SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                                         ั



                             ใบความรู้ที่ 3 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง31101)                    เวลา 2 ชั่วโมง                 ครูผสอน ครูณัฐพล บัวอุไร
                                                                                     ู้

1. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
          หมายถึง ระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จานวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆ เพื่อ
แลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศ รวมถึงใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ร่วมกัน

2. ประเภทของระบบเครือข่าย
          ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งออกตามขนาดของเครือข่ายเป็น 3 ประเภท ดังนี้
          2.1 ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) เป็นเครือข่ายระยะใกล้ใช้กันอยู่ในบริเวณไม่กว้าง
นัก อาจอยู่ในองค์กรเดียวกัน หรืออาคารที่ใกล้กัน เช่น ภายในสานักงาน ภายในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย
          2.2 ระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายขนาดกลางที่ใช้ภายในเมือง
หรือจังหวัดใกล้เคียงกัน เช่น ระบบเคเบิลทีวีที่มีสมาชิกตามบ้านทั่วไป การฝากถอนเงินผ่านระบบเอทีเอ็ม เป็นต้น
          2.3 ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ ใช้ติดต่อบริเวณกว้าง มี
สถานีหรือจุดเชื่อมต่อมากกว่า 1 แสนจุด ใช้สื่อกลางหลายชนิด เช่น ระบบคลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ หรือดาวเทียม และการใช้
อินเทอร์เน็ตก็จัดว่าเป็นการติดต่อสื่อสารในระบบเครือข่ายระดับประเทศด้วย

3. รูปร่างเครือข่าย
คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่ประกอบกันเป็นเครือข่าย มีการเชื่อมโยงถึงกันในรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
เทคโนโลยีการออกแบบเชื่อมโยงนี้เรียกว่า “รูปร่างเครือข่าย” (Network Topology) เมื่อพิจารณาการเชื่อมโยงถึงกันของ
อุปกรณ์สานักงานที่ใช้งานต่าง ๆ หากต้องการเชื่อมต่อถึงกันโดยตรงจะต้องใช้สายเชื่อมโยงมาก
           ปัญหาของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ของสถานีปลายทางหลาย ๆ สถานี คือ จานวนสายที่ใช้เชื่อมโยง
ระหว่างสถานีเพิ่มมากขึ้น และระบบการสลับสายเพื่อโยงข้อมูลถึงกันในการสื่อสารระหว่างสถานี ถ้ามีการเพิ่มสถานีมากขึ้น
ค่าใช้จ่ายในการเดินสายก็มากตามไปด้วย           และในขณะที่สถานีหนึ่งสื่อสารกับสถานีหนึ่งก็จะถือครองการใช้สายเชื่อมโยง
ระหว่างสถานีนั้น ทาให้การใช้สายเชื่อมโยงไม่เต็มประสิทธิภาพ จึงมีความพยายามที่จะหาลักษณะรูปร่างเครือข่าย ที่จะ
ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินสายเชื่อมโยง ง่ายต่อการติดตั้ง และมีประสิทธิภาพที่ดีต่อระบบ รูปร่างเครือข่ายงานที่ใช้ในการ
สื่อสารมีหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบจะมีลักษณะการเชื่อมต่อแตกต่างกัน โดยบางรูปแบบมีการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point
To Point) และบางรูปแบบมีลกษณะการเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multipoint) และก่อนที่เราจะได้เรียนรู้ถึงรูปแบบต่าง ๆ
                                  ั
ของเครือข่าย เราควรทราบรายละเอียดของการเชื่อมต่อการสื่อสารทั้งสองแบบเสียก่อน
           การเชื่อมต่อการสื่อสารข้อมูลแบบจุดต่อจุดเป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารสอง
เครื่อง โดยใช้สื่อกลางหรือช่องทางในการสื่อสารช่องทางเดียว เป็นการจองสายในการส่งข้อมูลระหว่างกันโดยไม่มีการใช้งาน
สื่อกลางนั้นร่วมกับอุปกรณ์ชิ้นอื่น ๆ การเชื่อมต่อลักษณะนี้เป็นการเชื่อมต่อที่ทาให้สิ้นเปลืองช่องทางการสื่อสาร จึงมีการ
เชื่อมต่ออีกลักษณะหนึ่งเรียกว่า การเชื่อมต่อแบบหลายจุด เป็นการใช้งานช่องทางการสื่อสารเต็มประสิทธิภาพมากขึ้น โดย
การเชื่อมต่อลักษณะนี้จะใช้ช่องทางการสื่อสารหนึ่งช่องทางเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารหลายชิ้น
โดยมีจุดเชื่อมแยกออกมาจากสายหลัก



