SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  159
Télécharger pour lire hors ligne
วารสารพิกุล
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2560 ISSN 0858-527X
เจ้าของ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมและรองรับการตีพิมพ์ เผยแพร่ ผลงานวิชาการ ในรูปแบบบทความวิชาการ
บทความวิจัย บทความวิทยานิพนธ์ และบทวิจารณ์หนังสือ ที่เป็นองค์ความรู้ทางด้านมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ ของคณาจารย์ภายในมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัย นักวิชาการ บุคลากร
ทางการศึกษา นิสิต และนักศึกษา
ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ สุวิทย์ วงษ์บุญมาก อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุชิน รอดกาเหนิด คณบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
บรรณาธิการ
ดร.วิชุรา วินัยธรรม รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
กองบรรณาธิการ
ศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก ปัทมศิริวัฒน์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
ศาสตราจารย์ ดร.วัลลภ รัฐฉัตรานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.โสรีช์ โพธิแก้ว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.กานต์ โกวิทย์สมบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
รองศาสตราจารย์ ดร.แมรี่ สารวิทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
รองศาสตราจารย์ ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร มหาวิทยาลัยนเรศวร
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรันย์ วงศ์คาจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
รองศาสตราจารย์ ดร.ทวนทอง เชาวกีรติพงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทรี ดวงทิพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
รองศาสตราจารย์ มัย ตะติยะ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
รองศาสตราจารย์ อรุณลักษณ์ รัตนพันธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
วารสารพิกุล
ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความประจาฉบับ (Peer review)
รองศาสตราจารย์ ดร.เทียมจันทร์ พาณิชย์พลินไชย มหาวิทยาลัยนเรศวร
รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
รองศาสตราจารย์ ดร.สาราญ มีแจ้ง มหาวิทยาลัยนเรศวร
รองศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร คงศิริรัตน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
รองศาสตราจารย์ ดร.ธงชัย สมบูรณ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
รองศาสตราจารย์ เปรมวิทย์ วิวัฒนเศรษฐ์ มหาวิทยาลัยพะเยา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุจโรจน์ แก้วอุไร มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีรธร บุณยรัตพันธ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยศระวี วายทองคา มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ วัฒนะ มหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พระครูปริยัติกิตติธารง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โกนิฏฐ์ ศรีทอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรชัย เต็งรัตน์ล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง
ดร.กรกนก สารภิรมย์ มหาวิทยาลัยมหิดล
บทความทุกเรื่องที่ตีพิมพ์ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ทัศนะและ
ข้อคิดเห็นของบทความในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือเป็นทัศนะและความ
รับผิดชอบของบรรณาธิการ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษา
แต่ขอให้มีการอ้างอิงเจ้าของบทความ และแหล่งที่มา อย่างครบถ้วนสมบูรณ์
พิมพ์ที่: ห้างหุ้นส่วนสามัญ เจ พี ปริ้นท์
เลขที่ 266 ถนนเทศา 2 ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร 62000 โทร. 081-7856368
วารสารพิกุล
บทบรรณาธิการ
วารสารพิกุลฉบับนี้ เป็นวารสารวิชาการของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ตีพิมพ์เป็นปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2560)
เนื้อหาภายในประกอบด้วย จานวน 3 บทความวิจัย และ 5 บทความวิชาการ ครอบคลุมเนื้อหา
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประกอบด้วยบทความเรื่อง
1. เทคโนโลยีเสมือนจริงในงานห้องสมุด
2. เป็นอยู่และดารงอยู่ของครูไทย: อิทธิพลจากปริบทของรัฐชาติไทยแลนด์ 4.0
3. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาสุขภาวะของหมู่บ้าน: กรณีศึกษา
บ้านนครชุม จังหวัดกาแพงเพชร
4. การศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
5. พระสังฆาธิการกับการบริหารจัดการวัดสู่ความเป็นเลิศ
6. กลไกพัฒนาสมรรถนะนักปกครองระดับเจ้าอาวาสตามหลักพุทธธรรม
7. เพลงพื้นบ้านท่าโพ กลุ่มเพลงพื้นบ้านท่าโพ
8. ฟ้อนแขบลาน: จีวร ภาพสิงห์
ในนามกองบรรณาธิการหวังว่าเนื้อหาบทความในวารสารพิกุลฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อ
ผู้อ่าน ในการนาองค์ความรู้ ผลงานวิจัย ผลจากการศึกษาและวิจัยไปประยุกต์ใช้ในงานด้านวิชาการ
การเรียนการสอน และการวิจัย ของท่านไม่มากก็น้อย
ในโอกาสนี้ บรรณาธิการขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์วารสารพิกุลปีที่ 15
ฉบับที่ 1 นี้จนสาเร็จลุล่วงด้วยดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าของบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจพิจารณา
บทความ และคณะทางานทุกฝ่าย และขอขอบคุณผู้อ่าน ที่ท่านให้ความสนใจวารสารพิกุลของ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร และพบกันใหม่ฉบับหน้า
บรรณาธิการ
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล
สารบัญ
เทคโนโลยีเสมือนจริงในงานห้องสมุด
(Augmented Reality (AR) in the Library)
อนุชา พวงผกา Anucha Puangpaka และ สุวิทย์ วงษ์บุญมาก Suwit Wongboonmak ……….1
เป็นอยู่และดารงอยู่ของครูไทย: อิทธิพลจากปริบทของรัฐชาติไทยแลนด์ 4.0
(Thai Teachers’ Being and Existence: The Influences of Thailand 4.0 Contextualization)
ธงชัย สมบูรณ์ Thongchai Somboon …………………………………………………………………………..19
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาสุขภาวะของหมู่บ้าน: กรณีศึกษา บ้านนครชุม
จังหวัดกาแพงเพชร
(Community Participation in the Village Health Solution: A Case Study of Ban
Nakhonchum, Kamphaeng Phet Province)
อิสราวัชร เฟื่องอิ่ม Itsaravatchara Fuangim ………………………………………………………………..29
การศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
(Employers’ Satisfaction toward the Computer Science Graduate Students from
Kamphaeng Phet Rajabhat University)
นุจรินทร์ ปทุมพงษ์ Nujarin Pathumpong และ ประพัชร์ ถูกมี Prapatch Toogmee ............43
พระสังฆาธิการกับการบริหารจัดการวัดสู่ความเป็นเลิศ
(Buddhist Ecclesiastical Officials and Buddhist Monasteries Administration
for Best Practice)
นพดล นวคุโณ (ถ่อนสันเทียะ) Nabhadon Nawakuno (Thonsantia)……….....…….……......…57
กลไกพัฒนาสมรรถนะนักปกครองระดับเจ้าอาวาสตามหลักพุทธธรรม
(The Mechanism for Development the Administration’s Ability of Abbot by
Buddhist Dhamma)
สมสวย เจริญใจธนะกุล Somsuoy Chareonjaithanakul ........................................................75
เพลงพื้นบ้านท่าโพ กลุ่มเพลงพื้นบ้านท่าโพ
(Thai Folk Song : Tapoh Local Song)
ปิยนาฏ ปั้นนาค Piyanart Pannak และ นุชนาฏ ดีเจริญ Nutchanart Dechareon ……………93
ฟ้อนแขบลาน: จีวร ภาพสิงห์
(Fon Khap Larn: Jeewon Paapsing)
ภัทราพร สุขศิริ Pattarporn Suksiri และ นุชนาฏ ดีเจริญ Nutchanart Dechareon …………111
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล
อนุชา พวงผกา1
Anucha Puangpaka
สุวิทย์ วงษ์บุญมาก2
Suwit Wongboonmak
บทคัดย่อ
AugmentedRealityหรือ AR เป็นเทคโนโลยีใหม่ ที่นำโลกแห่งควำมจริง
(Real) ผสำนเข้ำกับโลกเสมือน (Virtual) โดยใช้เทคนิคกำรแทนที่วัตถุด้วยภำพ
3 มิติ ลอยอยู่เหนือควำมเป็นจริง ทำให้ภำพที่เห็นตื่นเต้นและเร้ำใจยิ่งขึ้น
เหมือนได้สัมผัสกับวัตถุชิ้นนั้นจริง ๆ เทคโนโลยีเสมือนยังให้ควำมรู้สึกเหมือนได้
เข้ำไปร่วมกิจกรรมนั้น ๆ โดยตรง เป็นกำรเปลี่ยนแปลงกำรนำเสนอในรูปแบบ
ใหม่ จำกกำรศึกษำพบว่ำมีกำรนำ AR มำประยุกต์ใช้งำนในหลำกหลำยรูปแบบ
เพื่ออำนวยควำมสะดวกต่อผู้ให้บริกำรและผู้รับบริกำรและที่สำคัญกำรนำ AR
มำใช้ในห้องสมุดมีแนวโน้มที่ผู้ใช้บริกำรให้ควำมชื่นชอบและสนใจ
คาสาคัญ: บริกำรห้องสมุด เทคโนโลยีเสมือนจริง กำรส่งเสริมกำรใช้บริกำร
สำรสนเทศ
1
อำจำรย์, สำขำวิชำบรรณำรักษศำสตร์และสำรสนเทศศำสตร์ คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์
มหำวิทยำลัยรำชภัฏกำแพงเพชร
2
รองศำสตรำจำรย์, อธิกำรบดีมหำวิทยำลัยรำชภัฏกำแพงเพชร
เทคโนโลยีเสมือนจริงในงานห้องสมุด
Augmented Reality (AR) in the Library
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 25602
Abstract
Augmented Reality or AR is new technology integrated
with the real world and the virtual world using 3D (replacement
objects techniques). It would be arouse eye sight to feel real. In
addition, virtual technology let you feel to join in that activity. AR
can be adapted in various way to support entrepreneur. The AR
techrology likely makes intersts and attracts people who are using
the library.
Keyword: Library service, Augmented reality, Information services
บทนา
ปัจจุบันเทคโนโลยีเสมือนจริง (AR) ได้มีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่องและ
ได้นำมำประยุกต์ใช้กับงำนด้ำนต่ำงๆ อำทิ ด้ำนศิลปะด้ำนกำรแพทย์ ด้ำนกำรศึกษำ
ด้ำนกำรทหำร ด้ำนกำรพำณิชย์ ด้ำนวิศวกรรม ด้ำนวิทยำศำสตร์ ด้ำนบันเทิง
เป็นต้น บทควำมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกล่ำวถึงเทคโนโลยีเสมือนจริงและแสดง
ถึงประโยชน์จำกกำรนำเทคโนโลยีเสมือนจริงไปใช้ในด้ำนต่ำง ๆ และที่สำคัญ
นำไปใช้ในงำนห้องสมุดและแนวโน้มของกำรใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงในอนำคต
เพื่อเพิ่มช่องทำงและรูปแบบกำรให้บริกำรที่น่ำสนใจ และมีควำมทันสมัย
เพื่อให้ผู้ใช้บริกำรเข้ำถึงกำรบริกำรได้ง่ำยสะดวกและรวดเร็ว
ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน
เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR)
เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR) ถูกคิดค้นขึ้นระหว่ำงปี
ค.ศ. 1960 - 1966 ผ่ำนอุปกรณ์ที่ชื่อ Sword of Damocles ซึ่งมีลักษณะเป็น
หมวกครอบหัว ครอบตำและมีกำรเดินสำยเชื่อมอุปกรณ์ไปยังคอมพิวเตอร์
ขนำดใหญ่ โดยคนสวมใส่จะสำมำรถเห็นโลกจำลองผ่ำนอุปกรณ์ที่สวมอยู่
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 3
และสำมำรถหันซ้ำยหันขวำ มองบนและล่ำงเพื่อเปลี่ยนทิศทำง แต่ทั้งนี้อุปกรณ์
สวมใส่เหล่ำนี้ก็มักจะมีปัญหำทำให้คนสวมเกิดอำกำรเวียนศีรษะ คลื่นไส้
เนื่องจำกควำมถี่ของภำพที่เรำเห็นในอุปกรณ์นั้นไม่เหมือนกับควำมเป็นจริง
ที่คุ้นเคย ทำให้สมองเกิดอำกำรเมำและอำเจียนออกมำได้ ปัจจุบันจึงมักจะมอง
ผ่ำนเครื่องที่ไม่ได้มีกำรขยับมำกและอำศัยพื้นที่ขนำดใหญ่แทนกำรครอบ
เช่น เครื่องจำลองกำรบินที่แสดงภำพท้องฟ้ำจำลองบนหน้ำจอ เพื่อที่นักบินได้
ฝึกใช้แผงอุปกรณ์ควบคุมเครื่องบินได้คล่องก่อนที่จะลองบินกับเครื่องบินจริง
ค.ศ. 2012 บริษัท Microsoft และ Google ได้เริ่มเปิดตัว AR กับอุปกรณ์
ใหม่ ๆ ที่จะสำมำรถใช้ในกำรประกอบธุรกิจ ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมไปถึง
กำรเล่นเกมได้อย่ำงสมจริงในรำคำที่เข้ำถึงได้และเปิดตัวให้คนทั่วไปได้เป็น
เจ้ำของ อำทิ Google Glass (AR) หรือ “Smart Glasses” ของ Google เรียกได้
ว่ำเป็นอุปกรณ์ “AR” ตัวแรกที่ทำให้คนทั่วโลกต่ำงสงสัยและตื่นตะลึงกับเทคโนโลยี
ประเภทนี้ ปัจจุบันแว่นตำของ Google นั้นมีขนำดเล็ก สำมำรถใช้ดูแผนที่
กำรเดินทำง บันทึกภำพและวิดีโอ ค้นหำข้อมูลต่ำง ๆ บนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต
ผ่ำนระบบกำรฟังหรือพูดและกำรสัมผัสด้ำนแว่นตำได้อย่ำงทันที Microsoft
ออกผลิตภัณฑ์ “Hololens” โดยเป็นอุปกรณ์สวมใส่บนหัวแต่มีลักษณะกำรทำงำน
แบบ “AR” นำแสงมำแสดงเป็นภำพกรำฟฟิกบนแว่นตำ ทำให้เห็นเหมือนภำพ
เหล่ำนั้นได้ปรำกฏจริงอยู่ต่อหน้ำ โดยไม่จำเป็นต้องใช้ภำพรหัส AR Code ใด ๆ
AR เป็นเทคโนโลยีที่สำมำรถนำเสนอภำพลักษณ์ในรูปแบบ Digital
Campaign แบบต่ำง ๆ ที่สร้ำงประสบกำรณ์ใหม่ ๆ ให้กับผู้บริโภค ตลำด
Digital Media มีแข่งขันกันและเติบโตสูงขึ้น ทำให้เกิดกำรตลำดบนโลกออนไลน์
อย่ำงมำก ส่วนหนึ่งเป็นผลมำจำกกำรเติบโตของ Social Media ที่นักกำรตลำดโลก
เริ่มเห็นควำมเป็นไปได้และมั่นใจในกำรทำตลำดบนโลกออนไลน์และทุ่ม
งบประมำณมำบนตลำดดิจิตอล
AR จัดเป็นเทคโนโลยี Interactive บนเว็บไซต์ที่มำแรง (Gartner, 2016)
ที่สุดในฝั่งอเมริกำ และยังแรงต่อเนื่องคำดกำรณ์ว่ำยังมีอีกหลำกหลำย Campaign
ทำงกำรตลำดที่จะหยิบเทคโนโลยีนี้มำใช้ รวมทั้งเกมส์ Console ที่เป็นลักษณะ
ของ กำรเล่นแบบ AR ยังไม่รวมสื่อช่องทำงอื่น ๆ ที่สำมำรถนำเทคโนโลยีนี้ไป
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 25604
ประยุกต์ใช้นอกเหนือจำกบนโลก Online จะเห็นได้จำกตอนมีกำรนำไปสร้ำง
จุดเด่นตำมร้ำนจำหน่ำยเสื้อผ้ำ Brand ชั้นนำทั้งเสื้อผ้ำและรองเท้ำ แม้กระทั่ง
เครื่องดื่ม
ภำพที่ 1 เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR)
ที่มำ https://blogs.exeter.ac.uk
หลักการของเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality)
กำรทำงำนของเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR)
ด้วยฮำร์ดแวร์ เช่น กล้องถ่ำยรูป เข็มทิศ GPS จำกนั้นข้อมูลจะถูกนำมำประมวลผล
ในส่วนของซอฟต์แวร์ในปัจจุบันยังมีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่รองรับเทคโนโลยี AR อำทิ
Eyeglasses เป็นกำรแสดงผลวัตถุเสมือนผ่ำนเลนส์ของแว่นตำ หรือ Head-
mounted ที่อยู่ในรูปแบบของหมวกนิรภัย เป็นต้น
กำรพัฒนำเทคโนโลยี AR โดยภำพเสมือนจริงที่ปรำกฏขึ้นจะมีปฏิสัมพันธ์
กับผู้ใช้ได้ทันที ทั้งในลักษณะที่เป็นภำพนิ่งสำมมิติ ภำพเคลื่อนไหว หรืออำจจะเป็น
สื่อที่มีเสียงประกอบ ขึ้นอยู่กับกำรออกแบบสื่อแต่ละรูปแบบ ว่ำให้ออกมำแบบใด
โดยกระบวนกำรภำยในของเทคโนโลยีเสมือนจริง ประกอบด้วย 3 กระบวนกำร
(พนิดำ ตันศิริ, 2553) ได้แก่
1. กำรวิเครำะห์ภำพ (Image Analysis) เป็นขั้นตอนกำรค้นหำ Marker
จำกภำพที่ได้จำกกล้องแล้วสืบค้นจำกฐำนข้อมูล (Marker Database) ที่มีกำรเก็บ
ข้อมูลขนำดและรูปแบบของ Marker เพื่อนำมำวิเครำะห์รูปแบบของ Marker
กำรวิเครำะห์ภำพ สำมำรถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) Marker Based AR เป็น
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 5
กำรวิเครำะห์ภำพโดยอำศัย Marker (วัตถุสัญลักษณ์) เป็นหลักในกำรทำงำน
2) Marker-less Based AR เป็นกำรวิเครำะห์ภำพที่ใช้คุณลักษณะต่ำง ๆ ที่อยู่ใน
ภำพ (Natural Features) มำทำกำรวิเครำะห์เพื่อคำนวณหำค่ำตำแหน่งเชิง 3
มิติ (3D Pose) เพื่อนำไปใช้งำน
2.กำรคำนวณค่ำตำแหน่งเชิง 3มิติ (PoseEstimation)ของ Markerเทียบ
กับกล้อง
3. กระบวนกำรสร้ำงภำพสองมิติ จำกโมเดลสำมมิติ (3D Rendering)
เป็นกำรเพิ่มข้อมูลเข้ำไปในภำพ โดยใช้ค่ำตำแหน่ง เชิง 3 มิติ ที่คำนวณได้ จนได้
ภำพเสมือนจริง
องค์ประกอบของเทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR)
- AR Code หรือตัว Marker ใช้ในกำรกำหนดตำแหน่งของวัตถุ
- Eye หรือ กล้องวิดีโอ กล้องเว็บแคม กล้องโทรศัพท์มือถือ หรือตัวจับ
Sensor อื่น ๆ ใช้มองตำแหน่งของ AR Code แล้วส่งข้อมูลเข้ำ AR Engine
- AR Engine เป็นตัวส่งข้อมูลที่อ่ำนได้ผ่ำนเข้ำซอฟต์แวร์หรือส่วน
ประมวลผล เพื่อแสดงเป็นภำพต่อไป

