SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
สมดุลเคมี
  Chemical Equilibrium.
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้                           หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแล้วสามารถกลับมาเป็นอย่างเดิมได้อีกหรือในปฎิกริยาเคมี
หมายถึงการที่สารตั้งต้นเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ และในขณะเดียวกันสาร
ผลิตภัณฑ์ก็สามารถเปลี่ยนกลับมาเป็นสารตั้งต้นได้อีกถ้าการเปลี่ยนแปลงของสาร
หนึ่งๆ(สารตั้งต้น) ไปเป็นสารผลิตภัณฑ์จนหมดแสดงว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่าง
สมบูรณ์ ไม่สามารถผันกลับได้แต่ถ้าเปลี่ยนไปแล้วสามารถผันกลับได้เรียกว่าเป็น
การเปลี่ยนแปลงอย่างไม่สมบูรณ์จะเข้าสู่ สมดุล ได้
ภาวะสมดุล                      เมื่อระบบหนึ่งๆมีการเปลี่ยนแปลงชนิดผัน
    กลับได้ เมื่อการเปลี่ยนแปลงถึงภาวะหนึงสมบัติตางๆของระบบเช่น สี ปริมาณ สาร
                                         ่       ่
    ในระบบนั้นจะคงที่ ณ ภาวะนี้เรียกว่า ภาวะสมดุล ภาวะสมดุลนี้จะเกิดในระบบปิด
    เท่านัน!!
          ้
ภาวะสมดุลของระบบแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.ภาวะสมดุลระหว่างสถานะ
2.ภาวะสมดุลอิ่มตัว
3.ภาวะสมดุลในปฎิกิริยาเคมี
•สมดุลไดนามิก                          เป็นภาวะที่ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงใน
 ระบบอยู่ตลอดเวลา แต่ผลจากการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลานั้นยังทาให้ระบบมีสมบัติ
 คงที่ ทั้งนี้เพราะอัตราการเปลียนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเปลียนแปลง
                               ่                                  ่
 ย้อนกลับ
เมื่อปฎิกริยาเข้าสู่ภาวะสมดุล แสดงกราฟได้ดังนี้
โดยทั่วไปของภาวะสมดุลคือ                   มีการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า
และย้อนกลับอยู่ตลอดเวลานั้นคือโมเลกุลต่างๆมิได้หยุดนิ่ง อัตราการเปลี่ยนแปลงไป
ข้างหน้าและย้อนกลับมีค่าเท่ากัน ระบบต้องมีสมบัติคงที่ แต่ระบบที่มีสมบัติไม่คงที่ไม่
จาเป็นต้องอยู่ในภาวะสมดุลเสมอไป ต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบปิด
เท่านั้น
       ภาวะสมดุลในปฏิกิริยาเคมี เกิดโดยมีการเปลี่ยนแปลงกลับไปกลับมาระหว่าง
สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ ดังนั้นที่ภาวะสมดุลระบบจะต้องมีสารตั้งต้นและสาร
ผลิตภัณฑ์ครบทุกชนิดปนอยูด้วยกันในปริมาณที่คงที่(ไม่จาเป็นต้องเท่ากัน) เสมอ
                              ่
ที่ภาวะสมดุลที่ว่าสมบัติคงที่ เช่น ความเข้มคงที่ แต่ไม่ได้หมายความว่าสารทุกชนิด
ในระบบที่ภาวะสมดุลมีความเข้มข้นเท่ากัน หมายถึง สาร A มีโมเลกุลอยู่ x โมลก็
จะมีอยู่ X โมลโดยทีแต่ละโมลของสาร A ยังเปลียนไปเปลี่ยนมาอยูนั่นเอง
                     ่                           ่                 ่
•ค่าคงที่สมดุล                   อัตราส่วนระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของ
 ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด ยกกาลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจานวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้นๆ
 กับผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือยกกาลัง สัมประสิทธิ์บอกความ
 เข้มข้นของสารที่เหลือนั้น ที่ภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่เมื่ออุณหภูมิคงที่
        ค่าคงทีสมดุลคานวณได้จากความเข้มข้นของสารทีสมดุลเมื่อทราบค่าคงที่สมดุล
               ่                                           ่
 แล้วเราก็อาจ คานวณหาความเข้มข้นทีไม่ทราบค่าได้ค่าคงที่สมดุลช่วยให้เราทานาย
                                       ่
 ทิศทางการเกิดปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุลได้ และช่วยให้เราคานวณความเข้มข้นของสารตั้ง
 ต้นและสารผลิตภัณฑ์เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลแล้ว
ตัวอย่างสมการง่ายๆดังนี้