                                                                                                                   1
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                                          ั

          3.1 เครือข่ายแบบดาว (Star Topology)
                    เครือข่ายแบบดาว เป็นแบบการต่อเชื่อมสายต่อสื่อสารแบบจุดต่อจุด โดย
สถานีทุกสถานีในเครือข่ายจะต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลางแบบจุดต่อจุด การติดต่อสื่อสาร
ระหว่างสถานีจะกระทาได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทางาน
ของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลางของการต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าง ๆ
ที่ต้องการติดต่อกัน
                                                                                              รู ปที่ 1 เครื อข่ายแบบดาว
           3.2 เครือข่ายแบบบัส (Bus Topology)
                    เครือข่ายแบบบัส เป็นรูปแบบที่มีผู้นิยมใช้มากแบบหนึ่ง เพราะมี
โครงสร้างไม่ยุ่งยากและไม่ต้องใช้อุปกรณ์สลับสาย การเชื่อมต่อมีลักษณะเป็นแบบหลาย
จุด สถานีทุกสถานีรวมทั้งอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลัก
เพียงสายเดียว เรียกว่า “แบ็กโบน” (Back Bone) การจัดส่งข้อมูลลงบนบัสจึงสามารถ
ทาให้การส่งข้อมูลไปถึงทุกสถานีได้ผ่านสายแบ็กโบนนี้ การจัดส่งวิธีนี้ต้องกาหนดวิธีการที่
จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทาให้ข้อมูลชนกัน โดยวิธีการที่ใช้อาจเป็น
การแบ่งช่วงเวลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน
                                                                                                รู ปที่ 2 เครื อข่ายแบบบัส

          3.3 เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Topology)
                    เครือข่ายแบบวงแหวน เป็นลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับ
แบบดาว โดยสถานีแต่ละสถานีจะต่อกับสถานีที่อยู่ติดทั้งสองข้างของตนเอง โดยจะมีการ
เชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของแต่ละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่
ในวงแหวนแบบจุดต่อจุดไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับภายในเวลาที่กาหนด โดยเครื่องขยาย
สัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่อง
ขยายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อย ๆ เป็นวง
หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้น
จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนเองหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป      รู ปที่ 3 เครื อข่ายแบบวงแหวน
อีกทั้งสามารถตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งด้วย ในกรณีที่เครื่องรับปลายทางไม่ได้รับ
สัญญาณข้อมูลในเวลาที่กาหนด จะมีการแจ้งว่าเกิดความผิดพลาดในเครือข่ายได้

       3.4 เครือข่ายแบบผสม (Mix Topology)
       เป็นเครือข่ายที่ไม่มีรูปร่างที่แน่นอน เป็นการผสมเครือข่ายหลายๆ แบบเข้าด้วยกัน เช่น เครือข่ายแบบบัสกับแบบวง
แหวนและเครือข่ายแบบดาว เป็นต้น




                                                                                                                      2
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                                          ั

3.  อุปกรณ์เครือข่าย
                     1) ฮับ (Hub)
            เป็นอุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับ-ส่งหลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกัน ฮับเปรียบเสมือนเป็นบัสที่รวมอยู่ที่จุด
เดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยู่ภายใต้มาตรฐานการรับ-ส่งแบบอีเทอร์เน็ต หรือ IEEE802.3 ข้อมูลที่รับส่งผ่านฮับจากเครื่องหนึ่งจะ
กระจายไปยังทุกสถานีที่ต่ออยู่บนฮับนั้น ดังนั้นทุกสถานีจะรับสัญญาณข้อมูลที่กระจายมาได้ทั้งหมด แต่จะเลือกคัดลอกเฉพาะ
ข้อมูลที่ส่งมาถึงตนเท่านั้น การตรวจสอบข้อมูลจึงต้องดูที่ “แอดเดรส” (Address) ที่กากับมาในกลุ่มของข้อมูลหรือแพ็กเกจ