- Display หรือจอแสดงผลเพื่อให้เห็นผลข้อมูลที่ AR Engine ส่งมำให้
ในรูปแบบของภำพหรือวีดีโอหรืออีกวิธีหนึ่งเรำสำมำรถรวมกล้อง AR Engine และ
จอภำพ เข้ำด้วยกันในอุปกรณ์เดียวได้ อำทิ โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น (Diana, 2016)
ภำพที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR)
ที่มำ http://www.apple.com
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 25606
เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR) บนโทรศัพท์มือถือ
โทรศัพท์มือถืออัจฉริยะ หรือ สมำร์ทโฟน (Smart Phone) ถือเป็นจุด
เปลี่ยนแนวคิดทำงกำรตลำดของกำรโฆษณำ เพรำะด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง
บนโทรศัพท์มือถือ ทำให้ผู้ใช้สำมำรถรับข้อมูลหรือข่ำวสำรได้ทันที ปัจจุบัน
ผู้ใช้งำนโทรศัพท์มือถือคงหลีกเลี่ยงกำรใช้งำนโทรศัพท์แบบ Smart Phone
ไม่ได้เพรำะ Application (Apps) บนโทรศัพท์มือถือช่วยให้ชีวิตประจำวันของ
หลำย ๆ ท่ำนสะดวกสบำยยิ่งขึ้น อำทิ กำรสนทนำผ่ำน Message, LINE กำรรับ
ข้อมูลเร่งด่วนทันที่ Twitter, Facebook และ Line และอีกหลำย ๆ โปรแกรม
ประยุกต์ (Application)ใช้เทคโนโลยี ARเพื่อประโยชน์ในกำรโฆษณำประชำสัมพันธ์
กำรตลำดและดูเหมือนว่ำจะเป็นแนวทำงใหม่ ที่ทำให้กำรขำยสินค้ำมีแนวโน้มที่
ดีขึ้น ผู้บริโภคไม่ต้องเดินทำงไปยังสถำนที่ขำยสินค้ำ ก็สำมำรถที่จะดูสินค้ำนั้น ๆ
ผ่ำนโทรศัพท์มือถือได้ ทำให้กำรตัดสินใจในกำรจับจ่ำยสินค้ำง่ำยขึ้น หรือบำงที
สำมำรถชื้อสินค้ำชิ้นนั้น ๆ ออนไลน์ได้ทันที บริษัทหลำย ๆ บริษัทเริ่มมีกำรพัฒนำ
โปรแกรมประยุกต์ (Apps) ที่มีกำรใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อตรวจสอบควำม
ต้องกำรของลูกค้ำ จำลองสินค้ำก่อนที่จะผลิตหรือผลิตส่วนน้อยถ้ำมีผู้บริโภค
ต้องกำรและทำกำรสั่งสินค้ำก็จะทำกำรผลิตสินค้ำชิ้นนั้น ๆ ทำให้บริษัทผู้ผลิต
ลดต้นทุน กำรผลิตได้อย่ำงดี ระบบปฏิบัติกำรของโทรศัพท์มือถือที่รองรับ
เทคโนโลยี AR คือ iOS Android และ Windows Phone
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR)
ปัจจุบันมีกำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR)
เข้ำกับชีวิตประจำวัน อำทิ
การประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น อุตสำหกรรมสร้ำงเครื่องบิน
อุตสำหกรรมผลิตรถยนต์ โดยบริษัท BMW ได้ใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงมำช่วย
ในกำรผลิต โดยให้ผู้ใช้ได้เรียนรู้กำรทำงำนด้วยกำรใส่แว่นตำที่จะมีคำแนะนำ
และจำลองกำรทำงำน แสดงให้เห็นแต่ละขั้นตอนก่อนปฏิบัติจริงแบบ 3 มิติ
กำรนำเสนอผลิตภัณฑ์ กำรอธิบำยถึงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ โดยเทคโนโลยี
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 7
เสมือนจริงจะจำลองข้อมูลให้ผู้ใช้ได้เห็นเหมือนใช้งำนจริง ๆ เห็นภำพลักษณ์
ของกำรใช้งำน ประโยชน์ของกำรใช้รถ BMW แต่ละรุ่น คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์
อรรถประโยชน์ที่จะได้จำกกำรชื้อสินค้ำเพื่อให้ผู้ใช้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องก่อนตัดสินใจชื้อ
กำรจำลองกำรขับทำให้ผู้ใช้เสมือนได้ขับรถคันนั้นจริงทำให้ลูกค้ำรู้สึกดี และมีแนวโน้ม
ตัดสินใจชื้อสินค้ำนั้น ๆ
ภำพที่ 3 กำรประยุกต์ใช้ในอุตสำหกรรม
ที่มำ https://play.google.com
การประยุกต์ใช้ทางด้านการแพทย์ กำรแพทย์เพิ่มควำมสมจริงในกำรรักษำ
และให้นักศึกษำแพทย์ได้ใช้เครื่องมือแพทย์ในกำรรักษำหรือผ่ำตัดผู้ป่วยแบบ
ไม่ต้องสัมผัสกับผู้ป่วยจริง ทำให้กำรผ่ำตัดของนักศึกษำแพทย์มีควำมกล้ำและ
ได้ศึกษำขั้นตอนกำรผ่ำเหมือนได้ทำกำรผ่ำตัดจริง มีกำรนำเทคโนโลยีเสมือนจริง
จำลองกำรผ่ำตัดผ่ำนระบบ ARI*SER โดยทำงมหำวิทยำลัยแพทยศำสตร์ Ganz
ได้แปลงให้เป็นระบบจำลองกำรผ่ำตัดตับเสมือนจริง ผ่ำตัดระบบศัลยแพทย์
(Gaudiosi, 2016)
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 25608
ภำพที่ 4 กำรประยุกต์ใช้ทำงกำรแพทย์
ที่มำ http://uploadvr.com
ภำพที่ 5 กำรประยุกต์ใช้ทำงกำรแพทย์
ที่มำ https://www.linkedin.com
การประยุกต์ใช้ทางด้านธุรกิจ กำรซื้อขำยทำงกำรเงินด้วยเทคโนโลยี
CYBERII สำมำรถให้ผู้ใช้งำนกำหนดบทบำทของตัวแทนจำหน่ำยในสภำพแวดล้อม
เสมือนจริงที่สำมำรถเสนอรำคำในกำรซื้อขำย โดยใช้ลูกบอลสีเหลืองแสดง
รำคำซื้อและลูกบอลสีแดงแสดงรำคำขำย ทำให้ผู้ใช้สำมำรถจำลองกำรซื้อขำย
ทำงกำรเงินได้เสมือนจริง กำรขำยในด้ำนนี้เริ่มหันมำใช้ AR เพื่อนำเสนอสินค้ำ
และกำรขำยที่สร้ำงควำมน่ำสนใจให้กับลูกค้ำ โดยมีกำรประยุกต์เข้ำกับ Smart
Phone เพื่อให้ลูกค้ำสำมำรถสแกนรูปถ่ำยของสินค้ำและแสดงข้อมูลของสินค้ำ
เพิ่มเติมในรูปแบบวิดีโอและสื่อ 3 มิติ หรือกำรนำมำใช้เพื่อจำลองกำรใช้งำนสินค้ำ
นั้น ๆ เช่น จำลองกำรสวมใส่เสื้อผ้ำหรือเครื่องประดับบนร่ำงกำยของลูกค้ำ เป็นต้น
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 9
ภำพที่ 6 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนธุรกิจ
ที่มำ https://www.pinterest.com
การประยุกต์ใช้ทางด้านการโฆษณา โทรศัพท์มือถือซัมซุงนำเทคโนโลยี
MobileAR มำสร้ำงกำรรับรู้เพื่อให้ลูกค้ำได้ทรำบถึงระบบปฏิบัติกำรใหม่บนมือถือ
Samsung Wave และให้วูดดี้ (ดำรำและนักแสดง) เป็นผู้นำเสนอวิธีกำรใช้งำน
ผ่ำนเทคโนโลยีเสมอจริงในรูปแบบสำมมิติ โดยลูกค้ำสำมำรถใช้เว็บแคมและ
เครื่องพิมพ์ ประกอบกับซอฟต์แวร์ต่ำง ๆ ที่มีภำยใต้ระบบปฏิบัติกำร BADA ของ
Samsung เรียกใช้โปรแกรมประยุกต์ต่ำง ๆ เพื่อใช้งำนตำมต้องกำรเทคโนโลยีของ
Ford All New Focus นำเสนอข้อมูลผ่ำนสื่อใหม่อย่ำงโทรศัพท์มือถือ สัมผัส
ประสบกำรณ์โฆษณำ All New Focus แบบ Augmented Reality
ภำพที่ 7 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนกำรโฆษณำ
ที่มำ http://www.trendy2.mobi
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256010
การประยุกต์ใช้กับการท่องเที่ยวนำเทคโนโลยีเสมือนจริงไปใช้เพื่อแนะนำ
ประเทศไทยในงำน “The World Exposition Shanghai China 2010” ภำยใต้
แนวคิด “Thainess:Sustainable Ways of Life” และได้นำเสนอนิทรรศกำรภำยใน
อำคำรศำลำไทยแยกเป็น 3 ส่วน คือห้องจัดแสดงนิทรรศกำร ที่ 1เรื่อง “จำกต้นสำย
แหล่งกำเนิด:AJourneyofHarmony”ห้องจัดแสดงนิทรรศกำรที่ 2เรื่อง “เกิดร้อย
พันพลำยวิถี: A Harmony of Different Tones” และห้องจัดแสดงนิทรรศกำรที่ 3
เรื่อง “หลอม รวมชีวิตวิถีควำมเป็นไทย: A Harmony of Thais” ในแต่ละห้อง
นิทรรศกำรจะนำ เสนอเอกลักษณ์ของควำมเป็นไทยที่เกิดจำกกำรพัฒนำด้ำนต่ำง ๆ
ผ่ำนเทคโนโลยีเสมือนจริง ตำรวจท่องเที่ยวพัฒนำกำรให้บริกำร อำนวยควำมสะดวก
แก่นักท่องเที่ยว “Thailand Tourist Trips and Tips AR Book” ซึ่งเป็นกำรนำ
เทคโนโลยี AR (Augmented Reality หรือ AR Code) ในกำรเพิ่มประสิทธิภำพ
ในกำรให้บริกำรและประชำสัมพันธ์ข้อมูลต่ำง ๆ ที่ควรทรำบให้กับนักท่องเที่ยว
เร่งสร้ำงควำมเชื่อมั่นด้ำนควำมปลอดภัยกับกำรท่องเที่ยวไทย และภำพลักษณ์ที่ดี
ด้ำนกำรท่องเที่ยวของประเทศเพื่อกำรก้ำวสู่กำรเป็นศูนย์กลำงกำรท่องเที่ยวแห่ง
เอเชีย (Tourism Capital of Asia) (Kampayy, 2015)
ภำพที่ 8 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนกำรท่องเที่ยว
ที่มำ http://9krapalm.com
การประยุกต์ใช้ทางด้านพิพิธภัณฑ์ ระบบพิพิธภัณฑ์เสมือนสำมมิติ
ด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ถูกพัฒนำขึ้นด้วยเครื่องมือ OpenSourceที่เรียกว่ำ
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 11
ซอฟต์แวร์ Open Simulator โดยพื้นที่ทั้งหมดจะเป็น 3 มิติ เปิดให้ผู้ดูแลระบบ
และผู้ใช้งำนสำมำรถสร้ำงหรือนำเข้ำวัตถุจำลองเสมือน ตั้งแต่สิ่งของ อำคำรขนำด
สถำนที่จำลอง รวมไปถึงวัตถุขนำดเล็ก และสำมำรถนำสื่อมัลติมีเดียเข้ำใช้งำน
ในระบบได้ ในกำรเข้ำใช้งำนระบบผู้ใช้งำนต้องสมัครเป็นสมำชิกที่ http://vl.sut.ac.th
จำกนั้นดำวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรม Viewer เพื่อเข้ำใช้งำนระบบพิพิธภัณฑ์
เสมือนสำมมิติ เมื่อเข้ำสู่ระบบผู้ใช้งำนจะมีหุ่นสัญลักษณ์แทนตนเอง ผู้ใช้สำมำรถ
ควบคุมหุ่นสัญลักษณ์ให้ดำเนินกิจกรรมต่ำง ๆ ได้ เพื่อศึกษำข้อมูลในพิพิธภัณฑ์
เสมือนสำมมิติและสำมำรถสื่อสำรกับบุคคลอื่นได้ผ่ำนหุ่นสัญลักษณ์ ทำให้กำรเยี่ยม
ชมพิพิธภัณฑ์โบรำณกลำยเป็นเรื่องน่ำสนุกน่ำในใจ (ขวัญชัย ศิริสุรักษ์, 2557)
ภำพที่ 9 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนพิพิธภัณฑ์
ที่มำ http://www.manager.co.th
การประยุกต์ใช้ทางด้านการรักษาความปลอดภัยและการป้องกันประเทศ
Office of Naval Research and Defense Advanced Research Projects
AgencyหรือDARPAประเทศสหรัฐอเมริกำเป็นกลุ่มผู้บุกเบิกระบบเทคโนโลยีเสมือน
จริงนำมำใช้ในกำรฝึกให้กับทหำรให้เกิดกำรเรียนรู้เกี่ยวกับสภำพแวดล้อมของ
พื้นที่ข้อมูลต่ำง ๆ ในพื้นที่รบ สำมำรถนำมำใช้ฝึกกำรเคลื่อนไหวของกองกำลังและ
วำงแผนกำรเคลื่อนกำลังของทหำรในฝ่ำยเดียวกันและศัตรูในพื้นที่สงครำม
เสมือนจริงและยังมีบทบำทสำคัญในกำรบังคับใช้กฎหมำยและหน่วยงำนข่ำวกรอง
ระบบจะช่วยให้เจ้ำหน้ำที่ ตำรวจ สำมำรถสร้ำงมุมมอง ที่สมบูรณ์ในรำยละเอียด
เกี่ยวกับข้อมูลพื้นที่ลำดตระเวน
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256012
ภำพที่ 10 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนกำรรักษำควำมปลอดภัยและกำรป้องกันประเทศ
ที่มำ http://www.darpa.mil
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR) ในอนาคต
ในอนำคตอันไม่ไกลจำกนี้ เทคโนโลยี “กำรค้นหำด้วยภำพ (VisualSearch)”
จะเป็นสิ่งที่จะมำพลิกโฉมของกำรที่มนุษย์จะติดต่อและใช้งำนอุปกรณ์ต่ำง ๆ
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง สมำร์ทโฟน โดยกำรใช้เทคโนโลยีกำรจดจำภำพ (Image
Recognition) ก็จะทำให้โปรแกรมสำมำรถรู้ได้ว่ำสิ่งที่มองเห็นอยู่เป็นวัตถุหรือ
รูปภำพอะไร ซึ่งสำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ในธุรกิจกำรซื้อของออนไลน์ให้ง่ำยขึ้น
มำกจนคุณแทบไม่ต้องออกแรงใด ๆ เลย เรียกว่ำขั้นตอน “POINT-KNOW-BUY”
โดยคุณสำมำรถสแกนรูปภำพหรือวัตถุที่เป็นสินค้ำเป้ำหมำย ระบบก็จะแสดงข้อมูล
เชิงลึกของสินค้ำนั้น เมื่อคุณพอใจก็สำมำรถสั่งซื้อของชิ้นนั้นได้ทันที ซึ่งตอนนี้
แม้ผู้เล่นรำยใหญ่อย่ำง Google ก็กำลังบุกเบิกเรื่องนี้อยู่อย่ำงขะมักเขม้น เรียกว่ำ
เทคโนโลยี Google Goggle หรือ Layer Vision
พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 เทคโนโลยี
กำรศึกษำหำกนำมำประยุกต์ใช้ในงำนของห้องสมุด โดยยึดตำม พรบ. กำรศึกษำ
แห่งชำติ ห้องสมุดในอนำคตจะต้องเป็นห้องสมุดที่มีสื่อกำรให้บริกำรที่เพียงพอ
โดยกำรนำเอำเทคโนโลยีที่เหมำะสม มีคุณภำพมำใช้ในงำนของห้องสมุด
เพื่อรองรับกำรใช้ บริกำรตลอดเวลำเปรียบเสมือนคลังควำมรู้ทั้งที่อยู่ในรูปแบบ
กำรให้บริกำรแบบปกติและกำรให้บริกำรแบบออนไลน์
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 13
ห้องสมุดตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
1. เพื่อใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงในกำรบริกำรสืบค้นหนังสือ OPAC
2. เพื่อกำรค้นหำตำแหน่งของหนังสือ
3. เพื่อบริกำรทำงด้ำนระบบกำรยืม - คืน ออนไลน์
จำกกำรนำทฤษฎีต่ำง ๆ มำประยุกต์ใช้ให้เกิดกระบวนกำรกำรให้บริกำร
นั้นจะสังเกตได้ว่ำทุกทฤษฎีมุ่งเน้นในเรื่องกำรให้บริกำรสำหรับบุคคลทั่วไป
โดยจะต้องปรับเปลี่ยนหรือพัฒนำให้ตรงตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้บริกำร
อยู่ตลอดเวลำรวมถึงกำรเข้ำถึงได้ตลอด 24 ชั่วโมง และที่สำคัญคือต้องคำนึงถึง
