ลูก 3 -4ลูก
ผลไม้ 1 ส่วน = 0.5 กรัมโปรตีน พลังงานุเฉลี่ย 70 แคลอรี่
==
=
=
ชนิดา ปโชติการ
ใหเลือกผลไมมา 4 สวน และใหบอกวาใหพลังงานเทาไร
คิดเปนปริมาณคารโบไฮเดรตกี่กรัม
ก. 260 kcal, 65 g
ข. 280 kcal, 60 g
ค. 300 kcal, 75 g
ง. 320 kcal, 80 g
ชนิดา ปโชติการ
หมวดไขมัน
- นํ้ามันพืช นํ้ามันหมู 1 ช้อนชา
ไขมัน 1 ส่วน
- เนย, มาการีน 1 ช้อนชา
- สลัดนํ้าใส 1 ช้อนชา
- สลัดนํ้าข้น 1 ช้อนโต๊ะ
- ครีมเทียม 2 ช้อนชา
ไขมัน 1 ชช. ใหพลังงาน 45 กิโลแคลอรี่
ชนิดา ปโชติการ
น้ําตาล1 ชช= พลังงาน 20 แคลอรี
ผูที่เปนเบาหวานใชน้ําตาลไดแตไมเกิน 10%
ของพลังงานที่ไดรับใน1 วัน(ประมาณ 6 ชช)
ชนิดา ปโชติการ
2 ชต4 ชต
2 2
3ทัพพี (3) 1 1
2 จานเล็ก (1) 1 1
3 ทัพพี 1
แผนการบริโภค40 กรัมโปรตีน พลังงาน1600Cal
10 ชช 3 3 4
แปง
เนื้อสัตว
ผัก
ผลไม
แปงปลอด
ไขมัน
หมูอาหาร เชา กลางวัน เย็น
1 1
2 ชต
จํานวนสวน
(โปรตีน)
4ทัพพี (8)
1
8 ชต(28)
-
น้ําตาล* 6 ชช 2 2 2
*ถาไมเปนเบาหวาน ถาเปนเบาหวานใชแปงปลอดโปรตีนแทน)
ชนิดา ปโชติการ
การให้ความรู้และคําปรึกษา
ด้านโภชนาการ
• อธิบายหลักการและวัตถุประสงค์ของการให้
โภชนบําบัด
• อธิบายวัตถุประสงค์ของการควบคุมอาหาร
และผลของอาหาร ต่อภาวะโภชนาการ
• แนะนําให้ผู้ป่ วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารอย่างค่อยเป็ นค่อยไป
• ให้ความรู้แหล่งอาหารที่มีโปรตีน พลังงาน
และสารอาหารแต่ละชนิด
ชนิดา ปโชติการ
การให้ความรู้และคําปรึกษา
ด้านโภชนาการ
• แนะนําการหลีกเลี่ยงบริโภคอาหารที่มี
โซเดียมสูง
• แนะนําปริมาณอาหารและชนิดอาหารที่ควร
กินในแต่ละวัน และให ้ตัวอย่างรายการอาหาร
• แนะนําให ้หลีกเลี่ยงอาหารที่มีโพแทสเซียม
และฟอสฟอรัสสูง เมื่อมีระดับโพแทสเซียม
และฟอสฟอรัสในเลือดสูง
ชนิดา ปโชติการ
สื่อการสอน Food Model
ที่มา: สมาคมนักกําหนดอาหารแหงประเทศไทย
ชนิดา ปโชติการ
สอนเรื่องสัดส่วนอาหารโดยนักกําหนดอาหาร/
นักโภชนาการ/โภชนากร
ชนิดา ปโชติการ
แล้วเรากิน
อะไรกันดี ?
ชนิดา ปโชติการ
ผลไม้
1 จาน
เล็ก
1 2
4 3
1 แก้ว
ส่วนที่ 1 หมายถึง ¼ ของจานเป็ นอาหารหมวดข้าว แป้ ง
ส่วนที่ 2 หมายถึง ¼ ของจานเป็ นอาหารหมวดเนื้อสัตว์
และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์
ส่วนที่ 3และ4 หมายถึง ½ ของจานเป็ นอาหารหมวดผัก
การจัดอาหารผู้ป่ วยไตเรื้อรังอย่างง่าย
แบ่งจานอาหารขนาดมาตรฐาน 9 นิ้วออกเป็ น 4 ส่วน
ชนิดา ปโชติการ
ฝาบาตรพระ = 9 นิ้ว
ที่มา: ฝายโภชนาการ รพ. สงฆ
ชนิดา ปโชติการ
จัดเมนูตามท้องถิ่น
ชนิดา ปโชติการ
ส่วนที่1
จัดอาหารลงจานตามส่วน