                      ไม่คดของแข็งและสารบริสทธิ์
                          ิ                 ุ
         เมื่อ K = ค่าสมดุล
              [ ] = ความเข้มข้นของสารมีหน่วยเป็น โมล/ลิตร
      a,b,c,d = สัมประสิทธิ์บอกจานวนโมลของสารในปฏิกิริยาที่สมดุลแล้ว
* หน่วยของค่าคงที่สมดุลที่ต่างกันไปสาหรับแต่ละปฎิกิริยาโดยปกติในการใช้ค่า K
  เราจะไม่สนใจที่หน่วย เนื่องจากไม่ค่อยสาคัญนัก แต่ สิงสาคัญคือ ค่าทีเ่ ป็นตัวเลข
                                                         ่
  จึงนามาใช้เฉพาะค่าตัวเลขเท่านั้น

* การบอกค่า K จะต้องอ้างถึงสมการเสมอ เพราะจานวนโมลของสารเปลียนไปค่า K
                                                                   ่
  จะเปลียนไปด้วย ปฏิกิริยาหนึ่งๆถ้ามี K มากแสดงว่าเกิดผลิตภัณฑ์ได้มากกว่า
        ่
  ปฏิกิริยาที่มีค่า K น้อย (ต้องพิจารณาที่อุณหภูมิเดียวกัน) ค่า K ไม่ได้บอกว่า
  ปฏิกิริยานั้นเร็วหรือช้าแต่จะบอกว่ามากหรือน้อย
ค่า K จะคงที่เสมอ สาหรับปฏิกิริยาหนึ่งไม่ว่าจะรบกวนด้วยสมดุลใดก็ตาม
    ยกเว้นอุณหภูมิ นั่นคือ K จะคงที่เมื่ออุณหภูมิคงที่ และจะเปลี่ยนไปเมื่ออุณหภูมิ
    เปลี่ยนไป
ค่า K เมือสมการเปลียนแปลง
           ่          ่
การรบกวนสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ความเข้มข้น
   ความเข้มข้นของสารมีผลต่อภาวะระบบแต่ไม่มีผลต่อค่าสมดุล (K)

    ถ้าเพิ่มความเข้มข้นในระบบภาวะสมดุล ระบบจะปรับตัวไปในทางที่จะลดความเข้มข้นที่
เติมลงไป(ตรงข้ามด้านที่เพิ่ม)
    ถ้าลดความเข้มข้นในระบบภาวะสมดุล ระบบจะปรับตัวไปในทางที่จะเพิ่มความเข้มข้นที่
เติมลงไป(ตรงข้ามด้านที่ลด)

    ระบบจะเข้าสู่สมดุลอีกครั้งซึ่งมีจานวนโมลของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ต่างไปจาก
สมดุลเดิม สมบัติก็จะต่างไปจากเดิม
อุณหภูมิ
- อุณหภูมิมีผลทาให้ค่า K เปลี่ยนไป
    ถ้าเพิ่มอุณหภูมิในปฏิกิริยาคายความร้อนมีผลให้สารผลิตภัณฑ์ค่า K น้อยลง
    ถ้าเพิ่มอุณหภูมิในปฏิกิริยาดูดความร้อนมีผลให้สารผลิตภัณฑ์ค่า K มากขึ้น
ความดัน
          ความดัน มีผลต่อความเข้มข้นของสารที่เป็นแก๊สเท่านั้น และไม่มีผลต่อค่า
  สมดุล (K)
- ถ้าเพิ่มความดันจะเกิดปฎิกิริยาจากโมลมากไปโมลน้อย
- ถ้าลดความดันจะเกิดปฎิกิริยาจากโมลน้อยไปโมลมาก
ตัวเร่งและตัวหน่วงของปฏิกิริยา
  • ตัวเร่งปฏิกิริยา : ช่วยทาให้เข้าภาวะสู่สมดุลเร็วขึ้น
  • ตัวหน่วงปฏิกิริยา : ช่วยทาให้เข้าสู่ภาวะสมดุลช้าลง
          ทั้งคู่ไม่มีผลความเข้มข้นและค่า K ของระบบ
•การคานวณค่าคงที่สมดุล                        : มีหลักต้องพิจารณาคือ
       เปลี่ยนปริมาณสารให้เป็นความเข้มข้น (โมล/ลิตร)
       แล้วพิจารณา 3 ขั้น คือ เริ่ม เปลี่ยน สมดุล
ตัวอย่าง
ความสัมพันธ์ระหว่างจลนศาสตร์เคมีกับสมดุลเคมี
สมมุติว่าปฏิกิริยาผันกลับได้ต่อไปนี้เกิดขึ้นด้วยกลไกที่ประกอบด้วยกระบวนการขั้น
  เดียว ทั้งในทิศทางไปข้างหน้าและย้อนกลับ




      อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าคือ
      อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนหลังคือ
ที่สมดุลอัตราของการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับย้อนกลับ




       อัตราส่วนนี้คงที่ และมีค่าเท่ากับค่าคงที่สมดุล Kc ดังนั้น การที่ Kc มี
ค่าคงที่เสมอไม่ว่าความเข้มข้นของสารในสมดุลจะเปลี่ยนไปอย่างไรนั้นเป็นเพราะ Kc
มีค่าเท่ากับอัตราส่วน kf/krซึ่งมีค่าคงที่ที่อุณหภูมิคงที่
•การหาทิศทางของปฏิกิริยา
      ผลหารปฏิกิริยา (reaction quotient, Qc) คือปริมาณที่ได้จากการแทนค่า
 ความเข้มข้นเริ่มต้นลงในสมการแสดงค่าคงที่สมดุล

  ในการหาว่าปฏิกิริยาจะเข้าสู่สมดุลในทิศทางใดต้องเปรียบเทียบค่าของ Qc กับ Kc
 ผลที่ได้จะเป็นหนึ่งในสามกรณีที่เป็นได้ต่อไปนี้
                               1. Qc > Kc
                               2. Qc = Kc
                               3. Qc < Kc
1. Qc > Kc
          อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับสารตั้งต้นมีค่าสูงเกินไป เพื่อเข้า
 สู่สมดุล สารผลิตภัณฑ์ต้องเปลี่ยนเป็นสารตั้งต้น ระบบจึงเกิดปฏิกิริยาจากขวาไปซ้าย
 (ผลิตภัณฑ์ลดลง สารตั้งต้นเพิ่มขึ้น) เพื่อเข้าสู่สมดุล

2. Qc = Kc
     ความเข้มข้นเริ่มต้นคือความเข้มข้นที่สมดุล ระบบอยู่ในสมดุล

3. Qc < Kc
     อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับสารตั้งต้นมีค่าต่าเกินไปเพื่อเข้าสู่
 สมดุล สารตั้งต้นต้องเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ระบบเกิดปฏิกิริยาจากซ้ายไปขวา (สารตั้งต้น
 ลดลง ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น)เพื่อเข้าสู่สมดุล
•หลักของเลอชาเตอลิเอ                           เมื่อระบบอยู่ในภาวะสมดุลถ้า
 มีการเปลี่ยนแปลงใดๆมารบกวนภาวะสมดุลของระบบ ทาให้ภาวะสมดุลของระบบ
 เปลี่ยนไป ระบบจะปรับตัวให้เข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่อีกครั้ง ในการปรับตัวนี้จะ
 ปรับตัวในทิศทางที่ทาให้อิทธิพลที่รบกวนเหลือน้อยที่สุด
•สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต
1.ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม การผลิตแอมโมเนียม
2.คนอาศัยในที่สูงมักมีความเข้มข้นของเลือดมากกว่าปกติ
อ้างอิง
http://www.electron.rmutphysics.com
เสนอ
คุณครูเยาว์ลกษณ์
            ั               บุตรศรี
                           สมาชิก
    นางสาวจริยา      อุยบวน         เลขที่ 27
   นางสาวจอมขวัญ         กล่าอินทร์ เลขที่ 28
  นางสาวจุฑารัตน์       พิมชะนก เลขที่ 29
  นางสาวสุนดา
           ิ           นิสสัยตรง เลขที่ 38
 นางสาวอมราภรณ์        จันฤาชัย เลขที่ 39
                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1