ควำมสะดวกรวดเร็วและประหยัดเวลำในกำรค้นหำหนังสือหรืองำนบริกำร
ด้ำนอื่น ๆ กำรใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงยังมีแนวโน้มที่จะพัฒนำมำกขึ้นควบคู่ไป
กับเทคโนโลยี 4G หรือเทคโนโลยีเจนเนอเรชั่นที่ 4 (4th Generation) ซึ่ง
ควำมรวดเร็วของเทคโนโลยีระบบ 4G (4th Generation) ที่เป็นระบบเครือข่ำยไร้
สำยควำมเร็วสูงพิเศษสำมำรถส่งผ่ำนข้อมูลในควำมเร็วที่ประมำณ 20 - 40 เมกะ
ไบต์ ต่อวินำที (Mbps/ Second) ทำให้ผู้บริโภคสำมำรถดำวน์โหลดข้อมูลรูปแบบ
พิเศษที่เรียกว่ำ AR (Augmented Reality) รวมถึงข้อมูลในรูปธรรมดำอื่น ๆ
(ข้อมูลภำพภำพยนตร์ กำรประชุมหรือสัมมนำที่ต้องมีโต้ตอบ (Real time) ได้อย่ำง
สะดวกจำกคุณสมบัติเด่น ๆ ของระบบ 4G ที่กล่ำวมำนักกำรตลำด และองค์กร
ธุรกิจสำมำรถนำเทคโนโลยีระบบ4GและARมำใช้เป็นเครื่องมือในกำรติดต่อสื่อสำร
ทำกำรตลำดและดำเนินงำนเพื่อให้เกิดประโยชน์สำหรับ องค์กรธุรกิจ และ
ผู้บริโภค
เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR) ในงานห้องสมุด
ปัจจุบันเทคโนโลยีเสมือนจริงถูกนำมำประยุกต์มำใช้ในงำนบริกำรของ
ห้องสมุดเป็นบำงส่วนยกตัวอย่ำงเช่นบริกำรส่งเสริมกำรอ่ำนบริกำรประชำสัมพันธ์
แนะนำกำรใช้ และบริกำรยืมคืนทรัพยำกร โดยมีงำนวิจัยเกี่ยวกับกำรนำเทคโนโลยี
เสมือนจริงมำช่วยบริกำร โดยให้บริกำรผ่ำน Application มือถือ เพื่อให้ผู้อ่ำน
ได้รับประสบกำรณ์ใหม่สนุกไปกับกำรอ่ำน ตื่นเต้นและเพลิดเพลินไปกับกำรอ่ำน
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256014
หนังสือ จุดเริ่มต้นของกำรนำเทคโนโลยีนี้มำใช้ เพื่อส่งเสริมกำรอ่ำนของเด็กกลุ่มหนึ่ง
ผ่ำน Apps มือถือเป็นกำรนำนิทำน หรือ เรื่องเล่ำ ประกอบภำพกำร์ตูน และเสียง
มำช่วยในกำรส่งเสริมกำรอ่ำน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยีเสมือนจริง เนื้อหำของ
เรื่องให้นักเรียนหำสัตว์ในตำนำน เด็กสนุกไปกับกำรอ่ำนและได้เห็นภำพที่
เสมือนจริง นอกจำกนั้นแล้วยังมีกำรใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงในกำรประชำสัมพันธ์
จุดให้บริกำรต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็นบริกำรจองห้องประชุม บริกำรจองทรัพยำกร
บริกำรถำมตอบและบริกำรสื่อดิจิตอล รวมไปถึงกำรนำเทคโนโลยีเสมือนจริง
ให้บุคลำกรในสถำบันหรือหน่วยงำนที่ให้บริกำรสำรสนเทศ เช่น นำระบบ AR ไปใช้
ในกำรสำรวจ ตำแหน่งทรัพยำกร ตำแหน่งห้องประชุม จุดบริกำรต่ำง ๆ แม้กระทั่ง
กำรเก็บสถิติของทรัพยำกรสำรสนเทศและผู้รับบริกำร
ภำพที่ 11 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนห้องสมุด
ที่มำ http://www.popsci.com
ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
กำรบริกำรสำรสนเทศลักษณะพิเศษ สำมำรถคิดสร้ำงสรรค์บริกำร
ต่ำง ๆ ตำมพันธกิจและอัตลักษณ์ของแต่ละสถำบัน ซึ่งอำจแตกต่ำงหรือ
เหมือนกับห้องสมุดอื่น ๆ เช่น บริกำรนำชม กำรจัดกิจกรรมบรรยำย/ เสวนำ
ในวำระพิเศษที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหำสำรสนเทศ บรรณำรักษ์ที่ดูแลรับผิดชอบงำน
บริกำรสำรสนเทศลักษณะพิเศษควรมีควำมรู้ทั้งด้ำนบรรณำรักษศำสตร์
เทคโนโลยีห้องสมุดและมีควำมสนใจใฝ่รู้ศำสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหำของ
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 15
สำรสนเทศในควำมรับผิดชอบ ซึ่งจะช่วยให้สำมำรถเลือกประเด็นสำหรับสร้ำง
กิจกรรมให้หลำกหลำย ควรสำมำรถให้บริกำรเชิงลึกได้มำกขึ้น ด้วยสรรถนะ
ควำมรู้เฉพำะด้ำน ควำมเข้ำใจผู้ใช้บริกำร ควำมสำมำรถในกำรทำงำนร่วมกับ
ผู้ใช้บริกำรในฐำนะผู้ร่วมงำนได้
การนาไปใช้ประโยชน์
กำรนำเทคโนโลยี AR (Augmented Reality: AR) มำใช้ในงำนห้องสมุด
ทำให้กำรบริกำรดูทันสมัย แปลกใหม่ และสวยงำม จึงเป็นสิ่งที่ผู้ใช้บริกำร
ให้ควำมสนใจและชื่นชอบมำก ผู้ให้บริกำรต้องพัฒนำ ค้นหำระบบหรือ
โปรแกรมให้บริกำรสำรสนเทศลักษณะพิเศษนี้ เพื่อให้สำมำรถเพิ่มรูปแบบกำร
บริกำรที่มำกกว่ำบริกำรพื้นฐำนของห้องสมุดปกติ ให้ผู้ใช้บริกำรได้รับสำรสนเทศ
ซึ่งสอดคล้องกับกำรให้บริกำรเชิงลึกในสภำพแวดล้อมที่สื่อต่ำง ๆ ถูกแทนที่
ด้วยอินเทอร์เน็ต ซึ่งผู้ใช้อำจพึ่งพำห้องสมุดน้อยลง กำรให้บริกำร จึงควรเน้น
บริกำรสำรสนเทศ ควำมรู้และข้อมูลที่ต้องอำศัยสมรรถนะของบุคลำกรวิชำชีพ
เฉพำะด้ำนมำกขึ้น
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256016
เอกสารอ้างอิง
ขวัญชัย ศิริสุรักษ์. (2557). โครงการพัฒนาคลังข้อมูลภูมิปัญญาอีสาน
กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์บ้านอีสาน มมส. (Digitized Isan)
โดยใช้เทคนิคความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality, AR)
บนสมาร์ทโฟน. เข้ำถึงเมื่อ มกรำคม 20, 2560,
จำก https://prf.msu.ac.th.
ตำรวจท่องเที่ยว, สำนักงำน. (2558). เปิดประสบการณ์ใหม่ที่พิเศษ
ยิ่งกว่ากับตารวจท่องเที่ยว. เข้ำถึงเมื่อ พฤศจิกำยน 10, 2559,
จำก http://9krapalm.com.
นิวัฒน์ ชำตะวิทยำกูล. (2555). Augmented Reality เทคโนโลยีที่น่าจับตา.
เข้ำถึงเมื่อ มีนำคม 15, 2560, จำก http://www.digithun.com.
พัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ, สำนักงำน. (2558). การประยุกต์
ใช้งาน Augmented Reality กับงานห้องสมุด. เข้ำถึงเมื่อ มีนำคม
20, 2560, จำก https://www.nstda.or.th.
พนิดำ ตันศิริ. (2553). โลกเสมือนผสำนโลกจริง Augmented Reality.
วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 30(2), 169-175.
วสันต์ เกียรติแสงทอง, พรรษพล พรหมมำศ และอนุวัตร เฉลิมสกุลกิจ.
(2552). การศึกษาเทคโนโลยีออคเมนต์ เตดเรียลริตี้ กรณีศึกษา
พัฒนาเกมส์ “เมมการ์ด”. กรุงเทพฯ: คณะวิทยำศำสตร์
มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศุภชัย วงค์มูล. (2557). เทคโนโลยี AR (Augmented Reality)
และแอปพลิเคชัน Aurasma. เข้ำถึงเมื่อ กุมภำพันธ์ 20, 2560,
จำก https://supachai287.wordpress.com.
สัมผัสประสบการณ์โฆษณา Ford All New Focus แบบ Augmented
Reality บน iOS. (2555). เข้ำถึงเมื่อ มกรำคม 15, 2560,
จำก http://www.trendy2.mobi.
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 17
ASTV ผู้จัดกำรออนไลน์. (2558). มิวเซียมสยามเปิดตัว “MuseMon”
ประยุกต์กำรเรียนรู้สู่เกมมือถือ. เข้ำถึงเมื่อ มีนำคม 15, 2560,
จำก http://www.manager.co.th.
Augmented Reality in the Library. (2012). Retrieved April 10,
2017, from http://www.slideshare.ne.
Augmented reality. (2014). Retrieved February 17, 2017,
from http://en.wikipedia.org.
Augmented Reality Deck by ARworks - v2. (01:35:27 UTC).
Retrieved December 20, 2016, from
http://www.slideshare.net.
Augmented Reality | Interactive Print. (n.d.). Retrieved January
10, 2017, from https://www.layar.com.
Behringer, R., Mizell, G. & Klinker, D. (2001). เทคโนโลยี AR ที่ย่อมาจาก
Augmented Reality. Retrieved December 15, 2016,
from http://www.cw.in.th.
CFE/GRCP/CEFI/CCIP/C|CISO/CBA, A. T. (2016, August 30).
Understanding Your Next Digital Addiction:
Augmented Reality 101. Retrieved December 10, 2016,
from https://www.linkedin.com.
Diana, H. (2016). Guest Post: Diana Hellyar on Library Use of
New Visualization Technologies. Retrieved November 20,
2016, from http://informatics.mit.edu.
Gaudiosi, J. (2016). Doctors Using VR to Aid in Neurosurgery
“Is A No-Brainer.” Retrieved December 10, 2016,
from http://uploadvr.com.
Gartner’s Top 10 Strategic Technology Trends for 2017.
(2016, October 18). Retrieved November 26, 2016,
from http://www.gartner.com.
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256018
Guest Post: Diana Hellyar on Library Use of New Visualization
Technologies. (n.d.). Retrieved November 20, 2016,
from http://informatics.mit.edu.
Hahn, J. (2012). Mobile augmented reality applications for library
services. New Library World, 113(9/ 10), 429-438.
Jones, H. A. (n.d.). SCARLET: Augmented Reality in Special
Collections. Retrieved December 20, 2016,
from http://archiveshub.ac.uk.
N Show 3D Virtual Dressing Room Virtual Fitting Room. (n.d.).
Retrieved December 17, 2016, from
https://www.pinterest.com.
Rapid Prototyping Mobile Augmented Reality Applications.
(2012). Retrieved November 15, 2016, from
http://acrl.ala.org.
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 19
ธงชัย สมบูรณ์1
Thongchai Somboon
บทคัดย่อ
ครูถือได้ว่ำเป็นอำชีพที่มีควำมศักดิ์สิทธิ์เพรำะได้รับกำรยอมรับจำก
สังคมทั่วไป ฉะนั้นจึงมีกำรเปรียบเปรยกับคำว่ำ ครู ในวำทกรรมหลำย ๆ อย่ำงเช่น
ครู คือ รำกแก้วในกำรสร้ำงอัตลักษณ์ของชำติ หรืออื่น ๆ อีกมำกมำย จำกอดีต
จนถึงปัจจุบัน วิถีของครูดูจะเปลี่ยนไปจำกเดิมด้วยเหตุปัจจัยของปริบท
กำรเปลี่ยนแปลงทุก ๆ มิติ เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงทำให้กำรเป็นอยู่และกำรดำรงอยู่
ของครูได้รับอิทธิพลด้วยรูปแบบ “SMART@SPEED Model” เป็นอีกหนึ่ง
รูปแบบที่จะสำมำรถจรรโลงและช่วยให้ครูมีวัฒนวิถีที่ดีขึ้น รูปแบบนี้ประกอบด้วย
S = Social skill (ทักษะเชิงสังคม) M = Managerial skill (ทักษะทำงด้ำนจัดกำร)
A = Academic skill (ทักษะทำงด้ำนวิชำกำร) R = Researching skill (ทักษะ
ทำงด้ำนค้นคว้ำ) T = Tecnological skill (ทักษะทำงด้ำนเทคโนโลยี) นอกจำกนี้
ยังมีรูปแบบของ“SPEED”เพิ่มเข้ำมำซึ่งประกอบด้วยS =Support (กำรสนับสนุน
และกำรส่งเสริม) P = Procedure (กำรทำงำนเป็นขั้นตอน) E = Ethics (จริยศำสตร์
คุณธรรม) E = Empowerment of Learning Quality (กำรตระหนักถึงคุณภำพ
1
รองศำสตรำจำรย์, ดร. สำขำวิชำพื้นฐำนกำรศึกษำ คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำมคำแหง
เป็นอยู่และดารงอยู่ของครูไทย: อิทธิพลจากปริบท
ของรัฐชาติไทยแลนด์ 4.0
Thai Teachers’ Being and Existence:
The Influences of Thailand 4.0
Contextualization
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256020
กำรจัดกำรเรียนรู้) D =Development (กำรพัฒนำ) รูปแบบดังกล่ำวนี้ เชื่อว่ำจะทำ
ให้ครูมีกำรเป็นอยู่และกำรดำรงอยู่อย่ำงมีควำมสุขในยุคไทยแลนด์ 4.0
คาสาคัญ: กำรเป็นอยู่ กำรดำรงอยู่ ปริบทไทยแลนด์ 4.0
Abstract
General known, teacher is the sacred name of high profession
which is engaged by the social respect. Under the auspices of
several their functions teacher is impliedly into many meaningful
responsibilities. One of the discourse is teacher as the tap root of
the national identity building. Throughout the long history, teacher’s
life style is changeable because of the dimension of changing
global contextualization influencing. SMART@SPEED Model these
essential characteristics can be extensive necessity for the daily
life and working. The model consisted of S = Social skill, M = Managerial
skill, A = Academic skill, R = Researching skill and T = Technological skill.
Moreover, “SPEED” is also fruitful of the teacher’s activities which is
full of the delivery words as the following; S = Support, E = Ethics,
E = Empowerment of Learning Quality and D = Development. This
evidence model will be helpful for teacher’s being and existence