ผู้ป่ วยควรได้รับพลังงานให้เพียงพอ เพื่อป้ องกัน
โปรตีนถูกดึงไปใช้เป็ นพลังงานทําให้เกิดภาวะขาด
อาหารได้ ควรบริโภคข้าว แป้ งที่มีดัชนีนํ้าตาลตํ่า
อย่างน้อยมื้อละ 2 ทัพพี หลีกเลี่ยงแป้ งที่มีส่วนผสม
ของผงฟู เช่น ขนมปัง เบเกอรี
ชนิดา ปโชติการ
ตักข้าว = 1 ทัพพีหมอ
ฝายโภชนาการ รพ. พระมงกุฏ
ชนิดา ปโชติการ
ใช้แป้ งโปรตีนตํ่าในการเพิ่มพลังงาน
แต่ไม่เพิ่มโปรตีน
1 ทัพพีให้โปรตีนน้อย ให้พลังงาน = 70 แคลอรี
• วุ้นเส้น
• แป้ งมัน
• สาคู
• เส้นเซี่ยงไฮ้
ชนิดา ปโชติการ
ต้วอย่างอาหารที่ทําจากแป้ งโปรตีนตํ่า
สาคู กวยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ
วุนเสนผัดไท ยําวุนเสน
ชนิดา ปโชติการ
ข้าวแป้ งที่มีฟอสฟอรัสสูง
• หมวดข้าว แป้ ง ขนมปัง:
• ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีด เบ
เกอรี่
• ควรหลีกเลี่ยงเมื่อมีระดับ
ฟอสฟอรัสในเลือดสูง
ชนิดา ปโชติการ
• ส่วนที่ 2 หมายถึง ¼ ของจานเป็ นอาหาร
หมวดเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์
• เลือกกิน ปลา เนื้อไก่ เนื้อหมู ไข่ขาว โดย
กิน มื้อละ กี่ช้อนโต๊ะ (ขึ้นกับนนํ้าหนักตัว)
และระยะของการเป็ นโรคไต
ส่วนที่ 2
ชนิดา ปโชติการ
• เพศหญิง สูง 155 เซนติเมตร เป็นโรคไต
เรื้อรังที่ยังไม่ได ้เข ้าสู่การบําบัดทดแทนไต
จะกินเนื้อสัตว์และไข่ขาวได ้วันละกี่ช ้อนโต๊ะ
ต้องกินเนื้อสัตว์กี่ช้อนโต๊ะ
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับใน 1 วันของผู้ทียัง
ไม่ล้างไต เป็ นช้อนโต๊ะ ตามช่วงนํ้าหนักตัว
นํ้าหนักตัว
(กิโลกรัม)
โปรตีนที่ควร
ได้รับ
(กรัมต่อวัน)
ปริมาณเนื้อสัตว์ที่
รับประทาน (ช้อนโต๊ะต่อ
วัน)
40-50 30 6
51-60 35 7
ตั้งแต่ 60 ขึ้นไป 40 8
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณเนื้อสัตว์ที่ควรกินใน 1 วัน
6-8ช ้อนโต๊ะต่อวัน
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณเนื้อสัตว์
• ปริมาณเนื้อสัตว์ 2 ช้อนโต๊ะ
= =
= =
ที่มา:เอกหทัย แซเตีย สถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร
ชนิดา ปโชติการ
แหล่งโปรตีนในท้องถิ่น
ชนิดา ปโชติการ
ปริมาณ EPA & DHA : เนื้อปลานํ้าจืดไทย
(% นําหนัก/นํ้าหนักของกรดไขมันทั้งหมด)
ปลานํ้าจืด EPA DHA
ปลาช่อน 1.77 5.48
ปลาดุกด ้าน 0.68 5.56
ปลานิล 2.66 7.19
ปลาสลิด 3.39 7.45
ปลากดเหลือง 1.44 7.54
ปลาหมอไทย 2.01 7.77
ปลาเนื้ออ่อน 2.59 9.32
ปลากราย 2.54 13.55
ปริมาณ EPA & DHA : เนื้อปลาทะเลไทย
(% นําหนัก/นํ้าหนักของกรดไขมันทั้งหมด)
ปลาทะเล EPA DHA
ปลากะพงขาว 2.96 18.72
ปลาจาละเม็ดดํา 3.23 19.35
ปลาตาเดียว 1.72 22.77