Contenu connexe

Tendances

การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
Maruko Supertinger
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
Manchai
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Arocha Chaichana
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
jirat266
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
Khwan Jomkhwan
 

Tendances (20)

ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 

Similaire à สมดุลเคมี1

สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2
Khwan Jomkhwan
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
gusuma
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
gusuma
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
kasorn
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
kamonmart
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
ja1122
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
nanny5941
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
kasorn
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
kasorn
 
เคมีม.6
เคมีม.6เคมีม.6
เคมีม.6
jitima
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
kamonmart
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
Gesika
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
Awirut619
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
korng001
 

Similaire à สมดุลเคมี1 (20)

สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reactionอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
 
เคมีม.6
เคมีม.6เคมีม.6
เคมีม.6
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Rate
RateRate
Rate
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

สมดุลเคมี1

  • 2. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแล้วสามารถกลับมาเป็นอย่างเดิมได้อีกหรือในปฎิกริยาเคมี หมายถึงการที่สารตั้งต้นเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ และในขณะเดียวกันสาร ผลิตภัณฑ์ก็สามารถเปลี่ยนกลับมาเป็นสารตั้งต้นได้อีกถ้าการเปลี่ยนแปลงของสาร หนึ่งๆ(สารตั้งต้น) ไปเป็นสารผลิตภัณฑ์จนหมดแสดงว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่าง สมบูรณ์ ไม่สามารถผันกลับได้แต่ถ้าเปลี่ยนไปแล้วสามารถผันกลับได้เรียกว่าเป็น การเปลี่ยนแปลงอย่างไม่สมบูรณ์จะเข้าสู่ สมดุล ได้
  • 3. ภาวะสมดุล เมื่อระบบหนึ่งๆมีการเปลี่ยนแปลงชนิดผัน กลับได้ เมื่อการเปลี่ยนแปลงถึงภาวะหนึงสมบัติตางๆของระบบเช่น สี ปริมาณ สาร ่ ่ ในระบบนั้นจะคงที่ ณ ภาวะนี้เรียกว่า ภาวะสมดุล ภาวะสมดุลนี้จะเกิดในระบบปิด เท่านัน!! ้ ภาวะสมดุลของระบบแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1.ภาวะสมดุลระหว่างสถานะ 2.ภาวะสมดุลอิ่มตัว 3.ภาวะสมดุลในปฎิกิริยาเคมี
  • 4. •สมดุลไดนามิก เป็นภาวะที่ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงใน ระบบอยู่ตลอดเวลา แต่ผลจากการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลานั้นยังทาให้ระบบมีสมบัติ คงที่ ทั้งนี้เพราะอัตราการเปลียนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเปลียนแปลง ่ ่ ย้อนกลับ