with the total ultimate happiness in the Thailand 4.0 Era.
Keywords: Being, Existence, Thailand 4.0 contextualization
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 21
บทนา
ชำติหรือรัฐชำติ หรือควำมเป็นรัฐชำตินั้น ต่ำงทำหน้ำที่ในกำรสร้ำง
ควำมผูกพัน สร้ำงพลังร่วมให้สมำชิกในชำตินั้นให้กลำยเป็นพลเมืองที่ดีและ
เป็นคนดีที่พึงปรำรถนำทั้งในเวลำปัจจุบันและอนำคตได้ ทั้งนี้เพื่อกำรดำรงไว้
ซึ่งวัฒนวิถีอันงดงำมของรัฐชำติด้วย เหตุผลเชิงประจักษ์ของทุกชำติทุกภำษำ
ที่สำคัญอีกประกำรหนึ่ง คือ ทุกชำติต่ำงให้ควำมสำคัญว่ำกำรศึกษำเป็นเครื่องมือ
อันศักดิ์สิทธิ์ในกำรพัฒนำรัฐให้มีควำมเจริญงอกงำมในทุก ๆ ด้ำน และในทำง
เดียวกัน กำรศึกษำของชำติที่ดีนั้นขึ้นอยู่กับครู เพรำะครูเป็น “เส้นเลือดใหญ่”
หรือ “รำกแก้วของกำรสร้ำงชำติ” (Teacher as a tap root) ภำพเชิงบวกของ
ผู้ที่ทำหน้ำที่ครูผู้สอน(Teacher)ไม่ใช่คนผู้สอน(Teller)จึงถูกจัดวำงไว้ในตำแหน่ง
ที่มีเกียรติและมีคุณค่ำแห่งวิชำชีพชั้นสูง
กล่ำวโดยควำมเป็นจริงแล้ว รัฐชำติกับกำรศึกษำเป็นสิ่งที่ถูกประสำนเป็น
เนื้อเดียวกันอย่ำงลงตัว โดยมี “ครู” เป็นผู้ที่ก่อให้เกิดควำมเป็นชำติ ทั้งนี้จะ
ผ่ำนกระบวนกำรถ่ำยทอดควำมรู้ภำยใต้บริบทของหลักสูตรและวิถีกำรสอนหรือ
วิธีกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ให้กับผู้เรียน ดังจะเห็นได้จำกกำรเรียนรู้ในสมัยโบรำณ
ครูมีหน้ำที่ทั้งทำงตรงและทำงอ้อมในกำรขัดเกลำและบ่มเพำะใน “เทวำลัยแห่ง
กำรเรียนรู้ (Temple of learning)” ทั้งนี้เพื่อหวังให้ผู้เรียนเป็นคนดีโดยสมบูรณ์
นอกจำกนี้ควำมเชื่อของครูอีกประกำรหนึ่ง ในกำรสร้ำงชำติสร้ำงแผ่นดินต่อไป
คือ ควำมคำดหวังที่จะให้ผลผลิตที่ออกไปจำกสถำบันกำรเรียนรู้ได้เป็นกำลังของ
รัฐชำติต่อไป
ครู: ผู้สร้างชาติสร้างแผ่นดิน
ด้วยปริบทของประเทศไทยที่ให้ควำมสำคัญต่อควำมเป็นครูและวิชำชีพ
ครูที่มีควำมมั่นคงและเป็นอำชีพเดียวที่เรียกคนอื่นว่ำ “ลูก”ด้วยนัยยะ ควำมยิ่งใหญ่
ของครูที่สังคมยอมรับโดยทั่วกันว่ำ ครูเป็นพ่อแม่คนที่สองของผู้เรียน ด้วยเหตุนี้
ควำมยิ่งใหญ่แห่งวำทกรรมคำว่ำ “ครู” จึงบ่งบอกถึงเนื้อ ในที่ซ่อนด้วยควำมหมำย
อย่ำงน้อย สองประกำร คือ ครูที่มีควำมกระตือรือร้น ในวิชำชีพที่ตนรักและทุ่มเท
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256022
สอนด้วยจิตวิญญำณแห่งควำมเป็นครูจริง เรำจึงเรียกว่ำ Teacher by choice
หรือ Teacher at heart และควำมหมำยอีกประกำรหนึ่ง คือ ครูที่มีควำมพึงพอใจ
กับตำแหน่งแห่งอำนำจและควำมเหนือกว่ำลูกศิษย์ด้วยประกำรทั้งปวง ครูเหล่ำนี้
ต้องถูกเรียกว่ำ Teacher by chance เท่ำนั้น (ธงชัย สมบูรณ์, 2555) ด้วยเหตุ
ที่ว่ำ “พื้นที่ทำงกำรศึกษำ (Educational sphere)” ที่มีครูเป็นผู้ถ่ำยทอดข้อควำมรู้
และองค์ควำมรู้ที่เป็นมงคลต่อชีวิตของผู้เรียน คนในสังคมจึงต่ำงมีควำมศรัทธำ
และมีควำมเชื่อในควำมจริงสูงสุด (Metaphysics) แห่งอำชีพนี้ นอกจำกนี้ยังมี
ควำมเชื่ออีกประกำรหนึ่งว่ำ ครูเป็น “อัศวิน” ที่จะมำขจัดปัดเป่ำและคลี่คลำย
รวมทั้งแก้ไขปัญหำของสังคมได้ ซึ่งสิ่งนี้ถูกปลุกฝังและหยั่งรำกลงในควำมเชื่อ
ของผู้คนในสังคมไทยมำเป็นเวลำช้ำนำน ฉะนั้นควำมศักดิ์สิทธิ์ของครูจึงถึง
พร้อมโดยปริยำยและดุษฏี
หันกลับมำมองกำรสร้ำงชำติสร้ำงแผ่นดินของครู ที่มีกำรเปรียบเทียบ
ในวำทกรรมมำกมำยหลำยรูปแบบ ทั้งที่ปรำกฏในบทเพลง “แม่พิมพ์ของชำติ”
ที่ขับร้องโดย ศิลปินวงจันทร์ ไพโรจน์ ซึ่งมีเนื้อหำบำงส่วนดังนี้ “แสงเรืองเรืองที่
ส่องประเทืองอยู่ทั่วเมืองไทย คือ แม่พิมพ์อันน้อยใหญ่ สร้ำงชำติไทยให้วัฒนำ”
หรือแม้แต่บทภำพยนตร์ที่สะท้อนให้เห็นถึงควำมมุ่งมั่นในกำรให้ควำมรู้แก่ลูกศิษย์
เช่นภำพยนตร์เรื่อง “ครูดอย”“ครูบ้ำนนอก”เป็นต้น ที่นำเสนอเรื่องรำวกำรทำงำน
ของครูที่เปี่ยมด้วยอุดมกำรณ์อันแรงกล้ำ ผนวกกับพลังศรัทธำที่พร้อมจะเติมเต็ม
ให้กับ “ผู้เรียนชำยขอบ (Marginal learners)” ให้มีควำมรู้เพื่อต่อยอดวิถีชีวิต
ในอนำคตให้เยียมเท่ำกับผู้ที่มีโอกำสอย่ำงเต็มเปี่ยม ภำพเหล่ำนี้แสดงให้เห็นถึงกำร
รักและเชิดชูในวิชำชีพของตนเองอย่ำงชัดเจน
วำทกรรมกำรผลิตซ้ำ (Reproduction) ของกำรสร้ำงชำตินั้น บำงครั้ง
เกิดจำกควำมขัดแย้งที่เป็นควำมขัดแย้งแบบชั่วครำว (Unfrozen Conflict)
บำงครั้งก็เป็นควำมรุนแรงเชิงโครงสร้ำง (Structural Violence) หรือบำงครั้ง
เป็นควำมขัดแย้งแบบธรรมดำ (Regular Conflict) แม้ว่ำภำพของควำมขัดแย้ง
ต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสร้ำงควำมรู้สึกนึกคิดให้แก่คนไทยในลักษณะที่แตกต่ำง
กันบำงช่วงทั้งที่เป็นรูปธรรมและนำมธรรมก็ตำม แต่บทบำทและหน้ำที่ของ
ครูผู้สอนนั้นยังต้องผนึก “ควำมเป็นชำติ” ให้เป็นเนื้อเดียวกันให้ได้ โดยกำรใช้
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 23
พลกำลังทำงด้ำนร่ำงกำย กำลังทำงสติปัญญำ ที่ผ่ำนมำ อำจกล่ำวได้ว่ำกำรศึกษำ
ไทย หรือสถำนกำรณ์ของครูไทยถูกครอบงำให้ยึดหลักกำรจัดกำรเรียนรู้ที่มี
หลักสูตรแห่งชำติเป็นสรณะและเป็นบทตั้ง นอกจำกนี้วำทกรรมกำรสอนของครู
ในควำมเป็นบูรณำกำรพึ่งเกิดขึ้นมำเมื่อไม่นำนนี้เอง ถึงแม้ว่ำเจตนำรมณ์ของ
กระทรวงศึกษำธิกำรที่เป็น “แม่งำน” ในกำรรับผิดชอบต่อกำรจัดกำรศึกษำของรัฐ
ชำติที่พยำยำมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนกำร “เรียนรู้ร่วมกัน” แต่ภำพจริงที่ปรำกฏ
นั้นคือ“กำรเรียนรู้ลอกกัน”รัฐชำติจึงถูกสร้ำงเป็น “รูปแบบเดิม” ทั้งสิ้น แต่อย่ำงไร
ก็ตำม ครูก็ต้องเป็นผู้สร้ำงต่อไป เพรำะจำกอดีตจนถึงปัจจุบัน ควำมคำดหวังสูงสุด
ทำงกำรศึกษำ คือ ควำมสุขสถำพรและยั่งยืนของรัฐชำติแบบองค์รวม ตลอดจน
กำรสร้ำงให้ผู้เรียนมีควำมสำมำรถใช้ทักษะเชิงสังคมต่อสู้กับมำยำต่ำง ๆ และใช้
ลีลำชีวิตได้อย่ำงงดงำม ด้วยเหตุนี้ครูผู้สร้ำงชำติสร้ำงแผ่นดินจะต้องช่วยกัน
ขับเคลื่อน ช่วยกันอภิวัตน์ สร้ำงผู้เรียนที่ถูกเรียกว่ำ ลูกศิษย์ให้ก้ำวไปสู่ควำม
เป็นปัญญำปัจเจกให้จงได้
ความเป็นอยู่และการดารงอยู่ของครู: จิตวิญญาณที่มั่นคงหรือถดถอย
จำกประวัติศำสตร์ที่ผ่ำนมำ ครูเปรียบเสมือนน้ำทิพย์ที่คอยหล่อเลี้ยง
กำรศึกษำของรัฐชำติให้มีควำมมั่นคงทำงด้ำนจิตใจระหว่ำงครูกับศิษย์ ในกำรพัฒนำ
ร่วมกัน แม้ว่ำจะมีกำรล่ำอำณำนิคมทำงกำรศึกษำที่มำจำกประเทศต่ำง ๆ นั้น
ทำให้วิธีคิดของครูบำงคน บำงกลุ่ม อำจมีกำรเปลี่ยนแปลงไปบ้ำง ควำมศรัทธำ
ในวิชำชีพที่ถูกเฝ้ำมองจำกบุคคลภำยนอก จึงเกิดข้อคำถำมขึ้นให้กับครู คือ
จิตวิญญำณของควำมเป็นครูยังหลงเหลืออยู่หรือไม่ ซึ่งทั้งนี้อำจมองได้เป็น
สองขั้ว (Binary) ทั้งที่เป็นภำพเชิงบวกและเป็นภำพเชิงลบ เหตุกำรณ์บำงอย่ำง
ที่เกี่ยวกับกำรกระทำของครูบำงคน ทั้งที่ปรำกฏในสื่อหรือยังซ่อนเร้นอยู่ สิ่งนี้
ล้วนสร้ำง “ตรำบำปหรือรอยสัก” ให้กับวิชำชีพครู ควำมเป็นอยู่ของครูในวิชำชีพนี้
บำงครั้งมีควำมถดถอยลง ซึ่งมีสำเหตุจำกควำมไม่เข้ำใจอย่ำงชัดเจน ในแก่น
แกนปรัชญำกำรศึกษำของรัฐชำติที่ถูกกำหนดจำกผู้ที่มีอำนำจ โดยที่ไม่มี
ประสบกำรณ์ทำงด้ำนกำรจัดกำรศึกษำเลย เมื่อเป็นเช่นนี้ สภำพแห่งกำรทำงำน
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256024
ที่เป็นอยู่เพียงคำดหวังว่ำอนำคตอันใกล้นี้ กับ“ผู้มีอำนำจใหม่”คงจะจัดกำรศึกษำ
หรือวำงนโยบำยกำรศึกษำให้ดีขึ้นกว่ำเดิม ฉะนั้นจึงไม่แปลกอะไรเลยที่ครูผู้สอน
จะเพียงรักษำสถำนภำพเดิม (Status quo) ของตนเองให้คงอยู่ไว้จำกสภำพจริง
ที่เป็นอิทธิพลหลักหนึ่งที่ครูจะต้องสมยอมใน “อำนำจของหลักฐำนและเอกสำร”
กำรจัดเตรียมกิจกรรมที่แปลกใหม่เพื่อเพิ่มสมรรถนะ เพิ่มควำมรู้ เพิ่มคุณลักษณะ
กำรแสดงออกและของผู้เรียน (CKAP = Competency, Knowledge, Attributes
and Performances) จึงค่อนข้ำงน้อย เพรำะกฏเกณฑ์บำงอย่ำงในกำรประเมิน
ควำมเป็นครูถูกอำนำจทับซ้อนด้วยเอกสำรที่ไม่ตรงกับควำมเป็นจริง
กำรเป็นอยู่และดำรงอยู่ของครูอีกประกำรหนึ่ง คือ ภำพรวมในเรื่อง
เงินเดือนหรือค่ำตอบแทนของครูยังถือว่ำยังน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่
ให้ควำมสำคัญในวิชำชีพนี้ว่ำเป็นวิชำชีพชั้นสูง (Profession) เช่น ประเทศสิงคโปร์
ประเทศฟินแลนด์ ประเทศสหพันธรัฐเยอรมนี เป็นต้น ดังนั้น กระทรวงศึกษำธิกำร
หรือผู้ที่มีควำมรับผิดชอบต่อวิถีครูไทยจำเป็นต้องกอบกู้สภำพทำงเศรษฐกิจ
ของครูให้สำมำรถเป็นอยู่และดำรงอยู่ได้ดีกว่ำเดิม อำจจะมีกำรเพิ่มแรงจูงใจใน
ลักษณะ “รำงวัล” กับควำมมุ่งมั่นและควำมเชี่ยวชำญในแต่ละระดับสถำปนำ
ควำมศักดิ์สิทธิ์ให้มำกขึ้น จะเป็นแรงกระตุ้นใฝ่สัมฤทธิ์ให้ครูดำเนินกำรเรียน
กำรสอนให้มีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น
SMART@ SPEED Model: เพื่อครูไทย 4.0
กำรศึกษำไทยจำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องทำให้ครูมีควำมผูกพันในพันธะ
สัญญำและเป้ำหมำยทำงกำรศึกษำโดยรวม กล่ำวคือ กำรสร้ำงคนเก่ง สร้ำงคนดี
และที่สำคัญต้องสำมำรถบอกกล่ำวอบรมและขัดเกลำให้ผู้เรียนใช้ชีวิตอย่ำง
ปกติสุขภำยใต้กำรเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกได้เป็นอย่ำงดี ครูจะต้องเป็นผู้ให้
“ส่วนผสม” นี้ เพื่อก่อให้เกิดเป็นเนื้อเดียวกัน (Homogeneity) แต่อย่ำงไรก็ตำม
ควำมเป็นอยู่และดำรงอยู่ของครูจะดีขึ้น จำเป็นต้องอิงแอบกับปริบทของรัฐ
ชำติด้วย ทั้งนี้ผู้เขียนขอเสนอรูปแบบ “SMART” ดังนี้
วารสารพิกุล
วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 25
S = Social skill ทักษะเชิงสังคม ครูไทยจะต้องมีวิถีชีวิตที่ไม่ตกเป็น
ทำสและสมยอมกับสภำวะกำรณ์ของสังคมที่มีลักษณะแบบบริโภคนิยม เงินตรำ
นิยม และวัตถุนิยม ต้องเข้ำถึงและนำแนวหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงของ
พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช (รัชกำลที่ 9) มำเป็นแก่นแกน
ในกำรดำรงชีวิต นอกจำกนี้ ครูไทยต้องเข้ำใจถึงควำมแตกต่ำงของวัฒนธรรม
ในองค์กรร่วมกันทำงำนเพื่อส่วนรวม (Togetherness) มำกขึ้น เข้ำใจใน “ควำมต่ำง”
ทั้งผู้เรียนและเพื่อนร่วมงำนมำกขึ้นด้วย
M = Managerial skill ทักษะเชิงบริหำรจัดกำร ทั้งทักษะกำรจัดกำร
เวลำ กำรบริหำรจัดกำรคน เพรำะคนถือว่ำเป็นทรัพยำกรอันมีค่ำของรัฐชำติ
แต่บำงครั้งครูก็ต้องทำหน้ำที่สอนผู้เรียนให้เข้ำใจถึงแก่นของกำรพัฒนำรัฐชำติ
แบบองค์รวมว่ำบำงครั้งกำรให้อภัย กำรยกโทษ กำรไม่เป็นไร ก็มีส่วนทำให้ขำด
ระเบียบวินัยไป
A = Academic skill ทักษะเชิงวิชำกำร ครูไทยต้องลุ่มลึกในวิชำชีพ
เข้ำถึงกำรจัดกำรเรียนรู้ (Pedagogy) ที่ชัดเจน มีทักษะกำรส่งผ่ำนข้อควำมรู้
ถึงผู้เรียนในลักษณะทั้งที่เป็นศำสตร์และศิลป์ สร้ำงฐำนคติทำงกำรเรียนรู้ที่
ทันสมัย (Reimers, 2003) “ผู้ที่เป็นครูผู้สอนนั้น ต้องมีควำมหรูหรำทำงควำมคิด
จัดกิจกรรมที่แปลกใหม่และที่สำคัญ ทุกครั้งที่แนะนำลูกศิษย์ต้องแนะนำด้วย
เสียงที่ออกจำกหัวใจ มิใช่เสียงที่ออกจำกช่องปำก”
R = Researching skill ทักษะกำรใฝ่รู้ ค้นคว้ำอยู่เสมอ มีกำรสร้ำง
ข้อควำมรู้ใหม่และทันสมัยอยู่เป็นประจำ ฝึกทักษะกำรต่อยอดให้กับผู้เรียน
ตลอดเวลำที่มีกำรจัดกำรเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน (Yates, 2007) ครูไทย
ในยุค 4.0 ต้องเป็นคนที่หมั่นหำควำมรู้ที่ใหม่ ๆ เสมอ จึงจะทำให้ชีวิตในควำม
เป็นครูของตนเองไม่น่ำเบื่อหน่ำย
T = Technological skill ทักษะเชิงเทคโนโลยี ซึ่งจะรวมถึงทักษะ
กำรเข้ำถึงและกลั่นกรองข้อมูลและข่ำวสำร รู้กำรนำมำใช้เพื่อจัดกำรเรียนรู้
ให้กับผู้เรียนอย่ำงชำญฉลำด มีกำรใช้สื่อทำงด้ำนเทคโนโลยีเพื่อกระตุ้นกำรใฝ่รู้
และสร้ำงบรรยำกำศที่ดีเพื่อกำรเรียนรู้ที่น่ำสนใจและสิ่งที่สำคัญที่สุดของ
วารสารพิกุล
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan
Varasan

