SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้างเราเรียกช่วงความถี่เหล่านี้ว่า quot;
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าquot;
 และมีชื่อเรียกช่วงต่าง ๆ ของความถี่ต่างกันตามแหล่งกำเนิดและวิธีการตรวจวัดคลื่น<br />สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า<br />คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆในสเปกตรัมมีสมบัติที่สำคัญเหมือนกันคือ เคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วเท่ากับแสงและมีพลังงานส่งผ่านไปพร้อมกับคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นมีชื่อเรียกดังนี้ 1. คลื่นวิทยุ<br />คลื่นวิทยุมีความถี่ช่วง 104 - 109 Hz( เฮิรตซ์ ) ใช้ในการสื่อสาร คลื่นวิทยุมีการส่งสัญญาณ 2 ระบบคือ<br />1.1 ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude modulation)<br />ระบบเอเอ็ม มีช่วงความถี่ 530 - 1600 kHz( กิโลเฮิรตซ์ ) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไปกับคลื่นวิทยุเรียกว่า quot;
คลื่นพาหะquot;
 โดยแอมพลิจูดของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง<br />ในการส่งคลื่นระบบ A.M. สามารถส่งคลื่นได้ทั้งคลื่นดินเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงขนานกับผิวโลกและคลื่นฟ้าโดยคลื่นจะไปสะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แล้วสะท้อนกลับลงมา จึงไม่ต้องใช้สายอากาศตั้งสูงรับ<br />1.2 ระบบเอฟเอ็ม (F.M. = frequency modulation)<br />ระบบเอฟเอ็ม มีช่วงความถี่ 88 - 108 MHz (เมกะเฮิรตซ์) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้ากับคลื่นพาหะ โดยความถี่ของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง<br />ในการส่งคลื่นระบบ F.M. ส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่างเดียว ถ้าต้องการส่งให้คลุมพื้นที่ต้องมีสถานีถ่ายทอดและเครื่องรับต้องตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับ 2. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ<br />คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟมีความถี่ช่วง 108 - 1012 Hz มีประโยชน์ในการสื่อสาร แต่จะไม่สะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แต่จะทะลุผ่านชั้นบรรยากาศไปนอกโลก ในการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์จะต้องมีสถานีถ่ายทอดเป็นระยะ ๆ เพราะสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง และผิวโลกมีความโค้ง ดังนั้นสัญญาณจึงไปได้ไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตรบนผิวโลก อาจใช้ไมโครเวฟนำสัญญาณจากสถานีส่งไปยังดาวเทียม แล้วให้ดาวเทียมนำสัญญาณส่งต่อไปยังสถานีรับที่อยู่ไกล ๆ<br />เนื่องจากไมโครเวฟจะสะท้อนกับผิวโลหะได้ดี จึงนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตำแหน่งของอากาศยาน เรียกอุปกรณ์ดังกล่าวว่า เรดาร์ โดยส่งสัญญาณไมโครเวฟออกไปกระทบอากาศยาน และรับคลื่นที่สะท้อนกลับจากอากาศยาน ทำให้ทราบระยะห่างระหว่างอากาศยานกับแหล่งส่งสัญญาณไมโครเวฟได้ 3. รังสีอินฟาเรด (infrared rays)<br />รังสีอินฟาเรดมีช่วงความถี่ 1011 - 1014 Hz หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 10-3 - 10-6 เมตร ซึ่งมีช่วงความถี่คาบเกี่ยวกับไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรดสามารถใช้กับฟิล์มถ่ายรูปบางชนิดได้ และใช้เป็นการควบคุมระยะไกลหรือรีโมทคอนโทรลกับเครื่องรับโทรทัศน์ได้ 4. แสง (light)<br />แสงมีช่วงความถี่ 1014Hz หรือความยาวคลื่น 4x10-7 - 7x10-7 เมตร เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ประสาทตาของมนุษย์รับได้ สเปคตรัมของแสงสามารถแยกได้ดังนี้ <br />สีความยาวคลื่น (nm)ม่วง380-450น้ำเงิน450-500เขียว500-570เหลือง570-590แสด590-610แดง610-760<br />5. รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays)<br />รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง มีความถี่ช่วง 1015 - 1018 Hz เป็นรังสีตามธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ซึ่งทำให้เกิดประจุอิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ รังสีอัลตราไวโอเลต สามารถทำให้เชื้อโรคบางชนิดตายได้ แต่มีอันตรายต่อผิวหนังและตาคน 6. รังสีเอกซ์ (X-rays)<br />รังสีเอกซ์ มีความถี่ช่วง 1016 - 1022 Hz มีความยาวคลื่นระหว่าง 10-8 - 10-13 เมตร ซึ่งสามารถทะลุสิ่งกีดขวางหนา ๆ ได้ หลักการสร้างรังสีเอกซ์คือ การเปลี่ยนความเร็วของอิเล็กตรอน มีประโยชน์ทางการแพทย์ในการตรวจดูความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย ในวงการอุตสาหกรรมใช้ในการตรวจหารอยร้าวภายในชิ้นส่วนโลหะขนาดใหญ่ ใช้ตรวจหาอาวุธปืนหรือระเบิดในกระเป๋าเดินทาง และศึกษาการจัดเรียงตัวของอะตอมในผลึก 7. รังสีแกมมา (-rays)<br />รังสีแกมมามีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ามีความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์และสามารถกระตุ้นปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้ มีอำนาจทะลุทะลวงสูง <br />สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆในสเปกตรัมมีสมบัติที่สำคัญเหมือนกันคือ เคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วเท่ากับแสงและมีพลังงานส่งผ่านไปพร้อมกับคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นมีชื่อเรียกดังนี้ 1. คลื่นวิทยุ คลื่นวิทยุมีความถี่ช่วง 104 - 109 Hz( เฮิรตซ์ ) ใช้ในการสื่อสาร คลื่นวิทยุมีการส่งสัญญาณ 2 ระบบคือ 1.1 ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude modulation) ระบบเอเอ็ม มีช่วงความถี่ 530 - 1600 kHz( กิโลเฮิรตซ์ ) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไปกับคลื่นวิทยุเรียกว่า quot;
คลื่นพาหะquot;
 โดยแอมพลิจูดของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง ในการส่งคลื่นระบบ A.M. สามารถส่งคลื่นได้ทั้งคลื่นดินเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงขนานกับผิวโลกและคลื่นฟ้าโดยคลื่นจะไปสะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แล้วสะท้อนกลับลงมา จึงไม่ต้องใช้สายอากาศตั้งสูงรับ 1.2 ระบบเอฟเอ็ม (F.M. = frequency modulation) ระบบเอฟเอ็ม มีช่วงความถี่ 88 - 108 MHz (เมกะเฮิรตซ์) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้ากับคลื่นพาหะ โดยความถี่ของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง ในการส่งคลื่นระบบ F.M. ส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่างเดียว ถ้าต้องการส่งให้คลุมพื้นที่ต้องมีสถานีถ่ายทอดและเครื่องรับต้องตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับ 2. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟมีความถี่ช่วง 108 - 1012 Hz มีประโยชน์ในการสื่อสาร แต่จะไม่สะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แต่จะทะลุผ่านชั้นบรรยากาศไปนอกโลก ในการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์จะต้องมีสถานีถ่ายทอดเป็นระยะ ๆ เพราะสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง และผิวโลกมีความโค้ง ดังนั้นสัญญาณจึงไปได้ไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตรบนผิวโลก อาจใช้ไมโครเวฟนำสัญญาณจากสถานีส่งไปยังดาวเทียม แล้วให้ดาวเทียมนำสัญญาณส่งต่อไปยังสถานีรับที่อยู่ไกล ๆ เนื่องจากไมโครเวฟจะสะท้อนกับผิวโลหะได้ดี จึงนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตำแหน่งของอากาศยาน เรียกอุปกรณ์ดังกล่าวว่า เรดาร์ โดยส่งสัญญาณไมโครเวฟออกไปกระทบอากาศยาน และรับคลื่นที่สะท้อนกลับจากอากาศยาน ทำให้ทราบระยะห่างระหว่างอากาศยานกับแหล่งส่งสัญญาณไมโครเวฟได้ 3. รังสีอินฟาเรด (infrared rays) รังสีอินฟาเรดมีช่วงความถี่ 1011 - 1014 Hz หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 10-3 - 10-6 เมตร ซึ่งมีช่วงความถี่คาบเกี่ยวกับไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรดสามารถใช้กับฟิล์มถ่ายรูปบางชนิดได้ และใช้เป็นการควบคุมระยะไกลหรือรีโมทคอนโทรลกับเครื่องรับโทรทัศน์ได้ 4. แสง (light) แสงมีช่วงความถี่ 1014Hz หรือความยาวคลื่น 4x10-7 - 7x10-7 เมตร เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ประสาทตาของมนุษย์รับได้ สเปคตรัมของแสงสามารถแยกได้ดังนี้ สีความยาวคลื่น (nm) ม่วง380-450 น้ำเงิน450-500 เขียว500-570 เหลือง570-590 แสด590-610 แดง610-760 5. รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays) รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง มีความถี่ช่วง 1015 - 1018 Hz เป็นรังสีตามธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ซึ่งทำให้เกิดประจุอิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ รังสีอัลตราไวโอเลต สามารถทำให้เชื้อโรคบางชนิดตายได้ แต่มีอันตรายต่อผิวหนังและตาคน 6. รังสีเอกซ์ (X-rays) รังสีเอกซ์ มีความถี่ช่วง 1016 - 1022 Hz มีความยาวคลื่นระหว่าง 10-8 - 10-13 เมตร ซึ่งสามารถทะลุสิ่งกีดขวางหนา ๆ ได้ หลักการสร้างรังสีเอกซ์คือ การเปลี่ยนความเร็วของอิเล็กตรอน มีประโยชน์ทางการแพทย์ในการตรวจดูความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย ในวงการอุตสาหกรรมใช้ในการตรวจหารอยร้าวภายในชิ้นส่วนโลหะขนาดใหญ่ ใช้ตรวจหาอาวุธปืนหรือระเบิดในกระเป๋าเดินทาง และศึกษาการจัดเรียงตัวของอะตอมในผลึก 7. รังสีแกมมา (-rays) รังสีแกมมามีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ามีความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์และสามารถกระตุ้นปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้ มีอำนาจทะลุทะลวงสูง <br />    รังสีแกรมมา (Gramma Rays) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดนำพลังงานมาด้วยขณะที่เดินทางมา (โดยขึ้นกับความยาวคลื่นและความถี่ของพลังงานนั้น) คลื่นมีลักษณะที่แตกต่างกันในรูปแสดงให้เห็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ต่อเนื่องกัน เป็นช่วงกว้าง เราเรียกช่วงความถี่เหล่านี้ว่า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงที่สุดคือรัวสีแกรมมา ซึ่งมีแหล่งกำเนินจากปฏิกิริยานิวเคลียร์   รังสีเอ็กซ์ (X-Rays)  รังสีเอ็กซ์มีความถี่รองลงมา ใช้เพื่อส่องผ่านเซลล์และเนื้อเยื่อ ในทางการแพทย์จะใช้ในการส่องผ่านร่างกายเพื่อให้แพทย์เห็นภายในร่างกายของมนุษย์    รังสีอัลตราไวโอเล็ต  ก่อกำเนิดได้จากแหล่งกำเนิดภายนอกโลกนั่นคือ พระอาทิตย์ รังสีชนิดนี้เป็นอันตรายต่อผิวหลังของมนุษย์ อาจทำให้เป็นโรคมะเร็งผิวหนัง   รังสีอินฟราเรด (Infrared Rays)  คลื่นอินฟราเรดโดยทั่วไปใช้ในอุปกรณ์รีโมตคอนโทรล และยังช่วยให้คน “เห็น” ในที่มืดเมื่อนำมาใช้ในอุปกรณ์ที่ใช้มองในเวลากลางคืนแสงที่ตามองเห็น (Visible Light)  แสงที่ตามองเห็นอยู่ในช่วงความถี่ที่แคบมาก ๆ สัตว์บางชนิดสามารถมองเห็นในช่วงความถี่สูงหรือต่ำกว่าที่มนุษย์มองเห็น   ไมโครเวฟ (Microwave)  ความถี่ไมโครเวฟอยู่ระหว่างคลื่นอินฟราเรดใช้ประโยชน์ในด้านโทรคมนาคมและการทำอาหาร   ความถี่วิทยุ (Radio Frequency) ความถี่วิทยุอยู่ด้านล่างของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า มีความถี่ต่ำสุด คลื่นวิทยุคือชื่อทั่วไปของคลื่นข้อมูลเพิ่มเติม           จำนวนรอบต่อวินาที เรียกว่า เฮิรตซ์ (Hz) ชื่อนี้ถูกตั้งขึ้นหลังจากที่ Hannch Hertz นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันที่ค้นพบคลื่นวิทยุ และเป็นบุคคลแรกที่ทำการกระจายและรับคลื่นวิทยุ<br />สเปกตรัม(Spectrum)ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่และความยาวคลื่นแตกต่างกัน ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟและคลื่นโทรทัศน์ รังสีอินฟราเรด คลื่นแสงรังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ รังสีแกมม่า    1. คลื่นวิทยุ    * ผลิตจากอุปกรณ์อิเลคโทรนิคส์โดยวงจรออสซิลเลเดอร์    * มีความถี่ในช่วง 104 - 109 เฮิร์ตซ์    * ใช้ในการสื่อสาร ส่งกระจายเสียงโดยใช้คลื่นฟ้าและคลื่นดิน    * สามารถเลี้ยวเบนผ่านสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใกล้เคียงกับความยาวคลื่นได้    * โลหะมีสมบัติในการสะท้อนและดูดกลืนคลื่นแเหล็กไฟฟ้าได้ดี ดังนั้นคลื่นวิทยุจังผ่านไม่ได้    * การกระจายเสียงออกอากาศมีทั้งระบบ F.M. และ A.M.A.M. ( Amplitude Moduration)    * เป็นการผสมสัญญานเสียงเข้ากับคลื่นพาหะโดยที่สัญญาณเสียงจะไปบังคับให้แอมปลิจูดของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลง    * ความถี่ 530-1600 กิโลเฮิร์ตซ์    * .