  • 6. โดยทั่วไปของภาวะสมดุลคือ มีการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า และย้อนกลับอยู่ตลอดเวลานั้นคือโมเลกุลต่างๆมิได้หยุดนิ่ง อัตราการเปลี่ยนแปลงไป ข้างหน้าและย้อนกลับมีค่าเท่ากัน ระบบต้องมีสมบัติคงที่ แต่ระบบที่มีสมบัติไม่คงที่ไม่ จาเป็นต้องอยู่ในภาวะสมดุลเสมอไป ต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบปิด เท่านั้น ภาวะสมดุลในปฏิกิริยาเคมี เกิดโดยมีการเปลี่ยนแปลงกลับไปกลับมาระหว่าง สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ ดังนั้นที่ภาวะสมดุลระบบจะต้องมีสารตั้งต้นและสาร ผลิตภัณฑ์ครบทุกชนิดปนอยูด้วยกันในปริมาณที่คงที่(ไม่จาเป็นต้องเท่ากัน) เสมอ ่ ที่ภาวะสมดุลที่ว่าสมบัติคงที่ เช่น ความเข้มคงที่ แต่ไม่ได้หมายความว่าสารทุกชนิด ในระบบที่ภาวะสมดุลมีความเข้มข้นเท่ากัน หมายถึง สาร A มีโมเลกุลอยู่ x โมลก็ จะมีอยู่ X โมลโดยทีแต่ละโมลของสาร A ยังเปลียนไปเปลี่ยนมาอยูนั่นเอง ่ ่ ่
  • 7. •ค่าคงที่สมดุล อัตราส่วนระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของ ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด ยกกาลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจานวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้นๆ กับผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือยกกาลัง สัมประสิทธิ์บอกความ เข้มข้นของสารที่เหลือนั้น ที่ภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าคงทีสมดุลคานวณได้จากความเข้มข้นของสารทีสมดุลเมื่อทราบค่าคงที่สมดุล ่ ่ แล้วเราก็อาจ คานวณหาความเข้มข้นทีไม่ทราบค่าได้ค่าคงที่สมดุลช่วยให้เราทานาย ่ ทิศทางการเกิดปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุลได้ และช่วยให้เราคานวณความเข้มข้นของสารตั้ง ต้นและสารผลิตภัณฑ์เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลแล้ว
  • 8. ตัวอย่างสมการง่ายๆดังนี้ ไม่คดของแข็งและสารบริสทธิ์ ิ ุ เมื่อ K = ค่าสมดุล [ ] = ความเข้มข้นของสารมีหน่วยเป็น โมล/ลิตร a,b,c,d = สัมประสิทธิ์บอกจานวนโมลของสารในปฏิกิริยาที่สมดุลแล้ว
  • 9. * หน่วยของค่าคงที่สมดุลที่ต่างกันไปสาหรับแต่ละปฎิกิริยาโดยปกติในการใช้ค่า K เราจะไม่สนใจที่หน่วย เนื่องจากไม่ค่อยสาคัญนัก แต่ สิงสาคัญคือ ค่าทีเ่ ป็นตัวเลข ่ จึงนามาใช้เฉพาะค่าตัวเลขเท่านั้น * การบอกค่า K จะต้องอ้างถึงสมการเสมอ เพราะจานวนโมลของสารเปลียนไปค่า K ่ จะเปลียนไปด้วย ปฏิกิริยาหนึ่งๆถ้ามี K มากแสดงว่าเกิดผลิตภัณฑ์ได้มากกว่า ่ ปฏิกิริยาที่มีค่า K น้อย (ต้องพิจารณาที่อุณหภูมิเดียวกัน) ค่า K ไม่ได้บอกว่า ปฏิกิริยานั้นเร็วหรือช้าแต่จะบอกว่ามากหรือน้อย
  • 10. ค่า K จะคงที่เสมอ สาหรับปฏิกิริยาหนึ่งไม่ว่าจะรบกวนด้วยสมดุลใดก็ตาม ยกเว้นอุณหภูมิ นั่นคือ K จะคงที่เมื่ออุณหภูมิคงที่ และจะเปลี่ยนไปเมื่ออุณหภูมิ เปลี่ยนไป ค่า K เมือสมการเปลียนแปลง ่ ่
  • 11.
  • 13. ความเข้มข้น ความเข้มข้นของสารมีผลต่อภาวะระบบแต่ไม่มีผลต่อค่าสมดุล (K) ถ้าเพิ่มความเข้มข้นในระบบภาวะสมดุล ระบบจะปรับตัวไปในทางที่จะลดความเข้มข้นที่ เติมลงไป(ตรงข้ามด้านที่เพิ่ม) ถ้าลดความเข้มข้นในระบบภาวะสมดุล ระบบจะปรับตัวไปในทางที่จะเพิ่มความเข้มข้นที่ เติมลงไป(ตรงข้ามด้านที่ลด) ระบบจะเข้าสู่สมดุลอีกครั้งซึ่งมีจานวนโมลของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ต่างไปจาก สมดุลเดิม สมบัติก็จะต่างไปจากเดิม