Contenu connexe

Similaire à Varasan

Similaire à Varasan (20)

V 300
V 300V 300
V 300
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
V 282
V 282V 282
V 282
 
V 302
V 302V 302
V 302
 
V 290
V 290V 290
V 290
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
 
V 264
V 264V 264
V 264
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
 
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
 
V 251
V 251V 251
V 251
 
V 277
V 277V 277
V 277
 
Library for AEC
Library for AECLibrary for AEC
Library for AEC
 
20653 v 244
20653 v 24420653 v 244
20653 v 244
 
V 263
V 263V 263
V 263
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
asean-library-ict
asean-library-ictasean-library-ict
asean-library-ict
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
 

Plus de joyzazaz

ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์joyzazaz
 
งานWeekที่ 2
งานWeekที่ 2งานWeekที่ 2
งานWeekที่ 2joyzazaz
 

Plus de joyzazaz (7)

Vijai4
Vijai4Vijai4
Vijai4
 
Vijai3
Vijai3Vijai3
Vijai3
 
Vijai2
Vijai2Vijai2
Vijai2
 
Vijai1
Vijai1Vijai1
Vijai1
 
Tdriapril
TdriaprilTdriapril
Tdriapril
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
 
งานWeekที่ 2
งานWeekที่ 2งานWeekที่ 2
งานWeekที่ 2
 

Varasan

  • 1.
  • 2. วารสารพิกุล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2560 ISSN 0858-527X เจ้าของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและรองรับการตีพิมพ์ เผยแพร่ ผลงานวิชาการ ในรูปแบบบทความวิชาการ บทความวิจัย บทความวิทยานิพนธ์ และบทวิจารณ์หนังสือ ที่เป็นองค์ความรู้ทางด้านมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ของคณาจารย์ภายในมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัย นักวิชาการ บุคลากร ทางการศึกษา นิสิต และนักศึกษา ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ สุวิทย์ วงษ์บุญมาก อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุชิน รอดกาเหนิด คณบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บรรณาธิการ ดร.วิชุรา วินัยธรรม รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก ปัทมศิริวัฒน์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ศาสตราจารย์ ดร.วัลลภ รัฐฉัตรานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.โสรีช์ โพธิแก้ว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.กานต์ โกวิทย์สมบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต รองศาสตราจารย์ ดร.แมรี่ สารวิทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.ศรันย์ วงศ์คาจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร รองศาสตราจารย์ ดร.ทวนทอง เชาวกีรติพงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทรี ดวงทิพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร รองศาสตราจารย์ มัย ตะติยะ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร รองศาสตราจารย์ อรุณลักษณ์ รัตนพันธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร วารสารพิกุล
  • 3. ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความประจาฉบับ (Peer review) รองศาสตราจารย์ ดร.เทียมจันทร์ พาณิชย์พลินไชย มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.สาราญ มีแจ้ง มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร คงศิริรัตน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.ธงชัย สมบูรณ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง รองศาสตราจารย์ เปรมวิทย์ วิวัฒนเศรษฐ์ มหาวิทยาลัยพะเยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุจโรจน์ แก้วอุไร มหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีรธร บุณยรัตพันธ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยศระวี วายทองคา มหาวิทยาลัยรามคาแหง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ วัฒนะ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พระครูปริยัติกิตติธารง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โกนิฏฐ์ ศรีทอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรชัย เต็งรัตน์ล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ดร.กรกนก สารภิรมย์ มหาวิทยาลัยมหิดล บทความทุกเรื่องที่ตีพิมพ์ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ทัศนะและ ข้อคิดเห็นของบทความในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือเป็นทัศนะและความ รับผิดชอบของบรรณาธิการ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษา แต่ขอให้มีการอ้างอิงเจ้าของบทความ และแหล่งที่มา อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ พิมพ์ที่: ห้างหุ้นส่วนสามัญ เจ พี ปริ้นท์ เลขที่ 266 ถนนเทศา 2 ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร 62000 โทร. 081-7856368 วารสารพิกุล
  • 4. บทบรรณาธิการ วารสารพิกุลฉบับนี้ เป็นวารสารวิชาการของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ตีพิมพ์เป็นปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2560) เนื้อหาภายในประกอบด้วย จานวน 3 บทความวิจัย และ 5 บทความวิชาการ ครอบคลุมเนื้อหา ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประกอบด้วยบทความเรื่อง 1. เทคโนโลยีเสมือนจริงในงานห้องสมุด 2. เป็นอยู่และดารงอยู่ของครูไทย: อิทธิพลจากปริบทของรัฐชาติไทยแลนด์ 4.0 3. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาสุขภาวะของหมู่บ้าน: กรณีศึกษา บ้านนครชุม จังหวัดกาแพงเพชร 4. การศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร 5. พระสังฆาธิการกับการบริหารจัดการวัดสู่ความเป็นเลิศ 6. กลไกพัฒนาสมรรถนะนักปกครองระดับเจ้าอาวาสตามหลักพุทธธรรม 7. เพลงพื้นบ้านท่าโพ กลุ่มเพลงพื้นบ้านท่าโพ 8. ฟ้อนแขบลาน: จีวร ภาพสิงห์ ในนามกองบรรณาธิการหวังว่าเนื้อหาบทความในวารสารพิกุลฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้อ่าน ในการนาองค์ความรู้ ผลงานวิจัย ผลจากการศึกษาและวิจัยไปประยุกต์ใช้ในงานด้านวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย ของท่านไม่มากก็น้อย ในโอกาสนี้ บรรณาธิการขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์วารสารพิกุลปีที่ 15 ฉบับที่ 1 นี้จนสาเร็จลุล่วงด้วยดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าของบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจพิจารณา บทความ และคณะทางานทุกฝ่าย และขอขอบคุณผู้อ่าน ที่ท่านให้ความสนใจวารสารพิกุลของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร และพบกันใหม่ฉบับหน้า บรรณาธิการ วารสารพิกุล
  • 6. สารบัญ เทคโนโลยีเสมือนจริงในงานห้องสมุด (Augmented Reality (AR) in the Library) อนุชา พวงผกา Anucha Puangpaka และ สุวิทย์ วงษ์บุญมาก Suwit Wongboonmak ……….1 เป็นอยู่และดารงอยู่ของครูไทย: อิทธิพลจากปริบทของรัฐชาติไทยแลนด์ 4.0 (Thai Teachers’ Being and Existence: The Influences of Thailand 4.0 Contextualization) ธงชัย สมบูรณ์ Thongchai Somboon …………………………………………………………………………..19 การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาสุขภาวะของหมู่บ้าน: กรณีศึกษา บ้านนครชุม จังหวัดกาแพงเพชร (Community Participation in the Village Health Solution: A Case Study of Ban Nakhonchum, Kamphaeng Phet Province) อิสราวัชร เฟื่องอิ่ม Itsaravatchara Fuangim ………………………………………………………………..29 การศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร (Employers’ Satisfaction toward the Computer Science Graduate Students from Kamphaeng Phet Rajabhat University) นุจรินทร์ ปทุมพงษ์ Nujarin Pathumpong และ ประพัชร์ ถูกมี Prapatch Toogmee ............43 พระสังฆาธิการกับการบริหารจัดการวัดสู่ความเป็นเลิศ (Buddhist Ecclesiastical Officials and Buddhist Monasteries Administration for Best Practice) นพดล นวคุโณ (ถ่อนสันเทียะ) Nabhadon Nawakuno (Thonsantia)……….....…….……......…57 กลไกพัฒนาสมรรถนะนักปกครองระดับเจ้าอาวาสตามหลักพุทธธรรม (The Mechanism for Development the Administration’s Ability of Abbot by Buddhist Dhamma) สมสวย เจริญใจธนะกุล Somsuoy Chareonjaithanakul ........................................................75 เพลงพื้นบ้านท่าโพ กลุ่มเพลงพื้นบ้านท่าโพ (Thai Folk Song : Tapoh Local Song) ปิยนาฏ ปั้นนาค Piyanart Pannak และ นุชนาฏ ดีเจริญ Nutchanart Dechareon ……………93 ฟ้อนแขบลาน: จีวร ภาพสิงห์ (Fon Khap Larn: Jeewon Paapsing) ภัทราพร สุขศิริ Pattarporn Suksiri และ นุชนาฏ ดีเจริญ Nutchanart Dechareon …………111 วารสารพิกุล
  • 8. อนุชา พวงผกา1 Anucha Puangpaka สุวิทย์ วงษ์บุญมาก2 Suwit Wongboonmak บทคัดย่อ AugmentedRealityหรือ AR เป็นเทคโนโลยีใหม่ ที่นำโลกแห่งควำมจริง (Real) ผสำนเข้ำกับโลกเสมือน (Virtual) โดยใช้เทคนิคกำรแทนที่วัตถุด้วยภำพ 3 มิติ ลอยอยู่เหนือควำมเป็นจริง ทำให้ภำพที่เห็นตื่นเต้นและเร้ำใจยิ่งขึ้น เหมือนได้สัมผัสกับวัตถุชิ้นนั้นจริง ๆ เทคโนโลยีเสมือนยังให้ควำมรู้สึกเหมือนได้ เข้ำไปร่วมกิจกรรมนั้น ๆ โดยตรง เป็นกำรเปลี่ยนแปลงกำรนำเสนอในรูปแบบ ใหม่ จำกกำรศึกษำพบว่ำมีกำรนำ AR มำประยุกต์ใช้งำนในหลำกหลำยรูปแบบ เพื่ออำนวยควำมสะดวกต่อผู้ให้บริกำรและผู้รับบริกำรและที่สำคัญกำรนำ AR มำใช้ในห้องสมุดมีแนวโน้มที่ผู้ใช้บริกำรให้ควำมชื่นชอบและสนใจ คาสาคัญ: บริกำรห้องสมุด เทคโนโลยีเสมือนจริง กำรส่งเสริมกำรใช้บริกำร สำรสนเทศ 1 อำจำรย์, สำขำวิชำบรรณำรักษศำสตร์และสำรสนเทศศำสตร์ คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏกำแพงเพชร 2 รองศำสตรำจำรย์, อธิกำรบดีมหำวิทยำลัยรำชภัฏกำแพงเพชร เทคโนโลยีเสมือนจริงในงานห้องสมุด Augmented Reality (AR) in the Library วารสารพิกุล
  • 9. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 25602 Abstract Augmented Reality or AR is new technology integrated with the real world and the virtual world using 3D (replacement objects techniques). It would be arouse eye sight to feel real. In addition, virtual technology let you feel to join in that activity. AR can be adapted in various way to support entrepreneur. The AR techrology likely makes intersts and attracts people who are using the library. Keyword: Library service, Augmented reality, Information services บทนา ปัจจุบันเทคโนโลยีเสมือนจริง (AR) ได้มีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่องและ ได้นำมำประยุกต์ใช้กับงำนด้ำนต่ำงๆ อำทิ ด้ำนศิลปะด้ำนกำรแพทย์ ด้ำนกำรศึกษำ ด้ำนกำรทหำร ด้ำนกำรพำณิชย์ ด้ำนวิศวกรรม ด้ำนวิทยำศำสตร์ ด้ำนบันเทิง เป็นต้น บทควำมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกล่ำวถึงเทคโนโลยีเสมือนจริงและแสดง ถึงประโยชน์จำกกำรนำเทคโนโลยีเสมือนจริงไปใช้ในด้ำนต่ำง ๆ และที่สำคัญ นำไปใช้ในงำนห้องสมุดและแนวโน้มของกำรใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงในอนำคต เพื่อเพิ่มช่องทำงและรูปแบบกำรให้บริกำรที่น่ำสนใจ และมีควำมทันสมัย เพื่อให้ผู้ใช้บริกำรเข้ำถึงกำรบริกำรได้ง่ำยสะดวกและรวดเร็ว ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR) เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR) ถูกคิดค้นขึ้นระหว่ำงปี ค.ศ. 1960 - 1966 ผ่ำนอุปกรณ์ที่ชื่อ Sword of Damocles ซึ่งมีลักษณะเป็น หมวกครอบหัว ครอบตำและมีกำรเดินสำยเชื่อมอุปกรณ์ไปยังคอมพิวเตอร์ ขนำดใหญ่ โดยคนสวมใส่จะสำมำรถเห็นโลกจำลองผ่ำนอุปกรณ์ที่สวมอยู่ วารสารพิกุล