ปลาช่อนทะเล 1.57 23.36
ปลากระพงแดง 1.97 23.80
ปลาทูแขก 2.66 25.57
ปลาโอลาย 1.18 33.55
ปลาดาบลาว 1.02 36.28
ปลาในไทยที่มี นํ้ามันปลาโอเมก ้า-3
ชนิดา ปโชติการ
เนื้อสัตวที่มีฟอสฟอรัสสูง
หมวดเนื้อสัตว : ปลาซารดีน ปลาทูนา
ปลาดุก ปลากระปอง ปู หอย หอยเชลลชุบ
เกล็ดขนมปง และทอด ( 4 - 6 ชิ้น)
กุงชุบเกล็ดขนมปงและทอด (10 - 11 ชิ้น)
แกะ ตับ หมู เนื้อลูกวัว
ผลิตภัณฑนม : นม นมช็อคโกแลต ช็อค
โกแลต พุดดิ้ง เนย (สวิส) โยเกิรต
ชนิดา ปโชติการ
ทําอย่างไรถ้าต้องกินโปรตีนตํ่า
แต่แอลบูลมินตํ่า
•เพิ่มพลังงานโดย เพิ่มเมนู
จากแป้ งปลอด
•ดัดแปลงเมนูจากไข่ขาว
ชนิดา ปโชติการ
ฝ่ายโภชนาการโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
มหัศจรรย์ไข่ขาว
www.thaidietetics.org
ชนิดา ปโชติการ
เมนูไขขาว www.thaidietetics.org
ชนิดา ปโชติการ
ผงโรยข้าวโปรตีนสูง (ไข่ขาว)
ที่มา: จุฑามาศ ออนนอม
ชนิดา ปโชติการ
อาหารเสริม
สูตร high calories, low K, Na, Low Chol
ที่มา ฝ่ ายโภชนาการโรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
ชนิดา ปโชติการ
ชนิดา ปโชติการ
• ส่วนที่ 3 และ 4 หมายถึง ½ ของจานเป็ นอาหาร
หมวดผัก
• ควรเลือกกินผักสุกมื้อละ 2 ทัพพี
• ควรเลือกกินผักสีอ่อนๆ เช่น บวบเหลี่ยม แตงกวา
(เอาเมล็ดออก) แตงร้าน ฟักเขียว หอมหัวใหญ่
ผักกาดขาว พริกหวาน
• หลีกเลี่ยงการกินผักที่มีโพแทสเซียมสูงเมื่อระดับ
โพแทสเซียมเกิน 5.5 mg/dl เห็ดโคน ผักโขม
ชะอม หน่อไม้ฝรั่ง มันเทศ มันฝรั่ง มะเขือเทศ
บร็อคโคลี่ แครอทดิบ
ส่วนที่ 3-4
ชนิดา ปโชติการ
หมวดผัก = 1 ทัพพีสุก=ผักดิบ 2 ทัพพี
ที่มา: Sallaya Kongsomboonvech MA.,RD.
ชนิดา ปโชติการ
ผักพื้นบ้าน
ชนิดา ปโชติการ
ผักที่มีโพแทสเซียมต่ํา
1 ทัพพี
ชนิดา ปโชติการ
ผักที่มีโพแทสเซียมปานกลาง
1 ทัพพี
ชนิดา ปโชติการ
ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง
เมื่อมีระดับโพแทสเซียมในเลือดเกิน 5มก/ดล
ชนิดา ปโชติการ
• ควรเลือกผลไม้วันละ 1-2 จานเล็ก
• 1จานเล็ก = ผลไม้ 8-10 ชิ้นคําหรือผลไม้ขนาด
กลาง 4 ผลหรือ ผลไม้ขนาดใหญ่ 1 ผล
• เลือกกินผลไม้ที่มีโพแทสเซียมตํ่าและปานกลาง
ได้แก่ ชมพู่ เงาะ สับปะรด มังคุด องุ่นเขียว
• ผลไม้ที่มีโพแทสเซียมสูง ได้แก่ ทุเรียน กล้วย
ลําไย น้อยหน่า ขนุน มะเฟือง แคนตาลูป และ
ผลไม้แห้ง
ผลไม
ชนิดา ปโชติการ
ผลไม้และอาหารที่มีโพแทสเซี่ยมสูง
ชนิดา ปโชติการ
พลังงาน
• แหล่งของพลังงานส่วนใหญ่มาจาการกิน
ข้าว แป้ งปลอดโปรตีน นํ้าตาลและนํ้ามัน
• พลังงานที่ผู้ป่ วยควรจะได้รับขึ้นอยู่กับ
ผู้ป่ วยแต่ละราย