สะท้อนกับบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ได้ดี F.M. (Frequency Moduration)    * เป็นการผสมสัญญานเสียงเข้ากับคลื่นพาหะโดยที่สัญญานเสียงจะไปบังคับให้ความถี่ของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลง    * ความถี่ี่ 88-108 เมกะเฮิร์ตซ์    * สะท้อนกับบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ได้น้อยมาก จังใช้ได้แต่คลื่นดิน โดยต้องมีสถานีถ่ายทอดเป็นระยะ หรืออาจใช้ดาวเทียมช่วยสะท้อนคลื่นในอวกาศ    * การส่งและรับสัญญาณคลื่นวิทยุ ใช้หลักการของไฟฟ้ากระแสสลับ คือ ทั้งในเครื่องรับและเครื่องส่งวิทยุต่างก็มีวงจรไฟฟ้า LCทรานซ์ซิสเตอร์ ---->>พลังงานของคลื่นสร้างสัญญาณไฟฟ้า ความถี่นั้นมีค่ามากที่สุดที่เรโซแนนซ์กับวงจร LC          คลื่นวิทยุที่ส่งมามีความถี่ตรงกับความถี่ของวงจร LC จึงเกิดเรโแนนซ์กันทำให้ใช้เลือกสถานีวิทยุได้                    2. คลื่นไมโครเวฟและคลื่นโทรทัศน์    * ความถี่ 108 - 1012 เ้ฮิรตซ์    * ไม่สะท้อนกับบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์จึงส่งเป็นเส้นตรงแล้วใช้สถานีถ่ายทอดเป็นระยะ หรือใช้คลื่นไมโครเวฟนำสัญญานโทรทัศน์ไปยังดาวเทียม    * คลื่นโทรทัศน์มีความยาวคลื่นสั้นจึงเลี้ยวเบนผ่านสิ่งกีดขวางใหญ่ๆ เช่น รถยนต์ หรือเครื่องบินไม่ได้ ดังงนั้นจะเกิดการสะท้อนกับเครื่องบิน กลับมาแทรกสอดกับคลื่นเดิม ทำให้เกิดคลื่นรบกวนได้    * ไมโครเวฟสะท้อนโลหะได้ดี จึงใช้ทำเรดาห์                         3. รังสีอินฟราเรด    * ความถี่ 1011 - 1018    * ตรวจรับได้ด้วยประสาทสัมผัสทางผิวหนัง หรือ ฟิล์มถ่ายรูปชนิดพิเศษ    * ส่ิงมีชีวิตแผ่ออกมาตลอดเวลาเพราะเป็นคลื่นความร้อน    * ใช้ในการสื่อสาร เช่น ถ่ายภาพพื้นโลกจากดาวเทียม, ใช้เป็นรีโมทคอนโทรลของเครื่องวิทยุและโทรทัศน์ และใช้ควบคุมจรวดนำวิถี    * ใช้เป็นพาหะนำสัญญาณในเส้นใยนำแสง (optical fiber)4. แสง    * ความถี่ประมาณ 1014 เฮิรตซ์ ความยาวคลื่นประมาณ 10-7    * ตรวจรับโดยใช้จักษุสัมผัส    * มักเกิดจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูง , และถ้าวัตถุยิ่งมีอุณหภูมิสูงจะยิ่งมีพลังงานแสงยิ่งมาก    * อาจเกิดจากวัตถุที่มีอุณหภูมิไม่สูงก็ได้ เช่น แสงจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์, หิ่งห้อย, เห็ดเรืองแสง    * เลเซอร์ เป็นแหล่งกำเนิดแสงอาพันธ์ที่ให้แสงโดยไม่อาศัยความร้อน มีความถี่และเฟสคงที่ (ถ้าเป็นแสงที่เกิดจากความร้อนจะมีหลายความถี่และเฟสไม่คงที่) จนสามารถใช้เลเซอร์ในการสื่อสารได้, ถ้าใช้เลนส์รวมแสงให้ความเข้มข้นสูงๆ จะใช้เลเซอร์ในการผ่าตัดได้    * บริเวณที่แสงเลเซอร์ตก จะเกิดความร้อน5. รังสีอัลตราไวโอเลต (รังสีเหนือม่วง)    * มีความถี่ประมาณ 1015- 1018 เฮิรตซ์    * รังสีนี้ในธรรมชาติ ส่วนใหญ่มาจากดวงอาทิตย์    * เป็นรังสีที่ทำให้เกิดประจุอิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์    * เป็นอันตรายต่อเซลผิวหนัง, ตา และใช้ฆ่าเชื้ัอโรคได้    * สามารถสร้างขึ้นได้โดยผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดที่บรรจุไอปรอท    * ผ่านแก้วได้บ้างเล็กน้อยแต่ผ่านควอตซ์ได้ดี    * การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้าจะทำให้เกิดรังสีนี้ได้6. รังสีเอกซ์ (รังสีเรินเกนต์)    * ความถี่ประมาณ 1016 - 1022    * ทะลุผ่านสิ่งกีดขวางหนาๆ ได้ แต่ถูกกั้นได้ด้วยอะตอมของธาตุหนัก จึงใช้ตรวจสอบรอยร้าวในชิ้นโลหะขนาดใหญ่, ใช้ตรวจหาอาวุธปืนในกระเป๋าเดินทาง    * ความยาวคลื่นประมาณ 10 -10 เมตร ซึ่งใกล้เคียงกับขนาดอะตอมและช่องว่างระหว่างอะตอมของผลึกจึงใช้วิเคราะห์โครงสร้างผลึกได้ 7. รังสีแกมม่า    * ใช้เรียกชื่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์    * รังสีแกมม่าที่พบในธรรมชาติ เช่น รังสีแกมม่าที่เกิดจากการแผ่สลายของสารกัมมันตรังสี, รังสีคอสมิคที่มาจากอวกาศก็มีรังสีแกมม่าได้    * รังสีแกมม่าอาจทำให้เกิดขึ้นได้ เช่นการแผ่รังสีของอนุภาคไฟฟ้าในเครื่องเร่งอนุภาีค<br />
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