  • 10. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 3 และสำมำรถหันซ้ำยหันขวำ มองบนและล่ำงเพื่อเปลี่ยนทิศทำง แต่ทั้งนี้อุปกรณ์ สวมใส่เหล่ำนี้ก็มักจะมีปัญหำทำให้คนสวมเกิดอำกำรเวียนศีรษะ คลื่นไส้ เนื่องจำกควำมถี่ของภำพที่เรำเห็นในอุปกรณ์นั้นไม่เหมือนกับควำมเป็นจริง ที่คุ้นเคย ทำให้สมองเกิดอำกำรเมำและอำเจียนออกมำได้ ปัจจุบันจึงมักจะมอง ผ่ำนเครื่องที่ไม่ได้มีกำรขยับมำกและอำศัยพื้นที่ขนำดใหญ่แทนกำรครอบ เช่น เครื่องจำลองกำรบินที่แสดงภำพท้องฟ้ำจำลองบนหน้ำจอ เพื่อที่นักบินได้ ฝึกใช้แผงอุปกรณ์ควบคุมเครื่องบินได้คล่องก่อนที่จะลองบินกับเครื่องบินจริง ค.ศ. 2012 บริษัท Microsoft และ Google ได้เริ่มเปิดตัว AR กับอุปกรณ์ ใหม่ ๆ ที่จะสำมำรถใช้ในกำรประกอบธุรกิจ ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมไปถึง กำรเล่นเกมได้อย่ำงสมจริงในรำคำที่เข้ำถึงได้และเปิดตัวให้คนทั่วไปได้เป็น เจ้ำของ อำทิ Google Glass (AR) หรือ “Smart Glasses” ของ Google เรียกได้ ว่ำเป็นอุปกรณ์ “AR” ตัวแรกที่ทำให้คนทั่วโลกต่ำงสงสัยและตื่นตะลึงกับเทคโนโลยี ประเภทนี้ ปัจจุบันแว่นตำของ Google นั้นมีขนำดเล็ก สำมำรถใช้ดูแผนที่ กำรเดินทำง บันทึกภำพและวิดีโอ ค้นหำข้อมูลต่ำง ๆ บนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต ผ่ำนระบบกำรฟังหรือพูดและกำรสัมผัสด้ำนแว่นตำได้อย่ำงทันที Microsoft ออกผลิตภัณฑ์ “Hololens” โดยเป็นอุปกรณ์สวมใส่บนหัวแต่มีลักษณะกำรทำงำน แบบ “AR” นำแสงมำแสดงเป็นภำพกรำฟฟิกบนแว่นตำ ทำให้เห็นเหมือนภำพ เหล่ำนั้นได้ปรำกฏจริงอยู่ต่อหน้ำ โดยไม่จำเป็นต้องใช้ภำพรหัส AR Code ใด ๆ AR เป็นเทคโนโลยีที่สำมำรถนำเสนอภำพลักษณ์ในรูปแบบ Digital Campaign แบบต่ำง ๆ ที่สร้ำงประสบกำรณ์ใหม่ ๆ ให้กับผู้บริโภค ตลำด Digital Media มีแข่งขันกันและเติบโตสูงขึ้น ทำให้เกิดกำรตลำดบนโลกออนไลน์ อย่ำงมำก ส่วนหนึ่งเป็นผลมำจำกกำรเติบโตของ Social Media ที่นักกำรตลำดโลก เริ่มเห็นควำมเป็นไปได้และมั่นใจในกำรทำตลำดบนโลกออนไลน์และทุ่ม งบประมำณมำบนตลำดดิจิตอล AR จัดเป็นเทคโนโลยี Interactive บนเว็บไซต์ที่มำแรง (Gartner, 2016) ที่สุดในฝั่งอเมริกำ และยังแรงต่อเนื่องคำดกำรณ์ว่ำยังมีอีกหลำกหลำย Campaign ทำงกำรตลำดที่จะหยิบเทคโนโลยีนี้มำใช้ รวมทั้งเกมส์ Console ที่เป็นลักษณะ ของ กำรเล่นแบบ AR ยังไม่รวมสื่อช่องทำงอื่น ๆ ที่สำมำรถนำเทคโนโลยีนี้ไป วารสารพิกุล
  • 11. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 25604 ประยุกต์ใช้นอกเหนือจำกบนโลก Online จะเห็นได้จำกตอนมีกำรนำไปสร้ำง จุดเด่นตำมร้ำนจำหน่ำยเสื้อผ้ำ Brand ชั้นนำทั้งเสื้อผ้ำและรองเท้ำ แม้กระทั่ง เครื่องดื่ม ภำพที่ 1 เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR) ที่มำ https://blogs.exeter.ac.uk หลักการของเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality) กำรทำงำนของเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR) ด้วยฮำร์ดแวร์ เช่น กล้องถ่ำยรูป เข็มทิศ GPS จำกนั้นข้อมูลจะถูกนำมำประมวลผล ในส่วนของซอฟต์แวร์ในปัจจุบันยังมีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่รองรับเทคโนโลยี AR อำทิ Eyeglasses เป็นกำรแสดงผลวัตถุเสมือนผ่ำนเลนส์ของแว่นตำ หรือ Head- mounted ที่อยู่ในรูปแบบของหมวกนิรภัย เป็นต้น กำรพัฒนำเทคโนโลยี AR โดยภำพเสมือนจริงที่ปรำกฏขึ้นจะมีปฏิสัมพันธ์ กับผู้ใช้ได้ทันที ทั้งในลักษณะที่เป็นภำพนิ่งสำมมิติ ภำพเคลื่อนไหว หรืออำจจะเป็น สื่อที่มีเสียงประกอบ ขึ้นอยู่กับกำรออกแบบสื่อแต่ละรูปแบบ ว่ำให้ออกมำแบบใด โดยกระบวนกำรภำยในของเทคโนโลยีเสมือนจริง ประกอบด้วย 3 กระบวนกำร (พนิดำ ตันศิริ, 2553) ได้แก่ 1. กำรวิเครำะห์ภำพ (Image Analysis) เป็นขั้นตอนกำรค้นหำ Marker จำกภำพที่ได้จำกกล้องแล้วสืบค้นจำกฐำนข้อมูล (Marker Database) ที่มีกำรเก็บ ข้อมูลขนำดและรูปแบบของ Marker เพื่อนำมำวิเครำะห์รูปแบบของ Marker กำรวิเครำะห์ภำพ สำมำรถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) Marker Based AR เป็น วารสารพิกุล
  • 12. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 5 กำรวิเครำะห์ภำพโดยอำศัย Marker (วัตถุสัญลักษณ์) เป็นหลักในกำรทำงำน 2) Marker-less Based AR เป็นกำรวิเครำะห์ภำพที่ใช้คุณลักษณะต่ำง ๆ ที่อยู่ใน ภำพ (Natural Features) มำทำกำรวิเครำะห์เพื่อคำนวณหำค่ำตำแหน่งเชิง 3 มิติ (3D Pose) เพื่อนำไปใช้งำน 2.กำรคำนวณค่ำตำแหน่งเชิง 3มิติ (PoseEstimation)ของ Markerเทียบ กับกล้อง 3. กระบวนกำรสร้ำงภำพสองมิติ จำกโมเดลสำมมิติ (3D Rendering) เป็นกำรเพิ่มข้อมูลเข้ำไปในภำพ โดยใช้ค่ำตำแหน่ง เชิง 3 มิติ ที่คำนวณได้ จนได้ ภำพเสมือนจริง องค์ประกอบของเทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR) - AR Code หรือตัว Marker ใช้ในกำรกำหนดตำแหน่งของวัตถุ - Eye หรือ กล้องวิดีโอ กล้องเว็บแคม กล้องโทรศัพท์มือถือ หรือตัวจับ Sensor อื่น ๆ ใช้มองตำแหน่งของ AR Code แล้วส่งข้อมูลเข้ำ AR Engine - AR Engine เป็นตัวส่งข้อมูลที่อ่ำนได้ผ่ำนเข้ำซอฟต์แวร์หรือส่วน ประมวลผล เพื่อแสดงเป็นภำพต่อไป
 - Display หรือจอแสดงผลเพื่อให้เห็นผลข้อมูลที่ AR Engine ส่งมำให้ ในรูปแบบของภำพหรือวีดีโอหรืออีกวิธีหนึ่งเรำสำมำรถรวมกล้อง AR Engine และ จอภำพ เข้ำด้วยกันในอุปกรณ์เดียวได้ อำทิ โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น (Diana, 2016) ภำพที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR) ที่มำ http://www.apple.com วารสารพิกุล
  • 13. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 25606 เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR) บนโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์มือถืออัจฉริยะ หรือ สมำร์ทโฟน (Smart Phone) ถือเป็นจุด เปลี่ยนแนวคิดทำงกำรตลำดของกำรโฆษณำ เพรำะด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง บนโทรศัพท์มือถือ ทำให้ผู้ใช้สำมำรถรับข้อมูลหรือข่ำวสำรได้ทันที ปัจจุบัน ผู้ใช้งำนโทรศัพท์มือถือคงหลีกเลี่ยงกำรใช้งำนโทรศัพท์แบบ Smart Phone ไม่ได้เพรำะ Application (Apps) บนโทรศัพท์มือถือช่วยให้ชีวิตประจำวันของ หลำย ๆ ท่ำนสะดวกสบำยยิ่งขึ้น อำทิ กำรสนทนำผ่ำน Message, LINE กำรรับ ข้อมูลเร่งด่วนทันที่ Twitter, Facebook และ Line และอีกหลำย ๆ โปรแกรม ประยุกต์ (Application)ใช้เทคโนโลยี ARเพื่อประโยชน์ในกำรโฆษณำประชำสัมพันธ์ กำรตลำดและดูเหมือนว่ำจะเป็นแนวทำงใหม่ ที่ทำให้กำรขำยสินค้ำมีแนวโน้มที่ ดีขึ้น ผู้บริโภคไม่ต้องเดินทำงไปยังสถำนที่ขำยสินค้ำ ก็สำมำรถที่จะดูสินค้ำนั้น ๆ ผ่ำนโทรศัพท์มือถือได้ ทำให้กำรตัดสินใจในกำรจับจ่ำยสินค้ำง่ำยขึ้น หรือบำงที สำมำรถชื้อสินค้ำชิ้นนั้น ๆ ออนไลน์ได้ทันที บริษัทหลำย ๆ บริษัทเริ่มมีกำรพัฒนำ โปรแกรมประยุกต์ (Apps) ที่มีกำรใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อตรวจสอบควำม ต้องกำรของลูกค้ำ จำลองสินค้ำก่อนที่จะผลิตหรือผลิตส่วนน้อยถ้ำมีผู้บริโภค ต้องกำรและทำกำรสั่งสินค้ำก็จะทำกำรผลิตสินค้ำชิ้นนั้น ๆ ทำให้บริษัทผู้ผลิต ลดต้นทุน กำรผลิตได้อย่ำงดี ระบบปฏิบัติกำรของโทรศัพท์มือถือที่รองรับ เทคโนโลยี AR คือ iOS Android และ Windows Phone การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR) ปัจจุบันมีกำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR) เข้ำกับชีวิตประจำวัน อำทิ การประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น อุตสำหกรรมสร้ำงเครื่องบิน อุตสำหกรรมผลิตรถยนต์ โดยบริษัท BMW ได้ใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงมำช่วย ในกำรผลิต โดยให้ผู้ใช้ได้เรียนรู้กำรทำงำนด้วยกำรใส่แว่นตำที่จะมีคำแนะนำ และจำลองกำรทำงำน แสดงให้เห็นแต่ละขั้นตอนก่อนปฏิบัติจริงแบบ 3 มิติ กำรนำเสนอผลิตภัณฑ์ กำรอธิบำยถึงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ โดยเทคโนโลยี วารสารพิกุล
  • 14. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 7 เสมือนจริงจะจำลองข้อมูลให้ผู้ใช้ได้เห็นเหมือนใช้งำนจริง ๆ เห็นภำพลักษณ์ ของกำรใช้งำน ประโยชน์ของกำรใช้รถ BMW แต่ละรุ่น คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ อรรถประโยชน์ที่จะได้จำกกำรชื้อสินค้ำเพื่อให้ผู้ใช้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องก่อนตัดสินใจชื้อ กำรจำลองกำรขับทำให้ผู้ใช้เสมือนได้ขับรถคันนั้นจริงทำให้ลูกค้ำรู้สึกดี และมีแนวโน้ม ตัดสินใจชื้อสินค้ำนั้น ๆ ภำพที่ 3 กำรประยุกต์ใช้ในอุตสำหกรรม ที่มำ https://play.google.com การประยุกต์ใช้ทางด้านการแพทย์ กำรแพทย์เพิ่มควำมสมจริงในกำรรักษำ และให้นักศึกษำแพทย์ได้ใช้เครื่องมือแพทย์ในกำรรักษำหรือผ่ำตัดผู้ป่วยแบบ ไม่ต้องสัมผัสกับผู้ป่วยจริง ทำให้กำรผ่ำตัดของนักศึกษำแพทย์มีควำมกล้ำและ ได้ศึกษำขั้นตอนกำรผ่ำเหมือนได้ทำกำรผ่ำตัดจริง มีกำรนำเทคโนโลยีเสมือนจริง จำลองกำรผ่ำตัดผ่ำนระบบ ARI*SER โดยทำงมหำวิทยำลัยแพทยศำสตร์ Ganz ได้แปลงให้เป็นระบบจำลองกำรผ่ำตัดตับเสมือนจริง ผ่ำตัดระบบศัลยแพทย์ (Gaudiosi, 2016) วารสารพิกุล
  • 15. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 25608 ภำพที่ 4 กำรประยุกต์ใช้ทำงกำรแพทย์ ที่มำ http://uploadvr.com ภำพที่ 5 กำรประยุกต์ใช้ทำงกำรแพทย์ ที่มำ https://www.linkedin.com การประยุกต์ใช้ทางด้านธุรกิจ กำรซื้อขำยทำงกำรเงินด้วยเทคโนโลยี CYBERII สำมำรถให้ผู้ใช้งำนกำหนดบทบำทของตัวแทนจำหน่ำยในสภำพแวดล้อม เสมือนจริงที่สำมำรถเสนอรำคำในกำรซื้อขำย โดยใช้ลูกบอลสีเหลืองแสดง รำคำซื้อและลูกบอลสีแดงแสดงรำคำขำย ทำให้ผู้ใช้สำมำรถจำลองกำรซื้อขำย ทำงกำรเงินได้เสมือนจริง กำรขำยในด้ำนนี้เริ่มหันมำใช้ AR เพื่อนำเสนอสินค้ำ และกำรขำยที่สร้ำงควำมน่ำสนใจให้กับลูกค้ำ โดยมีกำรประยุกต์เข้ำกับ Smart Phone เพื่อให้ลูกค้ำสำมำรถสแกนรูปถ่ำยของสินค้ำและแสดงข้อมูลของสินค้ำ เพิ่มเติมในรูปแบบวิดีโอและสื่อ 3 มิติ หรือกำรนำมำใช้เพื่อจำลองกำรใช้งำนสินค้ำ นั้น ๆ เช่น จำลองกำรสวมใส่เสื้อผ้ำหรือเครื่องประดับบนร่ำงกำยของลูกค้ำ เป็นต้น วารสารพิกุล
  • 16. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 9 ภำพที่ 6 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนธุรกิจ ที่มำ https://www.pinterest.com การประยุกต์ใช้ทางด้านการโฆษณา โทรศัพท์มือถือซัมซุงนำเทคโนโลยี MobileAR มำสร้ำงกำรรับรู้เพื่อให้ลูกค้ำได้ทรำบถึงระบบปฏิบัติกำรใหม่บนมือถือ Samsung Wave และให้วูดดี้ (ดำรำและนักแสดง) เป็นผู้นำเสนอวิธีกำรใช้งำน ผ่ำนเทคโนโลยีเสมอจริงในรูปแบบสำมมิติ โดยลูกค้ำสำมำรถใช้เว็บแคมและ เครื่องพิมพ์ ประกอบกับซอฟต์แวร์ต่ำง ๆ ที่มีภำยใต้ระบบปฏิบัติกำร BADA ของ Samsung เรียกใช้โปรแกรมประยุกต์ต่ำง ๆ เพื่อใช้งำนตำมต้องกำรเทคโนโลยีของ Ford All New Focus นำเสนอข้อมูลผ่ำนสื่อใหม่อย่ำงโทรศัพท์มือถือ สัมผัส ประสบกำรณ์โฆษณำ All New Focus แบบ Augmented Reality ภำพที่ 7 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนกำรโฆษณำ ที่มำ http://www.trendy2.mobi วารสารพิกุล
  • 17. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256010 การประยุกต์ใช้กับการท่องเที่ยวนำเทคโนโลยีเสมือนจริงไปใช้เพื่อแนะนำ ประเทศไทยในงำน “The World Exposition Shanghai China 2010” ภำยใต้ แนวคิด “Thainess:Sustainable Ways of Life” และได้นำเสนอนิทรรศกำรภำยใน อำคำรศำลำไทยแยกเป็น 3 ส่วน คือห้องจัดแสดงนิทรรศกำร ที่ 1เรื่อง “จำกต้นสำย แหล่งกำเนิด:AJourneyofHarmony”ห้องจัดแสดงนิทรรศกำรที่ 2เรื่อง “เกิดร้อย พันพลำยวิถี: A Harmony of Different Tones” และห้องจัดแสดงนิทรรศกำรที่ 3 เรื่อง “หลอม รวมชีวิตวิถีควำมเป็นไทย: A Harmony of Thais” ในแต่ละห้อง นิทรรศกำรจะนำ เสนอเอกลักษณ์ของควำมเป็นไทยที่เกิดจำกกำรพัฒนำด้ำนต่ำง ๆ ผ่ำนเทคโนโลยีเสมือนจริง ตำรวจท่องเที่ยวพัฒนำกำรให้บริกำร อำนวยควำมสะดวก แก่นักท่องเที่ยว “Thailand Tourist Trips and Tips AR Book” ซึ่งเป็นกำรนำ เทคโนโลยี AR (Augmented Reality หรือ AR Code) ในกำรเพิ่มประสิทธิภำพ ในกำรให้บริกำรและประชำสัมพันธ์ข้อมูลต่ำง ๆ ที่ควรทรำบให้กับนักท่องเที่ยว เร่งสร้ำงควำมเชื่อมั่นด้ำนควำมปลอดภัยกับกำรท่องเที่ยวไทย และภำพลักษณ์ที่ดี ด้ำนกำรท่องเที่ยวของประเทศเพื่อกำรก้ำวสู่กำรเป็นศูนย์กลำงกำรท่องเที่ยวแห่ง เอเชีย (Tourism Capital of Asia) (Kampayy, 2015) ภำพที่ 8 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนกำรท่องเที่ยว ที่มำ http://9krapalm.com การประยุกต์ใช้ทางด้านพิพิธภัณฑ์ ระบบพิพิธภัณฑ์เสมือนสำมมิติ ด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ถูกพัฒนำขึ้นด้วยเครื่องมือ OpenSourceที่เรียกว่ำ วารสารพิกุล
  • 18. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 11 ซอฟต์แวร์ Open Simulator โดยพื้นที่ทั้งหมดจะเป็น 3 มิติ เปิดให้ผู้ดูแลระบบ และผู้ใช้งำนสำมำรถสร้ำงหรือนำเข้ำวัตถุจำลองเสมือน ตั้งแต่สิ่งของ อำคำรขนำด สถำนที่จำลอง รวมไปถึงวัตถุขนำดเล็ก และสำมำรถนำสื่อมัลติมีเดียเข้ำใช้งำน ในระบบได้ ในกำรเข้ำใช้งำนระบบผู้ใช้งำนต้องสมัครเป็นสมำชิกที่ http://vl.sut.ac.th จำกนั้นดำวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรม Viewer เพื่อเข้ำใช้งำนระบบพิพิธภัณฑ์ เสมือนสำมมิติ เมื่อเข้ำสู่ระบบผู้ใช้งำนจะมีหุ่นสัญลักษณ์แทนตนเอง ผู้ใช้สำมำรถ ควบคุมหุ่นสัญลักษณ์ให้ดำเนินกิจกรรมต่ำง ๆ ได้ เพื่อศึกษำข้อมูลในพิพิธภัณฑ์ เสมือนสำมมิติและสำมำรถสื่อสำรกับบุคคลอื่นได้ผ่ำนหุ่นสัญลักษณ์ ทำให้กำรเยี่ยม ชมพิพิธภัณฑ์โบรำณกลำยเป็นเรื่องน่ำสนุกน่ำในใจ (ขวัญชัย ศิริสุรักษ์, 2557) ภำพที่ 9 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนพิพิธภัณฑ์ ที่มำ http://www.manager.co.th การประยุกต์ใช้ทางด้านการรักษาความปลอดภัยและการป้องกันประเทศ Office of Naval Research and Defense Advanced Research Projects AgencyหรือDARPAประเทศสหรัฐอเมริกำเป็นกลุ่มผู้บุกเบิกระบบเทคโนโลยีเสมือน จริงนำมำใช้ในกำรฝึกให้กับทหำรให้เกิดกำรเรียนรู้เกี่ยวกับสภำพแวดล้อมของ พื้นที่ข้อมูลต่ำง ๆ ในพื้นที่รบ สำมำรถนำมำใช้ฝึกกำรเคลื่อนไหวของกองกำลังและ วำงแผนกำรเคลื่อนกำลังของทหำรในฝ่ำยเดียวกันและศัตรูในพื้นที่สงครำม เสมือนจริงและยังมีบทบำทสำคัญในกำรบังคับใช้กฎหมำยและหน่วยงำนข่ำวกรอง ระบบจะช่วยให้เจ้ำหน้ำที่ ตำรวจ สำมำรถสร้ำงมุมมอง ที่สมบูรณ์ในรำยละเอียด เกี่ยวกับข้อมูลพื้นที่ลำดตระเวน วารสารพิกุล