• ควรได้รับพลังงานจากอาหารให้เพียงพอ
ในแต่ละวันเพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดภาวะ
กล้ามเนื้อลีบ
• ชนิดของไขมันส่วนใหญ่ ควรเป็ นไขมันดี
(ไขมันไม่อิ่มตัว)
ชนิดา ปโชติการเซลไขมัน
ไขมัน
ควบคุมไขมัน
ชนิดา ปโชติการ
นํ้ามันที่ควรใช้ในการประกอบอาหาร
• นํ้ามันปาล์มไว้ทอด
• นํ้ามันรําข้าว นํ้ามันดอกทานตะวัน นํ้ามัน
ถั่วเหลือง ใช้สลับกันในการผัด
• หลีกเลี่ยงไขมันทรานซ์(เนยขาว)
ที่มา: เชาวลิต รัตนกุล
ชนิดา ปโชติการ
นํ้า
ผู้เป็ นโรคไตดื่มนํ้าได้เท่าไร?
• ขึ้นกับปริมาตรของปัสสาวะที่ขับถ่ายต่อ
วัน
– วันละประมาณ 500-1,000 ซี.ซี. + ปริมาตร
ของปัสสาวะที่ขับถ่ายต่อวัน
– แต่ถ้าปัสสาวะได้น้อยกว่า 500 มิลลิลิตร/
วัน ควรจํากัดนํ้าให้เหลือ 750-1,000
มิลลิลิตร/วัน
ชนิดา ปโชติการ
เครื่องดื่ม
• หลีกเลี่ยง นมเปรี้ยวพร ้อมดื่ม ไอศกรีม
เนย หลีกเลี่ยงนํ้าอัดลมสีเข ้ม ชา กาแฟที่
มีรสแก่จัด ช ้อคโกและเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์
• ปริมาณ= ปริมาตรของปัสสาวะ 24 ชม. +
500 cc
1
แก้ว
ชนิดา ปโชติการที่มา: ฝายโภชนาการ รพ. สงฆ
ชนิดา ปโชติการ
กินอาหารปลอดภัย
อาหารสด อาหารพรอมปรุง อาหารสําเร็จรูป
ชนิดา ปโชติการ
2
16
11
6
อาหารจานสุขภาพ
เครื่องปรุง
เลขที่ควรจํา =?
6 ชช นํ้าตาล 6ชช นํ้ามัน 1ชช เกลือ
3-4 ชชนํ้าปลา
ผัก ½ จาน ข้าว ¼ จาน เนื้อสัตว์
4-6 ชต
ชนิดา ปโชติการ
การประเมินโดยใช ้EDA
ชนิดา ปโชติการ
ควรมีการเยี่ยมบานอยางสม่ําเสมอ
- ประเมินสัมพันธภาพสมาชิกในครอบครัว
- ควรแนะนําการเตรียมสิ่งแวดลอมใหเหมาะสม
กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- หาแนวทางการแกไขปญหารวมกับผูปวยและ
ครอบครัว เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผูปวย
การเยียมบาน
ชนิดา ปโชติการ
การสงตอและสรางเขื่อขาย
• รพศ รพช รพสต อสม
รพท
ชนิดา ปโชติการ
ตัวอยางแผนการใหความรูแกผูปวย
เดือน ฉาย
วิดีทัศน์
พยาบาล (30นาที) นักกําหนด
อาหา
โภชนากร
(30นาที)
เภสัชกร
(15นาที)
นัก
กายภาพบําบั
ด (15นาที)
แพทย์
(15นาที)
0 • เชิญผู้ป่ วยเข ้ากลุ่ม
เพื่อค ้นหาปัญหา
และวางแผนการ
รักษา
• ให ้ผู ้ป่ วยทํา
แบบทดสอบก่อน
เรียนครั้งที่ 1
• ให ้ความรู้เรื่อง
“การวินิจฉัยและ
รักษาโรคไต
เรื้อรัง”
โดยใช ้แผ่นพับชุด
ที่ 1
ให ้ความรู้
เกี่ยวกับ
อาหาร
สําหรับ
ผู ้ป่ วย
โรคไต
เรื้อรัง
ให ้ความรู้
เกี่ยวกั
บยา
สําหรั
บ
ผู ้ป่ วย
โรคไต
เรื้อรัง
ให ้คําแนะนํา
ออกกําลัง
กายสร ้าง
ความ
แข็งแรง
ด ้วยยางยืด
ท่าที่ 1
และ 2
แจ ้งผล
การ
วินิจฉัย
และให ้
การ
รักษา
สถาบันไตภูมิราชนครินทร