                                  รู ปที่ 4 ฮับ                 รู ปที่ 5 การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์เข้ากับเครื อข่าย
                                                                โดยปลายข้างหนึ่งของสาย UTP ต่อเข้ากับฮับและอีกข้างหนึ่ง
                                                                ต่อเข้ากับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่าย
          2) อุปกรณ์สวิตซ์ (Switch)
                      สวิตซ์เป็นอุปกรณ์รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับ-ส่งหลายสถานีเช่นเดียวกับฮับ แต่มีข้อแตกต่างจากฮับ
กล่าวคือ การรับ-ส่งข้อมูลจากสถานีหรืออุปกรณ์ตัวหนึ่ง จะไม่กระจายไปยังทุกสถานีเหมือนฮับ ทั้งนี้เพราะสวิตซ์จะรับกลุ่ม
ข้อมูลหรือแพ็กเกจมาตรวจสอบก่อน แล้วมาดูว่าแอดเดรสของสถานีปลายทางไปทีใด สวิตซ์จะนาแพ็กเกจหรือกลุ่มข้อมูลนั้น
                                                                             ่
ส่งต่อไปยังสถานีเป้าหมายให้อย่างอัตโนมัติ สวิตซ์จะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล เพราะไม่ต้องกระจายข้อมูลไปทุกสถานี
และยังมีข้อดีในเรื่องการป้องกันการดักจับข้อมูลที่กระจายไปในเครือข่าย
                      3) อุปกรณ์จัดเส้นทาง (Router)
          ในการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีการเชื่อมโยงหลาย ๆ เครือข่าย หรืออุปกรณ์หลาย ๆ อย่างเข้า
ด้วยกัน ดังนั้น จึงมีเส้นทางการเข้าออกของข้อมูลได้หลายเส้นทาง และแต่ละเส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายที่ต่างกัน
อุปกรณ์จัดเส้นทางจะทาหน้าที่หาเส้นทางที่เหมาะสมให้ เพื่อให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
       การที่อุปกรณ์จัดหาเส้นทางเลือกเส้นทางได้ถูกต้องเพราะแต่ละสถานีภายในเครือข่ายมีแอดเดรสกากับ อุปกรณ์จัด
เส้นทางต้องรับรู้ตาแหน่งและสามารถนาข้อมูลออกทางเส้นทางได้ถูกต้องตามตาแหน่งแอดเดรสที่กากับอยู่ในเส้นทางนั้น


                                                                                          รู ปที่ 6 สาย IDE เป็ นสายที่ใช้ใน
4. วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
         ก่อนที่จะกล่าวถึงการสื่อสารระหว่างเครื่อง                                        การถ่ายโอนข้อมูลภายในเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ควรศึกษาถึงวิธีการถ่ายโอนข้อมูลซึ่ง                                           คอมพิวเตอร์ โดยการถ่ายโอน
เป็นเรื่องของการส่งสัญญาณออกจากเครื่อง และรับ                                             ข้อมูลผ่านสาย IDE เป็ นการถ่าย
สัญญาณเข้าไปในเครื่องก่อน การถ่ายโอนข้อมูล                                                โอนข้อมูลแบบขนาน
สามารถจาแนกได้ 2 แบบ คือ การถ่ายโอนข้อมูล
แบบขนาน และการถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม




                                                                                                                        3
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                                          ั


         1) การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
                    การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน ทาได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละหลาย
ๆ บิตพร้อมกัน จากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ตัวกลางระหว่างสองเครื่องจึงต้องมี
ช่องทางให้ข้อมูลเดินทางหลาย ๆ ช่องทาง โดยส่วนมากจะเป็นสายนาสัญญาณหลาย ๆ
เส้น โดยจานวนสายส่งจะต้องเท่ากับจานวนบิตที่ต้องการส่งแต่ละครั้ง ปกติความยาวของ
สายไม่ควรยาวมากเกินไป เพราะอาจทาให้เกิดปัญหาสัญญาณสูญหายไปกับความ
ต้านทานของสาย การส่งโดยวิธีนี้จึงนิยมใช้กับการส่งข้อมูลในระยะทางใกล้ ๆ
         นอกจากการส่งข้อมูลหลักแล้ว อาจมีการส่งข้อมูลอื่น ๆ อีก เช่น บิตพาริตี ที่
ใช้ในการตรวจสอบความผิดพลาดของการรับสัญญาณที่ปลายทางหรือสายที่ควบคุม                รู ปที่ 7 การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
การโต้ตอบ (Hand-Shake)