  • 19. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256012 ภำพที่ 10 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนกำรรักษำควำมปลอดภัยและกำรป้องกันประเทศ ที่มำ http://www.darpa.mil แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR) ในอนาคต ในอนำคตอันไม่ไกลจำกนี้ เทคโนโลยี “กำรค้นหำด้วยภำพ (VisualSearch)” จะเป็นสิ่งที่จะมำพลิกโฉมของกำรที่มนุษย์จะติดต่อและใช้งำนอุปกรณ์ต่ำง ๆ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง สมำร์ทโฟน โดยกำรใช้เทคโนโลยีกำรจดจำภำพ (Image Recognition) ก็จะทำให้โปรแกรมสำมำรถรู้ได้ว่ำสิ่งที่มองเห็นอยู่เป็นวัตถุหรือ รูปภำพอะไร ซึ่งสำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ในธุรกิจกำรซื้อของออนไลน์ให้ง่ำยขึ้น มำกจนคุณแทบไม่ต้องออกแรงใด ๆ เลย เรียกว่ำขั้นตอน “POINT-KNOW-BUY” โดยคุณสำมำรถสแกนรูปภำพหรือวัตถุที่เป็นสินค้ำเป้ำหมำย ระบบก็จะแสดงข้อมูล เชิงลึกของสินค้ำนั้น เมื่อคุณพอใจก็สำมำรถสั่งซื้อของชิ้นนั้นได้ทันที ซึ่งตอนนี้ แม้ผู้เล่นรำยใหญ่อย่ำง Google ก็กำลังบุกเบิกเรื่องนี้อยู่อย่ำงขะมักเขม้น เรียกว่ำ เทคโนโลยี Google Goggle หรือ Layer Vision พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 เทคโนโลยี กำรศึกษำหำกนำมำประยุกต์ใช้ในงำนของห้องสมุด โดยยึดตำม พรบ. กำรศึกษำ แห่งชำติ ห้องสมุดในอนำคตจะต้องเป็นห้องสมุดที่มีสื่อกำรให้บริกำรที่เพียงพอ โดยกำรนำเอำเทคโนโลยีที่เหมำะสม มีคุณภำพมำใช้ในงำนของห้องสมุด เพื่อรองรับกำรใช้ บริกำรตลอดเวลำเปรียบเสมือนคลังควำมรู้ทั้งที่อยู่ในรูปแบบ กำรให้บริกำรแบบปกติและกำรให้บริกำรแบบออนไลน์ วารสารพิกุล
  • 20. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 13 ห้องสมุดตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 1. เพื่อใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงในกำรบริกำรสืบค้นหนังสือ OPAC 2. เพื่อกำรค้นหำตำแหน่งของหนังสือ 3. เพื่อบริกำรทำงด้ำนระบบกำรยืม - คืน ออนไลน์ จำกกำรนำทฤษฎีต่ำง ๆ มำประยุกต์ใช้ให้เกิดกระบวนกำรกำรให้บริกำร นั้นจะสังเกตได้ว่ำทุกทฤษฎีมุ่งเน้นในเรื่องกำรให้บริกำรสำหรับบุคคลทั่วไป โดยจะต้องปรับเปลี่ยนหรือพัฒนำให้ตรงตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้บริกำร อยู่ตลอดเวลำรวมถึงกำรเข้ำถึงได้ตลอด 24 ชั่วโมง และที่สำคัญคือต้องคำนึงถึง ควำมสะดวกรวดเร็วและประหยัดเวลำในกำรค้นหำหนังสือหรืองำนบริกำร ด้ำนอื่น ๆ กำรใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงยังมีแนวโน้มที่จะพัฒนำมำกขึ้นควบคู่ไป กับเทคโนโลยี 4G หรือเทคโนโลยีเจนเนอเรชั่นที่ 4 (4th Generation) ซึ่ง ควำมรวดเร็วของเทคโนโลยีระบบ 4G (4th Generation) ที่เป็นระบบเครือข่ำยไร้ สำยควำมเร็วสูงพิเศษสำมำรถส่งผ่ำนข้อมูลในควำมเร็วที่ประมำณ 20 - 40 เมกะ ไบต์ ต่อวินำที (Mbps/ Second) ทำให้ผู้บริโภคสำมำรถดำวน์โหลดข้อมูลรูปแบบ พิเศษที่เรียกว่ำ AR (Augmented Reality) รวมถึงข้อมูลในรูปธรรมดำอื่น ๆ (ข้อมูลภำพภำพยนตร์ กำรประชุมหรือสัมมนำที่ต้องมีโต้ตอบ (Real time) ได้อย่ำง สะดวกจำกคุณสมบัติเด่น ๆ ของระบบ 4G ที่กล่ำวมำนักกำรตลำด และองค์กร ธุรกิจสำมำรถนำเทคโนโลยีระบบ4GและARมำใช้เป็นเครื่องมือในกำรติดต่อสื่อสำร ทำกำรตลำดและดำเนินงำนเพื่อให้เกิดประโยชน์สำหรับ องค์กรธุรกิจ และ ผู้บริโภค เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR) ในงานห้องสมุด ปัจจุบันเทคโนโลยีเสมือนจริงถูกนำมำประยุกต์มำใช้ในงำนบริกำรของ ห้องสมุดเป็นบำงส่วนยกตัวอย่ำงเช่นบริกำรส่งเสริมกำรอ่ำนบริกำรประชำสัมพันธ์ แนะนำกำรใช้ และบริกำรยืมคืนทรัพยำกร โดยมีงำนวิจัยเกี่ยวกับกำรนำเทคโนโลยี เสมือนจริงมำช่วยบริกำร โดยให้บริกำรผ่ำน Application มือถือ เพื่อให้ผู้อ่ำน ได้รับประสบกำรณ์ใหม่สนุกไปกับกำรอ่ำน ตื่นเต้นและเพลิดเพลินไปกับกำรอ่ำน วารสารพิกุล
  • 21. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256014 หนังสือ จุดเริ่มต้นของกำรนำเทคโนโลยีนี้มำใช้ เพื่อส่งเสริมกำรอ่ำนของเด็กกลุ่มหนึ่ง ผ่ำน Apps มือถือเป็นกำรนำนิทำน หรือ เรื่องเล่ำ ประกอบภำพกำร์ตูน และเสียง มำช่วยในกำรส่งเสริมกำรอ่ำน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยีเสมือนจริง เนื้อหำของ เรื่องให้นักเรียนหำสัตว์ในตำนำน เด็กสนุกไปกับกำรอ่ำนและได้เห็นภำพที่ เสมือนจริง นอกจำกนั้นแล้วยังมีกำรใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงในกำรประชำสัมพันธ์ จุดให้บริกำรต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็นบริกำรจองห้องประชุม บริกำรจองทรัพยำกร บริกำรถำมตอบและบริกำรสื่อดิจิตอล รวมไปถึงกำรนำเทคโนโลยีเสมือนจริง ให้บุคลำกรในสถำบันหรือหน่วยงำนที่ให้บริกำรสำรสนเทศ เช่น นำระบบ AR ไปใช้ ในกำรสำรวจ ตำแหน่งทรัพยำกร ตำแหน่งห้องประชุม จุดบริกำรต่ำง ๆ แม้กระทั่ง กำรเก็บสถิติของทรัพยำกรสำรสนเทศและผู้รับบริกำร ภำพที่ 11 กำรประยุกต์ใช้ทำงด้ำนห้องสมุด ที่มำ http://www.popsci.com ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ กำรบริกำรสำรสนเทศลักษณะพิเศษ สำมำรถคิดสร้ำงสรรค์บริกำร ต่ำง ๆ ตำมพันธกิจและอัตลักษณ์ของแต่ละสถำบัน ซึ่งอำจแตกต่ำงหรือ เหมือนกับห้องสมุดอื่น ๆ เช่น บริกำรนำชม กำรจัดกิจกรรมบรรยำย/ เสวนำ ในวำระพิเศษที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหำสำรสนเทศ บรรณำรักษ์ที่ดูแลรับผิดชอบงำน บริกำรสำรสนเทศลักษณะพิเศษควรมีควำมรู้ทั้งด้ำนบรรณำรักษศำสตร์ เทคโนโลยีห้องสมุดและมีควำมสนใจใฝ่รู้ศำสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหำของ วารสารพิกุล
  • 22. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 15 สำรสนเทศในควำมรับผิดชอบ ซึ่งจะช่วยให้สำมำรถเลือกประเด็นสำหรับสร้ำง กิจกรรมให้หลำกหลำย ควรสำมำรถให้บริกำรเชิงลึกได้มำกขึ้น ด้วยสรรถนะ ควำมรู้เฉพำะด้ำน ควำมเข้ำใจผู้ใช้บริกำร ควำมสำมำรถในกำรทำงำนร่วมกับ ผู้ใช้บริกำรในฐำนะผู้ร่วมงำนได้ การนาไปใช้ประโยชน์ กำรนำเทคโนโลยี AR (Augmented Reality: AR) มำใช้ในงำนห้องสมุด ทำให้กำรบริกำรดูทันสมัย แปลกใหม่ และสวยงำม จึงเป็นสิ่งที่ผู้ใช้บริกำร ให้ควำมสนใจและชื่นชอบมำก ผู้ให้บริกำรต้องพัฒนำ ค้นหำระบบหรือ โปรแกรมให้บริกำรสำรสนเทศลักษณะพิเศษนี้ เพื่อให้สำมำรถเพิ่มรูปแบบกำร บริกำรที่มำกกว่ำบริกำรพื้นฐำนของห้องสมุดปกติ ให้ผู้ใช้บริกำรได้รับสำรสนเทศ ซึ่งสอดคล้องกับกำรให้บริกำรเชิงลึกในสภำพแวดล้อมที่สื่อต่ำง ๆ ถูกแทนที่ ด้วยอินเทอร์เน็ต ซึ่งผู้ใช้อำจพึ่งพำห้องสมุดน้อยลง กำรให้บริกำร จึงควรเน้น บริกำรสำรสนเทศ ควำมรู้และข้อมูลที่ต้องอำศัยสมรรถนะของบุคลำกรวิชำชีพ เฉพำะด้ำนมำกขึ้น วารสารพิกุล
  • 23. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256016 เอกสารอ้างอิง ขวัญชัย ศิริสุรักษ์. (2557). โครงการพัฒนาคลังข้อมูลภูมิปัญญาอีสาน กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์บ้านอีสาน มมส. (Digitized Isan) โดยใช้เทคนิคความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality, AR) บนสมาร์ทโฟน. เข้ำถึงเมื่อ มกรำคม 20, 2560, จำก https://prf.msu.ac.th. ตำรวจท่องเที่ยว, สำนักงำน. (2558). เปิดประสบการณ์ใหม่ที่พิเศษ ยิ่งกว่ากับตารวจท่องเที่ยว. เข้ำถึงเมื่อ พฤศจิกำยน 10, 2559, จำก http://9krapalm.com. นิวัฒน์ ชำตะวิทยำกูล. (2555). Augmented Reality เทคโนโลยีที่น่าจับตา. เข้ำถึงเมื่อ มีนำคม 15, 2560, จำก http://www.digithun.com. พัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ, สำนักงำน. (2558). การประยุกต์ ใช้งาน Augmented Reality กับงานห้องสมุด. เข้ำถึงเมื่อ มีนำคม 20, 2560, จำก https://www.nstda.or.th. พนิดำ ตันศิริ. (2553). โลกเสมือนผสำนโลกจริง Augmented Reality. วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 30(2), 169-175. วสันต์ เกียรติแสงทอง, พรรษพล พรหมมำศ และอนุวัตร เฉลิมสกุลกิจ. (2552). การศึกษาเทคโนโลยีออคเมนต์ เตดเรียลริตี้ กรณีศึกษา พัฒนาเกมส์ “เมมการ์ด”. กรุงเทพฯ: คณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ศุภชัย วงค์มูล. (2557). เทคโนโลยี AR (Augmented Reality) และแอปพลิเคชัน Aurasma. เข้ำถึงเมื่อ กุมภำพันธ์ 20, 2560, จำก https://supachai287.wordpress.com. สัมผัสประสบการณ์โฆษณา Ford All New Focus แบบ Augmented Reality บน iOS. (2555). เข้ำถึงเมื่อ มกรำคม 15, 2560, จำก http://www.trendy2.mobi. วารสารพิกุล
  • 24. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 17 ASTV ผู้จัดกำรออนไลน์. (2558). มิวเซียมสยามเปิดตัว “MuseMon” ประยุกต์กำรเรียนรู้สู่เกมมือถือ. เข้ำถึงเมื่อ มีนำคม 15, 2560, จำก http://www.manager.co.th. Augmented Reality in the Library. (2012). Retrieved April 10, 2017, from http://www.slideshare.ne. Augmented reality. (2014). Retrieved February 17, 2017, from http://en.wikipedia.org. Augmented Reality Deck by ARworks - v2. (01:35:27 UTC). Retrieved December 20, 2016, from http://www.slideshare.net. Augmented Reality | Interactive Print. (n.d.). Retrieved January 10, 2017, from https://www.layar.com. Behringer, R., Mizell, G. & Klinker, D. (2001). เทคโนโลยี AR ที่ย่อมาจาก Augmented Reality. Retrieved December 15, 2016, from http://www.cw.in.th. CFE/GRCP/CEFI/CCIP/C|CISO/CBA, A. T. (2016, August 30). Understanding Your Next Digital Addiction: Augmented Reality 101. Retrieved December 10, 2016, from https://www.linkedin.com. Diana, H. (2016). Guest Post: Diana Hellyar on Library Use of New Visualization Technologies. Retrieved November 20, 2016, from http://informatics.mit.edu. Gaudiosi, J. (2016). Doctors Using VR to Aid in Neurosurgery “Is A No-Brainer.” Retrieved December 10, 2016, from http://uploadvr.com. Gartner’s Top 10 Strategic Technology Trends for 2017. (2016, October 18). Retrieved November 26, 2016, from http://www.gartner.com. วารสารพิกุล
  • 25. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256018 Guest Post: Diana Hellyar on Library Use of New Visualization Technologies. (n.d.). Retrieved November 20, 2016, from http://informatics.mit.edu. Hahn, J. (2012). Mobile augmented reality applications for library services. New Library World, 113(9/ 10), 429-438. Jones, H. A. (n.d.). SCARLET: Augmented Reality in Special Collections. Retrieved December 20, 2016, from http://archiveshub.ac.uk. N Show 3D Virtual Dressing Room Virtual Fitting Room. (n.d.). Retrieved December 17, 2016, from https://www.pinterest.com. Rapid Prototyping Mobile Augmented Reality Applications. (2012). Retrieved November 15, 2016, from http://acrl.ala.org. วารสารพิกุล
  • 26. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 19 ธงชัย สมบูรณ์1 Thongchai Somboon บทคัดย่อ ครูถือได้ว่ำเป็นอำชีพที่มีควำมศักดิ์สิทธิ์เพรำะได้รับกำรยอมรับจำก สังคมทั่วไป ฉะนั้นจึงมีกำรเปรียบเปรยกับคำว่ำ ครู ในวำทกรรมหลำย ๆ อย่ำงเช่น ครู คือ รำกแก้วในกำรสร้ำงอัตลักษณ์ของชำติ หรืออื่น ๆ อีกมำกมำย จำกอดีต จนถึงปัจจุบัน วิถีของครูดูจะเปลี่ยนไปจำกเดิมด้วยเหตุปัจจัยของปริบท กำรเปลี่ยนแปลงทุก ๆ มิติ เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงทำให้กำรเป็นอยู่และกำรดำรงอยู่ ของครูได้รับอิทธิพลด้วยรูปแบบ “SMART@SPEED Model” เป็นอีกหนึ่ง รูปแบบที่จะสำมำรถจรรโลงและช่วยให้ครูมีวัฒนวิถีที่ดีขึ้น รูปแบบนี้ประกอบด้วย S = Social skill (ทักษะเชิงสังคม) M = Managerial skill (ทักษะทำงด้ำนจัดกำร) A = Academic skill (ทักษะทำงด้ำนวิชำกำร) R = Researching skill (ทักษะ ทำงด้ำนค้นคว้ำ) T = Tecnological skill (ทักษะทำงด้ำนเทคโนโลยี) นอกจำกนี้ ยังมีรูปแบบของ“SPEED”เพิ่มเข้ำมำซึ่งประกอบด้วยS =Support (กำรสนับสนุน และกำรส่งเสริม) P = Procedure (กำรทำงำนเป็นขั้นตอน) E = Ethics (จริยศำสตร์ คุณธรรม) E = Empowerment of Learning Quality (กำรตระหนักถึงคุณภำพ 1 รองศำสตรำจำรย์, ดร. สำขำวิชำพื้นฐำนกำรศึกษำ คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำมคำแหง เป็นอยู่และดารงอยู่ของครูไทย: อิทธิพลจากปริบท ของรัฐชาติไทยแลนด์ 4.0 Thai Teachers’ Being and Existence: The Influences of Thailand 4.0 Contextualization วารสารพิกุล