ชนิดา ปโชติการ
ตัวอยางแผนการใหความรูแกผูปวย
เดือน ฉาย
วิดีทัศน์
พยาบาล (30นาที) นักกําหนด
อาหาร/
โภชนากร
(30นาที)
เภสัชกร
(15นาที)
นัก
กายภาพ
บําบัด
(15นาที)
แพทย์
(15นาที)
1 เรื่อง
“วิธีการ
รักษา
ผู้ป่ วย
โรคไต
เรื้อรัง
ก่อน
การ
บําบัด
ทดแท
นไต”
• เชิญผู้ป่ วยเข ้ากลุ่ม
เพื่อติดตามปัญหา
และวางแผนการ
รักษา
• ให ้ผู ้ป่ วยทํา
แบบทดสอบก่อน
เรียนครั้งที่ 2
• ให ้ความรู้เรือง “แบบ
แผนอาหารสําหรับ
ผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง”
โดยใช ้แผ่นพับชุดที่
2
ให ้ความรู้
เรื่องการ
จัดส่วน
อาหาร
และการ
จด
บันทึก
รายการ
อาหาร
ให ้ความรู้
เกี่ยวกั
บ
วิธีการ
อ่าน
ฉลาก
ยาและ
การใช ้
ยาให ้
ถูกต ้อง
ให ้
คําแนะ
นําออก
กําลัง
กาย
สร ้าง
ความ
แข็งแร
ง
ด ้วยยาง
ยืดท่าที่
1 และ
2
แจ ้งผลการ
ตรวจ
ทาง
ห ้องปฏิ
บัติการ
และให ้
การ
รักษา
สถาบันไตภูมิราชนครินทร
ชนิดา ปโชติการ
ตัวอยางแผนการใหความรูแกผูปวย
เดือน ฉาย
วิดีทัศน์
พยาบาล (30นาที) นักกําหนด
อาหาร
โภชนากร
(30นาที)
เภสัชกร
(15นาที)
นัก
กายภาพบํา
บัด
(15นาที)
แพทย์
(15นาที)
3 • เชิญผู้ป่ วยเข้ากลุ่ม
เพื่อติดตามปัญหา
และวางแผนการ
รักษา
• อภิปรายข้อมูลจาก
การเยี่ยมบ้านเดือน
ที่ 2
• ให้ผู้ป่ วยทํา
แบบทดสอบก่อน
เรียนครั้งที่ 3
• ให้ความรู้เรือง “การ
ควบคุมความดัน
โลหิตให้เหมาะสม
ช่วยชะลอไตเสื่อม”
โดยใช้แผ่นพับชุดที่
3
สาธิต
วิธีการ
ปรุง
อาหาร
ที่มี
ปริมาณ
เกลือ
โซเดีย
มตํ่า
ไขมันตํ่า
ให้ความรู้
เรื่อง
“ยาลด
ความ
ดัน
โลหิตที่
ช่วย
ชะลอ
การ
เสื่อม
ของไต
ให้
คําแนะ
นําออก
กําลัง
กาย
สร้าง
ความ
แข็งแรง
ด้วยยาง
ยืดท่าที่
3, 4 และ
5
แจ้งผลการ
ตรวจ
ทาง
ห้องปฏิ
บัติการ
และให้
การ
รักษา
ชนิดา ปโชติการ
สรป
• การดูแลโภชนาการในผู้ที่เป็ นเบาหวานที่มีภาวะ
ไตเรื้อรังต้องประกอบด้วยสหสาขาวิชาชีพที่
ทํางานสัมพันธ์กัน ทราบหน้าที่และบทบาทของ
กันและกันและร่วมกันทํางานเป็ นทีม
• ให้ความรู้และคําปรึกษาด้านโภชนบําบัดที่
ถูกต้องและเหมาะสมและสอดคล้องกับวิถีชีวิต
ของผู้ป่ วย จะช่วยชะลอการเสื่อมของไตใน
ผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
ชนิดา ปโชติการ
© Copyright Fresenius Kabi AG
Websites: www.raktai.org
www.nephrochula.com
www.nephrothai.org
www.thaidietetics.org
ชนิดา ปโชติการ
ความคงอยูของสิ่งที่เรียนรูภายหลัง 24 ชั่วโมง
นําความรูไปสอนผูอื่น / ใชทันที
ฟงบรรยาย
อาน
ฝกปฏิบัติ
เขากลุมอภิปราย
สาธิต
สื่อ / โสต
5
10
20
3050
75
90
The National Training Laboratories of Bethel, Maine