  • 14. อุณหภูมิ - อุณหภูมิมีผลทาให้ค่า K เปลี่ยนไป ถ้าเพิ่มอุณหภูมิในปฏิกิริยาคายความร้อนมีผลให้สารผลิตภัณฑ์ค่า K น้อยลง ถ้าเพิ่มอุณหภูมิในปฏิกิริยาดูดความร้อนมีผลให้สารผลิตภัณฑ์ค่า K มากขึ้น
  • 15. ความดัน ความดัน มีผลต่อความเข้มข้นของสารที่เป็นแก๊สเท่านั้น และไม่มีผลต่อค่า สมดุล (K) - ถ้าเพิ่มความดันจะเกิดปฎิกิริยาจากโมลมากไปโมลน้อย - ถ้าลดความดันจะเกิดปฎิกิริยาจากโมลน้อยไปโมลมาก
  • 16. ตัวเร่งและตัวหน่วงของปฏิกิริยา • ตัวเร่งปฏิกิริยา : ช่วยทาให้เข้าภาวะสู่สมดุลเร็วขึ้น • ตัวหน่วงปฏิกิริยา : ช่วยทาให้เข้าสู่ภาวะสมดุลช้าลง ทั้งคู่ไม่มีผลความเข้มข้นและค่า K ของระบบ
  • 17. •การคานวณค่าคงที่สมดุล : มีหลักต้องพิจารณาคือ เปลี่ยนปริมาณสารให้เป็นความเข้มข้น (โมล/ลิตร) แล้วพิจารณา 3 ขั้น คือ เริ่ม เปลี่ยน สมดุล ตัวอย่าง
  • 18. ความสัมพันธ์ระหว่างจลนศาสตร์เคมีกับสมดุลเคมี สมมุติว่าปฏิกิริยาผันกลับได้ต่อไปนี้เกิดขึ้นด้วยกลไกที่ประกอบด้วยกระบวนการขั้น เดียว ทั้งในทิศทางไปข้างหน้าและย้อนกลับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าคือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนหลังคือ
  • 19. ที่สมดุลอัตราของการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับย้อนกลับ อัตราส่วนนี้คงที่ และมีค่าเท่ากับค่าคงที่สมดุล Kc ดังนั้น การที่ Kc มี ค่าคงที่เสมอไม่ว่าความเข้มข้นของสารในสมดุลจะเปลี่ยนไปอย่างไรนั้นเป็นเพราะ Kc มีค่าเท่ากับอัตราส่วน kf/krซึ่งมีค่าคงที่ที่อุณหภูมิคงที่
  • 20. •การหาทิศทางของปฏิกิริยา ผลหารปฏิกิริยา (reaction quotient, Qc) คือปริมาณที่ได้จากการแทนค่า ความเข้มข้นเริ่มต้นลงในสมการแสดงค่าคงที่สมดุล ในการหาว่าปฏิกิริยาจะเข้าสู่สมดุลในทิศทางใดต้องเปรียบเทียบค่าของ Qc กับ Kc ผลที่ได้จะเป็นหนึ่งในสามกรณีที่เป็นได้ต่อไปนี้ 1. Qc > Kc 2. Qc = Kc 3. Qc < Kc
  • 21. 1. Qc > Kc อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับสารตั้งต้นมีค่าสูงเกินไป เพื่อเข้า สู่สมดุล สารผลิตภัณฑ์ต้องเปลี่ยนเป็นสารตั้งต้น ระบบจึงเกิดปฏิกิริยาจากขวาไปซ้าย (ผลิตภัณฑ์ลดลง สารตั้งต้นเพิ่มขึ้น) เพื่อเข้าสู่สมดุล 2. Qc = Kc ความเข้มข้นเริ่มต้นคือความเข้มข้นที่สมดุล ระบบอยู่ในสมดุล 3. Qc < Kc อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับสารตั้งต้นมีค่าต่าเกินไปเพื่อเข้าสู่ สมดุล สารตั้งต้นต้องเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ระบบเกิดปฏิกิริยาจากซ้ายไปขวา (สารตั้งต้น ลดลง ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น)เพื่อเข้าสู่สมดุล
  • 22. •หลักของเลอชาเตอลิเอ เมื่อระบบอยู่ในภาวะสมดุลถ้า มีการเปลี่ยนแปลงใดๆมารบกวนภาวะสมดุลของระบบ ทาให้ภาวะสมดุลของระบบ เปลี่ยนไป ระบบจะปรับตัวให้เข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่อีกครั้ง ในการปรับตัวนี้จะ ปรับตัวในทิศทางที่ทาให้อิทธิพลที่รบกวนเหลือน้อยที่สุด
  • 25. เสนอ คุณครูเยาว์ลกษณ์ ั บุตรศรี สมาชิก นางสาวจริยา อุยบวน เลขที่ 27 นางสาวจอมขวัญ กล่าอินทร์ เลขที่ 28 นางสาวจุฑารัตน์ พิมชะนก เลขที่ 29 นางสาวสุนดา ิ นิสสัยตรง เลขที่ 38 นางสาวอมราภรณ์ จันฤาชัย เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1