            2) การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
           ในการถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออก
มาทีละบิต ระหว่างจุดส่งและจุดรับ การส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ากว่า
แบบขนาน การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการตัวกลาง
สาหรับการสื่อสารเพียงช่องเดียวหรือสายเพียงคู่เดียว ค่าใช้จ่าย
จะถูกกว่าแบบขนาน สาหรับการส่งระยะทางไกลๆ โดยเฉพาะ
เมื่อเรามีระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์ไว้ใช้งานอยู่แล้ว ย่อมจะ
เป็นการประหยัดกว่าที่จะทาการติดต่อสื่อสารทีละ 8 ช่อง เพื่อ
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
          การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม จะเริ่มโดยข้อมูลจากจุด
ส่งจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณอนุกรมเสียก่อน แล้วค่อยทยอย
ส่งออกทีละบิตไปยังจุดรับ และที่จุดรับจะต้องมีกลไกในการ
เปลี่ยนแปลงข้อมูลที่รับมาทีละบิต ให้เป็นสัญญาณแบบขนานซึ่ง
ลงตัวพอดี เช่น บิตที่ 1 ลงที่บัสข้อมูลเส้นที่ 1                             รู ปที่ 8 การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม

การติดต่อแบบอนุกรมอาจจะแบ่งตามรูปแบบรับ-ส่ง ได้ 3 แบบ คือ
          1) สื่อสารทางเดียว (Simplex)
             ข้อมูลส่งได้ทางเดียวเท่านั้น บางครั้งก็เรียกว่า การส่งทิศทางเดียว (Unidirectional Data Bus) เช่น การส่ง
ข้อมูลไปยังเครื่องพิมพ์ การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ เป็นต้น
          2) สื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (Half Duplex)
              ข้อมูลสามารถส่งได้ทั้งสองสถานี แต่จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ จะส่งและรับพร้อมกันไม่ได้ เช่น วิทยุ
สื่อสารของตารวจ เป็นต้น
          3) สื่อสารสองทางเต็มอัตรา (Full Duplex)
              ทั้งสองสถานีสามารถรับและส่งได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์ เป็นต้น




                                                                                                                       4
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                       ั




                 รู ปที่ 9 รู ปแบบของการติดต่อสื่ อสารแบบอนุกรม




                                                                                 5

Contenu connexe

Tendances

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอรยา ม่วงมนตรี
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1อรยา ม่วงมนตรี
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 

Tendances (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
รูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายรูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่าย
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 

Similaire à ใบความรู้ที่ 3

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารBeauso English
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลwatnawong
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3sawitri555
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 

Similaire à ใบความรู้ที่ 3 (20)

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Plus de Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 