Contenu connexe

Tendances

คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีคู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีVorawut Wongumpornpinit
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561Kamol Khositrangsikun
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคkasocute
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 

Tendances (20)

คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีคู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
22
2222
22
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
Drug
DrugDrug
Drug
 

En vedette

HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานCAPD AngThong
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิชCAPD AngThong
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นNamfon fon
 
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1pageใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
Medical nutrition therapy for Hemodialysis
Medical nutrition therapy for HemodialysisMedical nutrition therapy for Hemodialysis
Medical nutrition therapy for HemodialysisJakeBrandonAndal01
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 

En vedette (11)

HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
 
Mildmap
MildmapMildmap
Mildmap
 
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1pageใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
Medical nutrition therapy for Hemodialysis
Medical nutrition therapy for HemodialysisMedical nutrition therapy for Hemodialysis
Medical nutrition therapy for Hemodialysis
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 

Similaire à Module 5 ntr dm htn ckd final

การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารWilailak Luck
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptพรพจน์ แสงแก้ว
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงAmontep Posarat
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2Wichai Likitponrak
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพChirarat Boonperm
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 

Similaire à Module 5 ntr dm htn ckd final (20)

การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหาร
 
สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรารู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
Healthy Food
Healthy FoodHealthy Food
Healthy Food
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
Pompea3
Pompea3Pompea3
Pompea3
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 

Plus de CAPD AngThong

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อCAPD AngThong
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ PcCAPD AngThong
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPCAPD AngThong
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifeCAPD AngThong
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcCAPD AngThong
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationCAPD AngThong
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative careCAPD AngThong
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative careCAPD AngThong
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative careCAPD AngThong
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcCAPD AngThong
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีCAPD AngThong
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔CAPD AngThong
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 

Plus de CAPD AngThong (20)

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 

Module 5 ntr dm htn ckd final