Contenu connexe

Tendances

สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นbenjamars nutprasat
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfssuser920267
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสารdnavaroj
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 

Tendances (20)

Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 

En vedette (12)

ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชาสอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชา
 
Random 140203080513-phpapp01
Random 140203080513-phpapp01Random 140203080513-phpapp01
Random 140203080513-phpapp01
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
 
Project
ProjectProject
Project
 
Random 140203080307-phpapp02
Random 140203080307-phpapp02Random 140203080307-phpapp02
Random 140203080307-phpapp02
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Pdf output
Pdf outputPdf output
Pdf output
 
Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)
 
ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similaire à สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404Sawita Jiravorasuk
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟPram Pu-ngoen
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405Jutapak Mahapaskorn
 
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401Niewkaryu Mungtavesinsuk
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)Salin Satheinmars
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003Peerapas Trungtreechut
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403Supanut Maiyos
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401Apinya Singsopa
 
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMDechatorn Devaphalin
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 

Similaire à สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (20)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
 
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Atmosphere1
Atmosphere1Atmosphere1
Atmosphere1
 
Rs
RsRs
Rs
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
 
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 

สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

  • 1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้างเราเรียกช่วงความถี่เหล่านี้ว่า quot; สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าquot;  และมีชื่อเรียกช่วงต่าง ๆ ของความถี่ต่างกันตามแหล่งกำเนิดและวิธีการตรวจวัดคลื่น<br />สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า<br />คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆในสเปกตรัมมีสมบัติที่สำคัญเหมือนกันคือ เคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วเท่ากับแสงและมีพลังงานส่งผ่านไปพร้อมกับคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นมีชื่อเรียกดังนี้ 1. คลื่นวิทยุ<br />คลื่นวิทยุมีความถี่ช่วง 104 - 109 Hz( เฮิรตซ์ ) ใช้ในการสื่อสาร คลื่นวิทยุมีการส่งสัญญาณ 2 ระบบคือ<br />1.1 ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude modulation)<br />ระบบเอเอ็ม มีช่วงความถี่ 530 - 1600 kHz( กิโลเฮิรตซ์ ) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไปกับคลื่นวิทยุเรียกว่า quot; คลื่นพาหะquot; โดยแอมพลิจูดของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง<br />ในการส่งคลื่นระบบ A.M. สามารถส่งคลื่นได้ทั้งคลื่นดินเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงขนานกับผิวโลกและคลื่นฟ้าโดยคลื่นจะไปสะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แล้วสะท้อนกลับลงมา จึงไม่ต้องใช้สายอากาศตั้งสูงรับ<br />1.2 ระบบเอฟเอ็ม (F.M. = frequency modulation)<br />ระบบเอฟเอ็ม มีช่วงความถี่ 88 - 108 MHz (เมกะเฮิรตซ์) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้ากับคลื่นพาหะ โดยความถี่ของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง<br />ในการส่งคลื่นระบบ F.M. ส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่างเดียว ถ้าต้องการส่งให้คลุมพื้นที่ต้องมีสถานีถ่ายทอดและเครื่องรับต้องตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับ 2. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ<br />คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟมีความถี่ช่วง 108 - 1012 Hz มีประโยชน์ในการสื่อสาร แต่จะไม่สะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แต่จะทะลุผ่านชั้นบรรยากาศไปนอกโลก ในการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์จะต้องมีสถานีถ่ายทอดเป็นระยะ ๆ เพราะสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง และผิวโลกมีความโค้ง ดังนั้นสัญญาณจึงไปได้ไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตรบนผิวโลก อาจใช้ไมโครเวฟนำสัญญาณจากสถานีส่งไปยังดาวเทียม แล้วให้ดาวเทียมนำสัญญาณส่งต่อไปยังสถานีรับที่อยู่ไกล ๆ<br />เนื่องจากไมโครเวฟจะสะท้อนกับผิวโลหะได้ดี จึงนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตำแหน่งของอากาศยาน เรียกอุปกรณ์ดังกล่าวว่า เรดาร์ โดยส่งสัญญาณไมโครเวฟออกไปกระทบอากาศยาน และรับคลื่นที่สะท้อนกลับจากอากาศยาน ทำให้ทราบระยะห่างระหว่างอากาศยานกับแหล่งส่งสัญญาณไมโครเวฟได้ 3. รังสีอินฟาเรด (infrared rays)<br />รังสีอินฟาเรดมีช่วงความถี่ 1011 - 1014 Hz หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 10-3 - 10-6 เมตร ซึ่งมีช่วงความถี่คาบเกี่ยวกับไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรดสามารถใช้กับฟิล์มถ่ายรูปบางชนิดได้ และใช้เป็นการควบคุมระยะไกลหรือรีโมทคอนโทรลกับเครื่องรับโทรทัศน์ได้ 4. แสง (light)<br />แสงมีช่วงความถี่ 1014Hz หรือความยาวคลื่น 4x10-7 - 7x10-7 เมตร เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ประสาทตาของมนุษย์รับได้ สเปคตรัมของแสงสามารถแยกได้ดังนี้ <br />สีความยาวคลื่น (nm)ม่วง380-450น้ำเงิน450-500เขียว500-570เหลือง570-590แสด590-610แดง610-760<br />5. รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays)<br />รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง มีความถี่ช่วง 1015 - 1018 Hz เป็นรังสีตามธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ซึ่งทำให้เกิดประจุอิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ รังสีอัลตราไวโอเลต สามารถทำให้เชื้อโรคบางชนิดตายได้ แต่มีอันตรายต่อผิวหนังและตาคน 6. รังสีเอกซ์ (X-rays)<br />รังสีเอกซ์ มีความถี่ช่วง 1016 - 1022 Hz มีความยาวคลื่นระหว่าง 10-8 - 10-13 เมตร ซึ่งสามารถทะลุสิ่งกีดขวางหนา ๆ ได้ หลักการสร้างรังสีเอกซ์คือ การเปลี่ยนความเร็วของอิเล็กตรอน มีประโยชน์ทางการแพทย์ในการตรวจดูความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย ในวงการอุตสาหกรรมใช้ในการตรวจหารอยร้าวภายในชิ้นส่วนโลหะขนาดใหญ่ ใช้ตรวจหาอาวุธปืนหรือระเบิดในกระเป๋าเดินทาง และศึกษาการจัดเรียงตัวของอะตอมในผลึก 7. รังสีแกมมา (-rays)<br />รังสีแกมมามีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ามีความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์และสามารถกระตุ้นปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้ มีอำนาจทะลุทะลวงสูง <br />สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆในสเปกตรัมมีสมบัติที่สำคัญเหมือนกันคือ เคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วเท่ากับแสงและมีพลังงานส่งผ่านไปพร้อมกับคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นมีชื่อเรียกดังนี้ 1. คลื่นวิทยุ คลื่นวิทยุมีความถี่ช่วง 104 - 109 Hz( เฮิรตซ์ ) ใช้ในการสื่อสาร คลื่นวิทยุมีการส่งสัญญาณ 2 ระบบคือ 1.1 ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude modulation) ระบบเอเอ็ม มีช่วงความถี่ 530 - 1600 kHz( กิโลเฮิรตซ์ ) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไปกับคลื่นวิทยุเรียกว่า quot; คลื่นพาหะquot; โดยแอมพลิจูดของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง ในการส่งคลื่นระบบ A.M. สามารถส่งคลื่นได้ทั้งคลื่นดินเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงขนานกับผิวโลกและคลื่นฟ้าโดยคลื่นจะไปสะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แล้วสะท้อนกลับลงมา จึงไม่ต้องใช้สายอากาศตั้งสูงรับ 1.2 ระบบเอฟเอ็ม (F.M. = frequency modulation) ระบบเอฟเอ็ม มีช่วงความถี่ 88 - 108 MHz (เมกะเฮิรตซ์) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้ากับคลื่นพาหะ โดยความถี่ของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง ในการส่งคลื่นระบบ F.M. ส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่างเดียว ถ้าต้องการส่งให้คลุมพื้นที่ต้องมีสถานีถ่ายทอดและเครื่องรับต้องตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับ 2. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟมีความถี่ช่วง 108 - 1012 Hz มีประโยชน์ในการสื่อสาร แต่จะไม่สะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แต่จะทะลุผ่านชั้นบรรยากาศไปนอกโลก ในการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์จะต้องมีสถานีถ่ายทอดเป็นระยะ ๆ เพราะสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง และผิวโลกมีความโค้ง ดังนั้นสัญญาณจึงไปได้ไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตรบนผิวโลก อาจใช้ไมโครเวฟนำสัญญาณจากสถานีส่งไปยังดาวเทียม แล้วให้ดาวเทียมนำสัญญาณส่งต่อไปยังสถานีรับที่อยู่ไกล ๆ เนื่องจากไมโครเวฟจะสะท้อนกับผิวโลหะได้ดี จึงนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตำแหน่งของอากาศยาน เรียกอุปกรณ์ดังกล่าวว่า เรดาร์ โดยส่งสัญญาณไมโครเวฟออกไปกระทบอากาศยาน และรับคลื่นที่สะท้อนกลับจากอากาศยาน ทำให้ทราบระยะห่างระหว่างอากาศยานกับแหล่งส่งสัญญาณไมโครเวฟได้ 3. รังสีอินฟาเรด (infrared rays) รังสีอินฟาเรดมีช่วงความถี่ 1011 - 1014 Hz หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 10-3 - 10-6 เมตร ซึ่งมีช่วงความถี่คาบเกี่ยวกับไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรดสามารถใช้กับฟิล์มถ่ายรูปบางชนิดได้ และใช้เป็นการควบคุมระยะไกลหรือรีโมทคอนโทรลกับเครื่องรับโทรทัศน์ได้ 4. แสง (light) แสงมีช่วงความถี่ 1014Hz หรือความยาวคลื่น 4x10-7 - 7x10-7 เมตร เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ประสาทตาของมนุษย์รับได้ สเปคตรัมของแสงสามารถแยกได้ดังนี้ สีความยาวคลื่น (nm) ม่วง380-450 น้ำเงิน450-500 เขียว500-570 เหลือง570-590 แสด590-610 แดง610-760 5. รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays) รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง มีความถี่ช่วง 1015 - 1018 Hz เป็นรังสีตามธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ซึ่งทำให้เกิดประจุอิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ รังสีอัลตราไวโอเลต สามารถทำให้เชื้อโรคบางชนิดตายได้ แต่มีอันตรายต่อผิวหนังและตาคน 6. รังสีเอกซ์ (X-rays) รังสีเอกซ์ มีความถี่ช่วง 1016 - 1022 Hz มีความยาวคลื่นระหว่าง 10-8 - 10-13 เมตร ซึ่งสามารถทะลุสิ่งกีดขวางหนา ๆ ได้ หลักการสร้างรังสีเอกซ์คือ การเปลี่ยนความเร็วของอิเล็กตรอน มีประโยชน์ทางการแพทย์ในการตรวจดูความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย ในวงการอุตสาหกรรมใช้ในการตรวจหารอยร้าวภายในชิ้นส่วนโลหะขนาดใหญ่ ใช้ตรวจหาอาวุธปืนหรือระเบิดในกระเป๋าเดินทาง และศึกษาการจัดเรียงตัวของอะตอมในผลึก 7. รังสีแกมมา (-rays) รังสีแกมมามีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ามีความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์และสามารถกระตุ้นปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้ มีอำนาจทะลุทะลวงสูง <br />    รังสีแกรมมา (Gramma Rays) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดนำพลังงานมาด้วยขณะที่เดินทางมา (โดยขึ้นกับความยาวคลื่นและความถี่ของพลังงานนั้น) คลื่นมีลักษณะที่แตกต่างกันในรูปแสดงให้เห็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ต่อเนื่องกัน เป็นช่วงกว้าง เราเรียกช่วงความถี่เหล่านี้ว่า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงที่สุดคือรัวสีแกรมมา ซึ่งมีแหล่งกำเนินจากปฏิกิริยานิวเคลียร์   รังสีเอ็กซ์ (X-Rays)  รังสีเอ็กซ์มีความถี่รองลงมา ใช้เพื่อส่องผ่านเซลล์และเนื้อเยื่อ ในทางการแพทย์จะใช้ในการส่องผ่านร่างกายเพื่อให้แพทย์เห็นภายในร่างกายของมนุษย์    รังสีอัลตราไวโอเล็ต  ก่อกำเนิดได้จากแหล่งกำเนิดภายนอกโลกนั่นคือ พระอาทิตย์ รังสีชนิดนี้เป็นอันตรายต่อผิวหลังของมนุษย์ อาจทำให้เป็นโรคมะเร็งผิวหนัง   รังสีอินฟราเรด (Infrared Rays)  คลื่นอินฟราเรดโดยทั่วไปใช้ในอุปกรณ์รีโมตคอนโทรล และยังช่วยให้คน “เห็น” ในที่มืดเมื่อนำมาใช้ในอุปกรณ์ที่ใช้มองในเวลากลางคืนแสงที่ตามองเห็น (Visible Light)  แสงที่ตามองเห็นอยู่ในช่วงความถี่ที่แคบมาก ๆ สัตว์บางชนิดสามารถมองเห็นในช่วงความถี่สูงหรือต่ำกว่าที่มนุษย์มองเห็น   ไมโครเวฟ (Microwave)  ความถี่ไมโครเวฟอยู่ระหว่างคลื่นอินฟราเรดใช้ประโยชน์ในด้านโทรคมนาคมและการทำอาหาร   ความถี่วิทยุ (Radio Frequency) ความถี่วิทยุอยู่ด้านล่างของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า มีความถี่ต่ำสุด คลื่นวิทยุคือชื่อทั่วไปของคลื่นข้อมูลเพิ่มเติม           จำนวนรอบต่อวินาที เรียกว่า เฮิรตซ์ (Hz) ชื่อนี้ถูกตั้งขึ้นหลังจากที่ Hannch Hertz นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันที่ค้นพบคลื่นวิทยุ และเป็นบุคคลแรกที่ทำการกระจายและรับคลื่นวิทยุ<br />สเปกตรัม(Spectrum)ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่และความยาวคลื่นแตกต่างกัน ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟและคลื่นโทรทัศน์ รังสีอินฟราเรด คลื่นแสงรังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ รังสีแกมม่า    1. คลื่นวิทยุ    * ผลิตจากอุปกรณ์อิเลคโทรนิคส์โดยวงจรออสซิลเลเดอร์    * มีความถี่ในช่วง 104 - 109 เฮิร์ตซ์    * ใช้ในการสื่อสาร ส่งกระจายเสียงโดยใช้คลื่นฟ้าและคลื่นดิน    * สามารถเลี้ยวเบนผ่านสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใกล้เคียงกับความยาวคลื่นได้    * โลหะมีสมบัติในการสะท้อนและดูดกลืนคลื่นแเหล็กไฟฟ้าได้ดี ดังนั้นคลื่นวิทยุจังผ่านไม่ได้    * การกระจายเสียงออกอากาศมีทั้งระบบ F.M. และ A.M.A.M. ( Amplitude Moduration)    * เป็นการผสมสัญญานเสียงเข้ากับคลื่นพาหะโดยที่สัญญาณเสียงจะไปบังคับให้แอมปลิจูดของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลง    * ความถี่ 530-1600 กิโลเฮิร์ตซ์    * .สะท้อนกับบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ได้ดี F.M. (Frequency Moduration)    * เป็นการผสมสัญญานเสียงเข้ากับคลื่นพาหะโดยที่สัญญานเสียงจะไปบังคับให้ความถี่ของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลง    * ความถี่ี่ 88-108 เมกะเฮิร์ตซ์    * สะท้อนกับบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ได้น้อยมาก จังใช้ได้แต่คลื่นดิน โดยต้องมีสถานีถ่ายทอดเป็นระยะ หรืออาจใช้ดาวเทียมช่วยสะท้อนคลื่นในอวกาศ    * การส่งและรับสัญญาณคลื่นวิทยุ ใช้หลักการของไฟฟ้ากระแสสลับ คือ ทั้งในเครื่องรับและเครื่องส่งวิทยุต่างก็มีวงจรไฟฟ้า LCทรานซ์ซิสเตอร์ ---->>พลังงานของคลื่นสร้างสัญญาณไฟฟ้า ความถี่นั้นมีค่ามากที่สุดที่เรโซแนนซ์กับวงจร LC          คลื่นวิทยุที่ส่งมามีความถี่ตรงกับความถี่ของวงจร LC จึงเกิดเรโแนนซ์กันทำให้ใช้เลือกสถานีวิทยุได้                    2. คลื่นไมโครเวฟและคลื่นโทรทัศน์    * ความถี่ 108 - 1012 เ้ฮิรตซ์    * ไม่สะท้อนกับบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์จึงส่งเป็นเส้นตรงแล้วใช้สถานีถ่ายทอดเป็นระยะ หรือใช้คลื่นไมโครเวฟนำสัญญานโทรทัศน์ไปยังดาวเทียม    * คลื่นโทรทัศน์มีความยาวคลื่นสั้นจึงเลี้ยวเบนผ่านสิ่งกีดขวางใหญ่ๆ เช่น รถยนต์ หรือเครื่องบินไม่ได้ ดังงนั้นจะเกิดการสะท้อนกับเครื่องบิน กลับมาแทรกสอดกับคลื่นเดิม ทำให้เกิดคลื่นรบกวนได้    * ไมโครเวฟสะท้อนโลหะได้ดี จึงใช้ทำเรดาห์                         3. รังสีอินฟราเรด    * ความถี่ 1011 - 1018    * ตรวจรับได้ด้วยประสาทสัมผัสทางผิวหนัง หรือ ฟิล์มถ่ายรูปชนิดพิเศษ    * ส่ิงมีชีวิตแผ่ออกมาตลอดเวลาเพราะเป็นคลื่นความร้อน    * ใช้ในการสื่อสาร เช่น ถ่ายภาพพื้นโลกจากดาวเทียม, ใช้เป็นรีโมทคอนโทรลของเครื่องวิทยุและโทรทัศน์ และใช้ควบคุมจรวดนำวิถี    * ใช้เป็นพาหะนำสัญญาณในเส้นใยนำแสง (optical fiber)4. แสง    * ความถี่ประมาณ 1014 เฮิรตซ์ ความยาวคลื่นประมาณ 10-7    * ตรวจรับโดยใช้จักษุสัมผัส    * มักเกิดจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูง , และถ้าวัตถุยิ่งมีอุณหภูมิสูงจะยิ่งมีพลังงานแสงยิ่งมาก    * อาจเกิดจากวัตถุที่มีอุณหภูมิไม่สูงก็ได้ เช่น แสงจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์, หิ่งห้อย, เห็ดเรืองแสง    * เลเซอร์ เป็นแหล่งกำเนิดแสงอาพันธ์ที่ให้แสงโดยไม่อาศัยความร้อน มีความถี่และเฟสคงที่ (ถ้าเป็นแสงที่เกิดจากความร้อนจะมีหลายความถี่และเฟสไม่คงที่) จนสามารถใช้เลเซอร์ในการสื่อสารได้, ถ้าใช้เลนส์รวมแสงให้ความเข้มข้นสูงๆ จะใช้เลเซอร์ในการผ่าตัดได้    * บริเวณที่แสงเลเซอร์ตก จะเกิดความร้อน5. รังสีอัลตราไวโอเลต (รังสีเหนือม่วง)    * มีความถี่ประมาณ 1015- 1018 เฮิรตซ์    * รังสีนี้ในธรรมชาติ ส่วนใหญ่มาจากดวงอาทิตย์    * เป็นรังสีที่ทำให้เกิดประจุอิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์    * เป็นอันตรายต่อเซลผิวหนัง, ตา และใช้ฆ่าเชื้ัอโรคได้    * สามารถสร้างขึ้นได้โดยผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดที่บรรจุไอปรอท    * ผ่านแก้วได้บ้างเล็กน้อยแต่ผ่านควอตซ์ได้ดี    * การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้าจะทำให้เกิดรังสีนี้ได้6. รังสีเอกซ์ (รังสีเรินเกนต์)    * ความถี่ประมาณ 1016 - 1022    * ทะลุผ่านสิ่งกีดขวางหนาๆ ได้ แต่ถูกกั้นได้ด้วยอะตอมของธาตุหนัก จึงใช้ตรวจสอบรอยร้าวในชิ้นโลหะขนาดใหญ่, ใช้ตรวจหาอาวุธปืนในกระเป๋าเดินทาง    * ความยาวคลื่นประมาณ 10 -10 เมตร ซึ่งใกล้เคียงกับขนาดอะตอมและช่องว่างระหว่างอะตอมของผลึกจึงใช้วิเคราะห์โครงสร้างผลึกได้ 7. รังสีแกมม่า    * ใช้เรียกชื่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์    * รังสีแกมม่าที่พบในธรรมชาติ เช่น รังสีแกมม่าที่เกิดจากการแผ่สลายของสารกัมมันตรังสี, รังสีคอสมิคที่มาจากอวกาศก็มีรังสีแกมม่าได้    * รังสีแกมม่าอาจทำให้เกิดขึ้นได้ เช่นการแผ่รังสีของอนุภาคไฟฟ้าในเครื่องเร่งอนุภาีค<br />