Plus de Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 

ใบความรู้ที่ 3

  • 1. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั ใบความรู้ที่ 3 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง31101) เวลา 2 ชั่วโมง ครูผสอน ครูณัฐพล บัวอุไร ู้ 1. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง ระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จานวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆ เพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศ รวมถึงใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ร่วมกัน 2. ประเภทของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งออกตามขนาดของเครือข่ายเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 2.1 ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) เป็นเครือข่ายระยะใกล้ใช้กันอยู่ในบริเวณไม่กว้าง นัก อาจอยู่ในองค์กรเดียวกัน หรืออาคารที่ใกล้กัน เช่น ภายในสานักงาน ภายในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย 2.2 ระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายขนาดกลางที่ใช้ภายในเมือง หรือจังหวัดใกล้เคียงกัน เช่น ระบบเคเบิลทีวีที่มีสมาชิกตามบ้านทั่วไป การฝากถอนเงินผ่านระบบเอทีเอ็ม เป็นต้น 2.3 ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ ใช้ติดต่อบริเวณกว้าง มี สถานีหรือจุดเชื่อมต่อมากกว่า 1 แสนจุด ใช้สื่อกลางหลายชนิด เช่น ระบบคลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ หรือดาวเทียม และการใช้ อินเทอร์เน็ตก็จัดว่าเป็นการติดต่อสื่อสารในระบบเครือข่ายระดับประเทศด้วย 3. รูปร่างเครือข่าย คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่ประกอบกันเป็นเครือข่าย มีการเชื่อมโยงถึงกันในรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เทคโนโลยีการออกแบบเชื่อมโยงนี้เรียกว่า “รูปร่างเครือข่าย” (Network Topology) เมื่อพิจารณาการเชื่อมโยงถึงกันของ อุปกรณ์สานักงานที่ใช้งานต่าง ๆ หากต้องการเชื่อมต่อถึงกันโดยตรงจะต้องใช้สายเชื่อมโยงมาก ปัญหาของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ของสถานีปลายทางหลาย ๆ สถานี คือ จานวนสายที่ใช้เชื่อมโยง ระหว่างสถานีเพิ่มมากขึ้น และระบบการสลับสายเพื่อโยงข้อมูลถึงกันในการสื่อสารระหว่างสถานี ถ้ามีการเพิ่มสถานีมากขึ้น ค่าใช้จ่ายในการเดินสายก็มากตามไปด้วย และในขณะที่สถานีหนึ่งสื่อสารกับสถานีหนึ่งก็จะถือครองการใช้สายเชื่อมโยง ระหว่างสถานีนั้น ทาให้การใช้สายเชื่อมโยงไม่เต็มประสิทธิภาพ จึงมีความพยายามที่จะหาลักษณะรูปร่างเครือข่าย ที่จะ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินสายเชื่อมโยง ง่ายต่อการติดตั้ง และมีประสิทธิภาพที่ดีต่อระบบ รูปร่างเครือข่ายงานที่ใช้ในการ สื่อสารมีหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบจะมีลักษณะการเชื่อมต่อแตกต่างกัน โดยบางรูปแบบมีการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point To Point) และบางรูปแบบมีลกษณะการเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multipoint) และก่อนที่เราจะได้เรียนรู้ถึงรูปแบบต่าง ๆ ั ของเครือข่าย เราควรทราบรายละเอียดของการเชื่อมต่อการสื่อสารทั้งสองแบบเสียก่อน การเชื่อมต่อการสื่อสารข้อมูลแบบจุดต่อจุดเป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารสอง เครื่อง โดยใช้สื่อกลางหรือช่องทางในการสื่อสารช่องทางเดียว เป็นการจองสายในการส่งข้อมูลระหว่างกันโดยไม่มีการใช้งาน สื่อกลางนั้นร่วมกับอุปกรณ์ชิ้นอื่น ๆ การเชื่อมต่อลักษณะนี้เป็นการเชื่อมต่อที่ทาให้สิ้นเปลืองช่องทางการสื่อสาร จึงมีการ เชื่อมต่ออีกลักษณะหนึ่งเรียกว่า การเชื่อมต่อแบบหลายจุด เป็นการใช้งานช่องทางการสื่อสารเต็มประสิทธิภาพมากขึ้น โดย การเชื่อมต่อลักษณะนี้จะใช้ช่องทางการสื่อสารหนึ่งช่องทางเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารหลายชิ้น โดยมีจุดเชื่อมแยกออกมาจากสายหลัก 1