  • 27. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256020 กำรจัดกำรเรียนรู้) D =Development (กำรพัฒนำ) รูปแบบดังกล่ำวนี้ เชื่อว่ำจะทำ ให้ครูมีกำรเป็นอยู่และกำรดำรงอยู่อย่ำงมีควำมสุขในยุคไทยแลนด์ 4.0 คาสาคัญ: กำรเป็นอยู่ กำรดำรงอยู่ ปริบทไทยแลนด์ 4.0 Abstract General known, teacher is the sacred name of high profession which is engaged by the social respect. Under the auspices of several their functions teacher is impliedly into many meaningful responsibilities. One of the discourse is teacher as the tap root of the national identity building. Throughout the long history, teacher’s life style is changeable because of the dimension of changing global contextualization influencing. SMART@SPEED Model these essential characteristics can be extensive necessity for the daily life and working. The model consisted of S = Social skill, M = Managerial skill, A = Academic skill, R = Researching skill and T = Technological skill. Moreover, “SPEED” is also fruitful of the teacher’s activities which is full of the delivery words as the following; S = Support, E = Ethics, E = Empowerment of Learning Quality and D = Development. This evidence model will be helpful for teacher’s being and existence with the total ultimate happiness in the Thailand 4.0 Era. Keywords: Being, Existence, Thailand 4.0 contextualization วารสารพิกุล
  • 28. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 21 บทนา ชำติหรือรัฐชำติ หรือควำมเป็นรัฐชำตินั้น ต่ำงทำหน้ำที่ในกำรสร้ำง ควำมผูกพัน สร้ำงพลังร่วมให้สมำชิกในชำตินั้นให้กลำยเป็นพลเมืองที่ดีและ เป็นคนดีที่พึงปรำรถนำทั้งในเวลำปัจจุบันและอนำคตได้ ทั้งนี้เพื่อกำรดำรงไว้ ซึ่งวัฒนวิถีอันงดงำมของรัฐชำติด้วย เหตุผลเชิงประจักษ์ของทุกชำติทุกภำษำ ที่สำคัญอีกประกำรหนึ่ง คือ ทุกชำติต่ำงให้ควำมสำคัญว่ำกำรศึกษำเป็นเครื่องมือ อันศักดิ์สิทธิ์ในกำรพัฒนำรัฐให้มีควำมเจริญงอกงำมในทุก ๆ ด้ำน และในทำง เดียวกัน กำรศึกษำของชำติที่ดีนั้นขึ้นอยู่กับครู เพรำะครูเป็น “เส้นเลือดใหญ่” หรือ “รำกแก้วของกำรสร้ำงชำติ” (Teacher as a tap root) ภำพเชิงบวกของ ผู้ที่ทำหน้ำที่ครูผู้สอน(Teacher)ไม่ใช่คนผู้สอน(Teller)จึงถูกจัดวำงไว้ในตำแหน่ง ที่มีเกียรติและมีคุณค่ำแห่งวิชำชีพชั้นสูง กล่ำวโดยควำมเป็นจริงแล้ว รัฐชำติกับกำรศึกษำเป็นสิ่งที่ถูกประสำนเป็น เนื้อเดียวกันอย่ำงลงตัว โดยมี “ครู” เป็นผู้ที่ก่อให้เกิดควำมเป็นชำติ ทั้งนี้จะ ผ่ำนกระบวนกำรถ่ำยทอดควำมรู้ภำยใต้บริบทของหลักสูตรและวิถีกำรสอนหรือ วิธีกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ให้กับผู้เรียน ดังจะเห็นได้จำกกำรเรียนรู้ในสมัยโบรำณ ครูมีหน้ำที่ทั้งทำงตรงและทำงอ้อมในกำรขัดเกลำและบ่มเพำะใน “เทวำลัยแห่ง กำรเรียนรู้ (Temple of learning)” ทั้งนี้เพื่อหวังให้ผู้เรียนเป็นคนดีโดยสมบูรณ์ นอกจำกนี้ควำมเชื่อของครูอีกประกำรหนึ่ง ในกำรสร้ำงชำติสร้ำงแผ่นดินต่อไป คือ ควำมคำดหวังที่จะให้ผลผลิตที่ออกไปจำกสถำบันกำรเรียนรู้ได้เป็นกำลังของ รัฐชำติต่อไป ครู: ผู้สร้างชาติสร้างแผ่นดิน ด้วยปริบทของประเทศไทยที่ให้ควำมสำคัญต่อควำมเป็นครูและวิชำชีพ ครูที่มีควำมมั่นคงและเป็นอำชีพเดียวที่เรียกคนอื่นว่ำ “ลูก”ด้วยนัยยะ ควำมยิ่งใหญ่ ของครูที่สังคมยอมรับโดยทั่วกันว่ำ ครูเป็นพ่อแม่คนที่สองของผู้เรียน ด้วยเหตุนี้ ควำมยิ่งใหญ่แห่งวำทกรรมคำว่ำ “ครู” จึงบ่งบอกถึงเนื้อ ในที่ซ่อนด้วยควำมหมำย อย่ำงน้อย สองประกำร คือ ครูที่มีควำมกระตือรือร้น ในวิชำชีพที่ตนรักและทุ่มเท วารสารพิกุล
  • 29. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256022 สอนด้วยจิตวิญญำณแห่งควำมเป็นครูจริง เรำจึงเรียกว่ำ Teacher by choice หรือ Teacher at heart และควำมหมำยอีกประกำรหนึ่ง คือ ครูที่มีควำมพึงพอใจ กับตำแหน่งแห่งอำนำจและควำมเหนือกว่ำลูกศิษย์ด้วยประกำรทั้งปวง ครูเหล่ำนี้ ต้องถูกเรียกว่ำ Teacher by chance เท่ำนั้น (ธงชัย สมบูรณ์, 2555) ด้วยเหตุ ที่ว่ำ “พื้นที่ทำงกำรศึกษำ (Educational sphere)” ที่มีครูเป็นผู้ถ่ำยทอดข้อควำมรู้ และองค์ควำมรู้ที่เป็นมงคลต่อชีวิตของผู้เรียน คนในสังคมจึงต่ำงมีควำมศรัทธำ และมีควำมเชื่อในควำมจริงสูงสุด (Metaphysics) แห่งอำชีพนี้ นอกจำกนี้ยังมี ควำมเชื่ออีกประกำรหนึ่งว่ำ ครูเป็น “อัศวิน” ที่จะมำขจัดปัดเป่ำและคลี่คลำย รวมทั้งแก้ไขปัญหำของสังคมได้ ซึ่งสิ่งนี้ถูกปลุกฝังและหยั่งรำกลงในควำมเชื่อ ของผู้คนในสังคมไทยมำเป็นเวลำช้ำนำน ฉะนั้นควำมศักดิ์สิทธิ์ของครูจึงถึง พร้อมโดยปริยำยและดุษฏี หันกลับมำมองกำรสร้ำงชำติสร้ำงแผ่นดินของครู ที่มีกำรเปรียบเทียบ ในวำทกรรมมำกมำยหลำยรูปแบบ ทั้งที่ปรำกฏในบทเพลง “แม่พิมพ์ของชำติ” ที่ขับร้องโดย ศิลปินวงจันทร์ ไพโรจน์ ซึ่งมีเนื้อหำบำงส่วนดังนี้ “แสงเรืองเรืองที่ ส่องประเทืองอยู่ทั่วเมืองไทย คือ แม่พิมพ์อันน้อยใหญ่ สร้ำงชำติไทยให้วัฒนำ” หรือแม้แต่บทภำพยนตร์ที่สะท้อนให้เห็นถึงควำมมุ่งมั่นในกำรให้ควำมรู้แก่ลูกศิษย์ เช่นภำพยนตร์เรื่อง “ครูดอย”“ครูบ้ำนนอก”เป็นต้น ที่นำเสนอเรื่องรำวกำรทำงำน ของครูที่เปี่ยมด้วยอุดมกำรณ์อันแรงกล้ำ ผนวกกับพลังศรัทธำที่พร้อมจะเติมเต็ม ให้กับ “ผู้เรียนชำยขอบ (Marginal learners)” ให้มีควำมรู้เพื่อต่อยอดวิถีชีวิต ในอนำคตให้เยียมเท่ำกับผู้ที่มีโอกำสอย่ำงเต็มเปี่ยม ภำพเหล่ำนี้แสดงให้เห็นถึงกำร รักและเชิดชูในวิชำชีพของตนเองอย่ำงชัดเจน วำทกรรมกำรผลิตซ้ำ (Reproduction) ของกำรสร้ำงชำตินั้น บำงครั้ง เกิดจำกควำมขัดแย้งที่เป็นควำมขัดแย้งแบบชั่วครำว (Unfrozen Conflict) บำงครั้งก็เป็นควำมรุนแรงเชิงโครงสร้ำง (Structural Violence) หรือบำงครั้ง เป็นควำมขัดแย้งแบบธรรมดำ (Regular Conflict) แม้ว่ำภำพของควำมขัดแย้ง ต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสร้ำงควำมรู้สึกนึกคิดให้แก่คนไทยในลักษณะที่แตกต่ำง กันบำงช่วงทั้งที่เป็นรูปธรรมและนำมธรรมก็ตำม แต่บทบำทและหน้ำที่ของ ครูผู้สอนนั้นยังต้องผนึก “ควำมเป็นชำติ” ให้เป็นเนื้อเดียวกันให้ได้ โดยกำรใช้ วารสารพิกุล
  • 30. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 23 พลกำลังทำงด้ำนร่ำงกำย กำลังทำงสติปัญญำ ที่ผ่ำนมำ อำจกล่ำวได้ว่ำกำรศึกษำ ไทย หรือสถำนกำรณ์ของครูไทยถูกครอบงำให้ยึดหลักกำรจัดกำรเรียนรู้ที่มี หลักสูตรแห่งชำติเป็นสรณะและเป็นบทตั้ง นอกจำกนี้วำทกรรมกำรสอนของครู ในควำมเป็นบูรณำกำรพึ่งเกิดขึ้นมำเมื่อไม่นำนนี้เอง ถึงแม้ว่ำเจตนำรมณ์ของ กระทรวงศึกษำธิกำรที่เป็น “แม่งำน” ในกำรรับผิดชอบต่อกำรจัดกำรศึกษำของรัฐ ชำติที่พยำยำมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนกำร “เรียนรู้ร่วมกัน” แต่ภำพจริงที่ปรำกฏ นั้นคือ“กำรเรียนรู้ลอกกัน”รัฐชำติจึงถูกสร้ำงเป็น “รูปแบบเดิม” ทั้งสิ้น แต่อย่ำงไร ก็ตำม ครูก็ต้องเป็นผู้สร้ำงต่อไป เพรำะจำกอดีตจนถึงปัจจุบัน ควำมคำดหวังสูงสุด ทำงกำรศึกษำ คือ ควำมสุขสถำพรและยั่งยืนของรัฐชำติแบบองค์รวม ตลอดจน กำรสร้ำงให้ผู้เรียนมีควำมสำมำรถใช้ทักษะเชิงสังคมต่อสู้กับมำยำต่ำง ๆ และใช้ ลีลำชีวิตได้อย่ำงงดงำม ด้วยเหตุนี้ครูผู้สร้ำงชำติสร้ำงแผ่นดินจะต้องช่วยกัน ขับเคลื่อน ช่วยกันอภิวัตน์ สร้ำงผู้เรียนที่ถูกเรียกว่ำ ลูกศิษย์ให้ก้ำวไปสู่ควำม เป็นปัญญำปัจเจกให้จงได้ ความเป็นอยู่และการดารงอยู่ของครู: จิตวิญญาณที่มั่นคงหรือถดถอย จำกประวัติศำสตร์ที่ผ่ำนมำ ครูเปรียบเสมือนน้ำทิพย์ที่คอยหล่อเลี้ยง กำรศึกษำของรัฐชำติให้มีควำมมั่นคงทำงด้ำนจิตใจระหว่ำงครูกับศิษย์ ในกำรพัฒนำ ร่วมกัน แม้ว่ำจะมีกำรล่ำอำณำนิคมทำงกำรศึกษำที่มำจำกประเทศต่ำง ๆ นั้น ทำให้วิธีคิดของครูบำงคน บำงกลุ่ม อำจมีกำรเปลี่ยนแปลงไปบ้ำง ควำมศรัทธำ ในวิชำชีพที่ถูกเฝ้ำมองจำกบุคคลภำยนอก จึงเกิดข้อคำถำมขึ้นให้กับครู คือ จิตวิญญำณของควำมเป็นครูยังหลงเหลืออยู่หรือไม่ ซึ่งทั้งนี้อำจมองได้เป็น สองขั้ว (Binary) ทั้งที่เป็นภำพเชิงบวกและเป็นภำพเชิงลบ เหตุกำรณ์บำงอย่ำง ที่เกี่ยวกับกำรกระทำของครูบำงคน ทั้งที่ปรำกฏในสื่อหรือยังซ่อนเร้นอยู่ สิ่งนี้ ล้วนสร้ำง “ตรำบำปหรือรอยสัก” ให้กับวิชำชีพครู ควำมเป็นอยู่ของครูในวิชำชีพนี้ บำงครั้งมีควำมถดถอยลง ซึ่งมีสำเหตุจำกควำมไม่เข้ำใจอย่ำงชัดเจน ในแก่น แกนปรัชญำกำรศึกษำของรัฐชำติที่ถูกกำหนดจำกผู้ที่มีอำนำจ โดยที่ไม่มี ประสบกำรณ์ทำงด้ำนกำรจัดกำรศึกษำเลย เมื่อเป็นเช่นนี้ สภำพแห่งกำรทำงำน วารสารพิกุล
  • 31. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256024 ที่เป็นอยู่เพียงคำดหวังว่ำอนำคตอันใกล้นี้ กับ“ผู้มีอำนำจใหม่”คงจะจัดกำรศึกษำ หรือวำงนโยบำยกำรศึกษำให้ดีขึ้นกว่ำเดิม ฉะนั้นจึงไม่แปลกอะไรเลยที่ครูผู้สอน จะเพียงรักษำสถำนภำพเดิม (Status quo) ของตนเองให้คงอยู่ไว้จำกสภำพจริง ที่เป็นอิทธิพลหลักหนึ่งที่ครูจะต้องสมยอมใน “อำนำจของหลักฐำนและเอกสำร” กำรจัดเตรียมกิจกรรมที่แปลกใหม่เพื่อเพิ่มสมรรถนะ เพิ่มควำมรู้ เพิ่มคุณลักษณะ กำรแสดงออกและของผู้เรียน (CKAP = Competency, Knowledge, Attributes and Performances) จึงค่อนข้ำงน้อย เพรำะกฏเกณฑ์บำงอย่ำงในกำรประเมิน ควำมเป็นครูถูกอำนำจทับซ้อนด้วยเอกสำรที่ไม่ตรงกับควำมเป็นจริง กำรเป็นอยู่และดำรงอยู่ของครูอีกประกำรหนึ่ง คือ ภำพรวมในเรื่อง เงินเดือนหรือค่ำตอบแทนของครูยังถือว่ำยังน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่ ให้ควำมสำคัญในวิชำชีพนี้ว่ำเป็นวิชำชีพชั้นสูง (Profession) เช่น ประเทศสิงคโปร์ ประเทศฟินแลนด์ ประเทศสหพันธรัฐเยอรมนี เป็นต้น ดังนั้น กระทรวงศึกษำธิกำร หรือผู้ที่มีควำมรับผิดชอบต่อวิถีครูไทยจำเป็นต้องกอบกู้สภำพทำงเศรษฐกิจ ของครูให้สำมำรถเป็นอยู่และดำรงอยู่ได้ดีกว่ำเดิม อำจจะมีกำรเพิ่มแรงจูงใจใน ลักษณะ “รำงวัล” กับควำมมุ่งมั่นและควำมเชี่ยวชำญในแต่ละระดับสถำปนำ ควำมศักดิ์สิทธิ์ให้มำกขึ้น จะเป็นแรงกระตุ้นใฝ่สัมฤทธิ์ให้ครูดำเนินกำรเรียน กำรสอนให้มีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น SMART@ SPEED Model: เพื่อครูไทย 4.0 กำรศึกษำไทยจำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องทำให้ครูมีควำมผูกพันในพันธะ สัญญำและเป้ำหมำยทำงกำรศึกษำโดยรวม กล่ำวคือ กำรสร้ำงคนเก่ง สร้ำงคนดี และที่สำคัญต้องสำมำรถบอกกล่ำวอบรมและขัดเกลำให้ผู้เรียนใช้ชีวิตอย่ำง ปกติสุขภำยใต้กำรเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกได้เป็นอย่ำงดี ครูจะต้องเป็นผู้ให้ “ส่วนผสม” นี้ เพื่อก่อให้เกิดเป็นเนื้อเดียวกัน (Homogeneity) แต่อย่ำงไรก็ตำม ควำมเป็นอยู่และดำรงอยู่ของครูจะดีขึ้น จำเป็นต้องอิงแอบกับปริบทของรัฐ ชำติด้วย ทั้งนี้ผู้เขียนขอเสนอรูปแบบ “SMART” ดังนี้ วารสารพิกุล
  • 32. วารสารพิกุล ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 25 S = Social skill ทักษะเชิงสังคม ครูไทยจะต้องมีวิถีชีวิตที่ไม่ตกเป็น ทำสและสมยอมกับสภำวะกำรณ์ของสังคมที่มีลักษณะแบบบริโภคนิยม เงินตรำ นิยม และวัตถุนิยม ต้องเข้ำถึงและนำแนวหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช (รัชกำลที่ 9) มำเป็นแก่นแกน ในกำรดำรงชีวิต นอกจำกนี้ ครูไทยต้องเข้ำใจถึงควำมแตกต่ำงของวัฒนธรรม ในองค์กรร่วมกันทำงำนเพื่อส่วนรวม (Togetherness) มำกขึ้น เข้ำใจใน “ควำมต่ำง” ทั้งผู้เรียนและเพื่อนร่วมงำนมำกขึ้นด้วย M = Managerial skill ทักษะเชิงบริหำรจัดกำร ทั้งทักษะกำรจัดกำร เวลำ กำรบริหำรจัดกำรคน เพรำะคนถือว่ำเป็นทรัพยำกรอันมีค่ำของรัฐชำติ แต่บำงครั้งครูก็ต้องทำหน้ำที่สอนผู้เรียนให้เข้ำใจถึงแก่นของกำรพัฒนำรัฐชำติ แบบองค์รวมว่ำบำงครั้งกำรให้อภัย กำรยกโทษ กำรไม่เป็นไร ก็มีส่วนทำให้ขำด ระเบียบวินัยไป A = Academic skill ทักษะเชิงวิชำกำร ครูไทยต้องลุ่มลึกในวิชำชีพ เข้ำถึงกำรจัดกำรเรียนรู้ (Pedagogy) ที่ชัดเจน มีทักษะกำรส่งผ่ำนข้อควำมรู้ ถึงผู้เรียนในลักษณะทั้งที่เป็นศำสตร์และศิลป์ สร้ำงฐำนคติทำงกำรเรียนรู้ที่ ทันสมัย (Reimers, 2003) “ผู้ที่เป็นครูผู้สอนนั้น ต้องมีควำมหรูหรำทำงควำมคิด จัดกิจกรรมที่แปลกใหม่และที่สำคัญ ทุกครั้งที่แนะนำลูกศิษย์ต้องแนะนำด้วย เสียงที่ออกจำกหัวใจ มิใช่เสียงที่ออกจำกช่องปำก” R = Researching skill ทักษะกำรใฝ่รู้ ค้นคว้ำอยู่เสมอ มีกำรสร้ำง ข้อควำมรู้ใหม่และทันสมัยอยู่เป็นประจำ ฝึกทักษะกำรต่อยอดให้กับผู้เรียน ตลอดเวลำที่มีกำรจัดกำรเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน (Yates, 2007) ครูไทย ในยุค 4.0 ต้องเป็นคนที่หมั่นหำควำมรู้ที่ใหม่ ๆ เสมอ จึงจะทำให้ชีวิตในควำม เป็นครูของตนเองไม่น่ำเบื่อหน่ำย T = Technological skill ทักษะเชิงเทคโนโลยี ซึ่งจะรวมถึงทักษะ กำรเข้ำถึงและกลั่นกรองข้อมูลและข่ำวสำร รู้กำรนำมำใช้เพื่อจัดกำรเรียนรู้ ให้กับผู้เรียนอย่ำงชำญฉลำด มีกำรใช้สื่อทำงด้ำนเทคโนโลยีเพื่อกระตุ้นกำรใฝ่รู้ และสร้ำงบรรยำกำศที่ดีเพื่อกำรเรียนรู้ที่น่ำสนใจและสิ่งที่สำคัญที่สุดของ วารสารพิกุล