  • 2. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั 3.1 เครือข่ายแบบดาว (Star Topology) เครือข่ายแบบดาว เป็นแบบการต่อเชื่อมสายต่อสื่อสารแบบจุดต่อจุด โดย สถานีทุกสถานีในเครือข่ายจะต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลางแบบจุดต่อจุด การติดต่อสื่อสาร ระหว่างสถานีจะกระทาได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทางาน ของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลางของการต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าง ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน รู ปที่ 1 เครื อข่ายแบบดาว 3.2 เครือข่ายแบบบัส (Bus Topology) เครือข่ายแบบบัส เป็นรูปแบบที่มีผู้นิยมใช้มากแบบหนึ่ง เพราะมี โครงสร้างไม่ยุ่งยากและไม่ต้องใช้อุปกรณ์สลับสาย การเชื่อมต่อมีลักษณะเป็นแบบหลาย จุด สถานีทุกสถานีรวมทั้งอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลัก เพียงสายเดียว เรียกว่า “แบ็กโบน” (Back Bone) การจัดส่งข้อมูลลงบนบัสจึงสามารถ ทาให้การส่งข้อมูลไปถึงทุกสถานีได้ผ่านสายแบ็กโบนนี้ การจัดส่งวิธีนี้ต้องกาหนดวิธีการที่ จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทาให้ข้อมูลชนกัน โดยวิธีการที่ใช้อาจเป็น การแบ่งช่วงเวลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน รู ปที่ 2 เครื อข่ายแบบบัส 3.3 เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Topology) เครือข่ายแบบวงแหวน เป็นลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับ แบบดาว โดยสถานีแต่ละสถานีจะต่อกับสถานีที่อยู่ติดทั้งสองข้างของตนเอง โดยจะมีการ เชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของแต่ละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ ในวงแหวนแบบจุดต่อจุดไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับภายในเวลาที่กาหนด โดยเครื่องขยาย สัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่อง ขยายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อย ๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้น จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนเองหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป รู ปที่ 3 เครื อข่ายแบบวงแหวน อีกทั้งสามารถตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งด้วย ในกรณีที่เครื่องรับปลายทางไม่ได้รับ สัญญาณข้อมูลในเวลาที่กาหนด จะมีการแจ้งว่าเกิดความผิดพลาดในเครือข่ายได้ 3.4 เครือข่ายแบบผสม (Mix Topology) เป็นเครือข่ายที่ไม่มีรูปร่างที่แน่นอน เป็นการผสมเครือข่ายหลายๆ แบบเข้าด้วยกัน เช่น เครือข่ายแบบบัสกับแบบวง แหวนและเครือข่ายแบบดาว เป็นต้น 2
  • 3. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั 3. อุปกรณ์เครือข่าย 1) ฮับ (Hub) เป็นอุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับ-ส่งหลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกัน ฮับเปรียบเสมือนเป็นบัสที่รวมอยู่ที่จุด เดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยู่ภายใต้มาตรฐานการรับ-ส่งแบบอีเทอร์เน็ต หรือ IEEE802.3 ข้อมูลที่รับส่งผ่านฮับจากเครื่องหนึ่งจะ กระจายไปยังทุกสถานีที่ต่ออยู่บนฮับนั้น ดังนั้นทุกสถานีจะรับสัญญาณข้อมูลที่กระจายมาได้ทั้งหมด แต่จะเลือกคัดลอกเฉพาะ ข้อมูลที่ส่งมาถึงตนเท่านั้น การตรวจสอบข้อมูลจึงต้องดูที่ “แอดเดรส” (Address) ที่กากับมาในกลุ่มของข้อมูลหรือแพ็กเกจ รู ปที่ 4 ฮับ รู ปที่ 5 การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์เข้ากับเครื อข่าย โดยปลายข้างหนึ่งของสาย UTP ต่อเข้ากับฮับและอีกข้างหนึ่ง ต่อเข้ากับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่าย 2) อุปกรณ์สวิตซ์ (Switch) สวิตซ์เป็นอุปกรณ์รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับ-ส่งหลายสถานีเช่นเดียวกับฮับ แต่มีข้อแตกต่างจากฮับ กล่าวคือ การรับ-ส่งข้อมูลจากสถานีหรืออุปกรณ์ตัวหนึ่ง จะไม่กระจายไปยังทุกสถานีเหมือนฮับ ทั้งนี้เพราะสวิตซ์จะรับกลุ่ม ข้อมูลหรือแพ็กเกจมาตรวจสอบก่อน แล้วมาดูว่าแอดเดรสของสถานีปลายทางไปทีใด สวิตซ์จะนาแพ็กเกจหรือกลุ่มข้อมูลนั้น ่ ส่งต่อไปยังสถานีเป้าหมายให้อย่างอัตโนมัติ สวิตซ์จะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล เพราะไม่ต้องกระจายข้อมูลไปทุกสถานี และยังมีข้อดีในเรื่องการป้องกันการดักจับข้อมูลที่กระจายไปในเครือข่าย 3) อุปกรณ์จัดเส้นทาง (Router) ในการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีการเชื่อมโยงหลาย ๆ เครือข่าย หรืออุปกรณ์หลาย ๆ อย่างเข้า ด้วยกัน ดังนั้น จึงมีเส้นทางการเข้าออกของข้อมูลได้หลายเส้นทาง และแต่ละเส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายที่ต่างกัน อุปกรณ์จัดเส้นทางจะทาหน้าที่หาเส้นทางที่เหมาะสมให้ เพื่อให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การที่อุปกรณ์จัดหาเส้นทางเลือกเส้นทางได้ถูกต้องเพราะแต่ละสถานีภายในเครือข่ายมีแอดเดรสกากับ อุปกรณ์จัด เส้นทางต้องรับรู้ตาแหน่งและสามารถนาข้อมูลออกทางเส้นทางได้ถูกต้องตามตาแหน่งแอดเดรสที่กากับอยู่ในเส้นทางนั้น รู ปที่ 6 สาย IDE เป็ นสายที่ใช้ใน 4. วิธีการถ่ายโอนข้อมูล ก่อนที่จะกล่าวถึงการสื่อสารระหว่างเครื่อง การถ่ายโอนข้อมูลภายในเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ควรศึกษาถึงวิธีการถ่ายโอนข้อมูลซึ่ง คอมพิวเตอร์ โดยการถ่ายโอน เป็นเรื่องของการส่งสัญญาณออกจากเครื่อง และรับ ข้อมูลผ่านสาย IDE เป็ นการถ่าย สัญญาณเข้าไปในเครื่องก่อน การถ่ายโอนข้อมูล โอนข้อมูลแบบขนาน สามารถจาแนกได้ 2 แบบ คือ การถ่ายโอนข้อมูล แบบขนาน และการถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม 3
  • 4. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั 1) การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน ทาได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละหลาย ๆ บิตพร้อมกัน จากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ตัวกลางระหว่างสองเครื่องจึงต้องมี ช่องทางให้ข้อมูลเดินทางหลาย ๆ ช่องทาง โดยส่วนมากจะเป็นสายนาสัญญาณหลาย ๆ เส้น โดยจานวนสายส่งจะต้องเท่ากับจานวนบิตที่ต้องการส่งแต่ละครั้ง ปกติความยาวของ สายไม่ควรยาวมากเกินไป เพราะอาจทาให้เกิดปัญหาสัญญาณสูญหายไปกับความ ต้านทานของสาย การส่งโดยวิธีนี้จึงนิยมใช้กับการส่งข้อมูลในระยะทางใกล้ ๆ นอกจากการส่งข้อมูลหลักแล้ว อาจมีการส่งข้อมูลอื่น ๆ อีก เช่น บิตพาริตี ที่ ใช้ในการตรวจสอบความผิดพลาดของการรับสัญญาณที่ปลายทางหรือสายที่ควบคุม รู ปที่ 7 การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน การโต้ตอบ (Hand-Shake) 2) การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม ในการถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออก มาทีละบิต ระหว่างจุดส่งและจุดรับ การส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ากว่า แบบขนาน การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการตัวกลาง สาหรับการสื่อสารเพียงช่องเดียวหรือสายเพียงคู่เดียว ค่าใช้จ่าย จะถูกกว่าแบบขนาน สาหรับการส่งระยะทางไกลๆ โดยเฉพาะ เมื่อเรามีระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์ไว้ใช้งานอยู่แล้ว ย่อมจะ เป็นการประหยัดกว่าที่จะทาการติดต่อสื่อสารทีละ 8 ช่อง เพื่อ การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม จะเริ่มโดยข้อมูลจากจุด ส่งจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณอนุกรมเสียก่อน แล้วค่อยทยอย ส่งออกทีละบิตไปยังจุดรับ และที่จุดรับจะต้องมีกลไกในการ เปลี่ยนแปลงข้อมูลที่รับมาทีละบิต ให้เป็นสัญญาณแบบขนานซึ่ง ลงตัวพอดี เช่น บิตที่ 1 ลงที่บัสข้อมูลเส้นที่ 1 รู ปที่ 8 การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม การติดต่อแบบอนุกรมอาจจะแบ่งตามรูปแบบรับ-ส่ง ได้ 3 แบบ คือ 1) สื่อสารทางเดียว (Simplex) ข้อมูลส่งได้ทางเดียวเท่านั้น บางครั้งก็เรียกว่า การส่งทิศทางเดียว (Unidirectional Data Bus) เช่น การส่ง ข้อมูลไปยังเครื่องพิมพ์ การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ เป็นต้น 2) สื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (Half Duplex) ข้อมูลสามารถส่งได้ทั้งสองสถานี แต่จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ จะส่งและรับพร้อมกันไม่ได้ เช่น วิทยุ สื่อสารของตารวจ เป็นต้น 3) สื่อสารสองทางเต็มอัตรา (Full Duplex) ทั้งสองสถานีสามารถรับและส่งได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์ เป็นต้น 4
  • 5. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั รู ปที่ 9 รู ปแบบของการติดต่อสื่ อสารแบบอนุกรม 5