SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
((Sense OrgansSense Organs))
ตา(Eye): การมอง
เห็น
ตา มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ
1. ส่วนประกอบภายนอกตา
ได้แก่
☞คิ้ว ทำาหน้าที่ป้องกันมิให้
เหงื่อไหลเข้าตา
☞ขนตา ช่วยป้องกันไม่ให้ฝุ่น
ละอองเข้าตา
☞หนังตา ทำาหน้าที่ช่วยปิดเปิด
เพื่อรับแสงและควบคุม
☞ต่อมนำ้าตา เป็นต่อมเล็กๆ อยู่
ใต้หางคิ้ว ต่อมนี้จะขับนำ้าตา
มาหล่อเลี้ยงอยู่ตลอดเวลา
นำ้าตาส่วนใหญ่จะระเหยไป
ในอากาศ ส่วนที่เหลือระบาย
ออกที่รูระบายนำ้าตา ซึ่งอยู่ที่
หัวตา รูนี้เชื่อมกับท่อนำ้าตาที่
ต่อไปถึงในจมูก ถ้าต่อมนำ้าตา
ขับนำ้าตาออกมามาก เช่นเมื่อ
2. ส่วนประกอบภายในดวงตา
☞ตาขาว (Sclera) คือส่วนสี
ขาวของนัยน์ตา ประกอบด้วย
เนื้อเยื่อเหนียวไม่ยืดหยุ่นแต่
แข็งแรง ทำาหน้าที่หุ้มลูกตาไว้
ด้านหลังลูกตา มีกล้ามเนื้อยืด
อยู่ 6 มัด ทำาให้กลอกตาไป
ทางซ้ายขวา หรือขึ้น-ลงได้
ผนังด้านหน้าของลูกตาเป็น
เนื้อเยื่อใสเรียกว่า กระจกตา
☞โครอยด์ (choroid) เป็นชั้นที่มี
เส้นเลือดมาเลี้ยงมากมาย ส่วนที่
ยื่นออกไปด้านหน้าเรียกว่า ซี
เลียรีบอดี้ (ciliary body) ทำา
หน้าที่สร้างของเหลวที่เรียกว่า
เอเควียวฮิวเมอร์ (aqueous
humor) เข้าไปอยู่ในช่องว่าง
ของลูกตาด้านหน้าเลนซ์ ในชั้น
นี้ยังมีรงควัตถุ หรือสารสีแผ่
กระจายอยู่เป็นจำานวนมากเพื่อ
☞จอตา หรือฉากตา (Ratina)
เป็นเนื้อเยื่อชั้นในสุดประกอบ
ด้วยเซลล์ประสาท และเซลล์
ซึ่งไวต่อแสงเรียงตัวกันเป็น
ชั้นในช่องว่างของลูกตาด้าน
หลังของเลนซ์ และส่วนที่ติด
กับเรตินามีของเหลวลักษณะ
คล้ายวุ้นเรียกว่า วิสเทรียสฮิว
เมอร์ (vitreous humor)
บรรจุอยู่ ช่วยทำาให้ลูกตาคง
รูปร่างอยู่ได้
เรตินาทำาหน้าที่เป็นจอรับภาพ
เนื่องจากมีเซลล์รับแสง 2
ชนิดคือ เซลล์รูปแท่ง (rod
cell)ซึ่งไวต่อการรับแสงสว่าง
แต่ไม่สามารถแยกความแตก
ต่างของสีได้ ส่วนเซลล์อีก
ประเภทหนึ่งเป็นเซลล์รูปกรวย
(cone cell) ซึ่งเป็นเซลล์ที่
แยกความแตกต่างของสีได้แต่
เซลล์รูปกรวย
เซลล์รูปแท่ง
☞ตาดำา คือส่วนที่เป็นม่านตา
(Iris) มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อ
ยืดหดได้และมีสีตามชาติพันธุ์
คนไทยส่วนใหญ่มีตาสีนำ้าตาล
เข้ม ดูเผินๆ คล้ายสีดำา จึง
เรียกว่าตาดำา ตรงกลาง
ม่านตามีรูกลม เรียกว่า รู
ม่านตา (Pupil) ซึ่งเป็นทางให้
แสงผ่านเข้าทำาให้เข้ารู
☞แก้วตา (Lens) อยู่หลังรู
ม่านตา มีลักษณะเป็นแผ่น
ใสๆ เหมือนแก้ว คล้าย
เลนส์นูนธรรมดา มีเอ็นยึด
แก้วตา (Ciliary muscle)
ยึดระหว่าง แก้วตาและ
กล้ามเนื้อ และกล้ามนี้ยึดอยู่
โดยรอบที่ขอบของแก้วตา
กล้ามเนื้อนี้ทำาหน้าที่ปรับ
แก้วตาให้โค้งออกมาเมื่อมา
การมองเห็นภาพ
        คนเรามองเห็นภาพ
ต่างๆ ได้เพราะแสงไปกระทบกับ
วัตถุแล้วสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตาเรา
ผ่านกระจกตา รูม่านตา แก้วตา
ไปตกที่จอตา เซลล์รับภาพที่จอ
ตาจะรับภาพ ในลักษณะหัวกลับ
แล้วส่งไปตามเส้นประสาทสู่สมอง
ส่วนท้ายทอย สมองทำาหน้าที่แปล
ภาพหัวกลับเป็นหัวตั้งตามเดิม
ของสิ่งที่เห็น
ความผิดปกติของสายตา
1.สายตาสั้น คือ การที่มองเห็น
เฉพาะสิ่งที่อยู่ใกล้ๆ สิ้งที่อยู่ไกล
จะเห็นไม่ชัด
สาเหตุ เกิดจากลูกตามีความยาว
มากกว่าปกติ ทำาให้ระยะระหว่าง
แก้วตา และจอตาอยู่ห่างกันเกิน
ไป ทำาให้ภาพของสิ่งที่มองตก
ก่อนจะถึงจอตา
การแก้ไข ใส่แว่นตาที่ทำาด้วย
เลนส์เว้า เพื่อช่วยหักเหแสงให้ลง
2. สายตายาว คือ การที่มองเห็น
เฉพาะสิ่งที่อยู่ไกลๆ สิ่งที่อยู่ใกล้จะ
เห็นไม่ชัด
สาเหตุ เกิดจากลูกตามีความสั้น
กว่าปกติ หรือผิวของแก้วตาโค้ง
นูนน้อยเกินไป ทำาให้ภาพของสิ่งที่
มองตกเลยจอตาไป ทำาให้มองเห็น
ภาพใกล้ๆไม่ชัดเจน
การแก้ไข ใส่แว่นตาที่ทำาด้วย
เลนส์นูน เพื่อช่วยหักเหแสงให้ลงที่
3. สายตาเอียง คือ การที่มองเห็น
บิดเบี้ยวจากรูปทรงที่แท้จริง บาง
คนมองเห็นภาพในแนวดิ่งชัด แต่
มองภาพในแนวระดับมองไม่ชัด
เช่น มองดูนาฬิกา เห็นเลข 3,9
ชัด แต่เห็นเลข 6,12 ไม่ชัด
สาเหตุ ส่วนใหญ่เกิดจากความ
โค้งนูนของแก้วตาไม่สมำ่าเสมอ จอ
ตาจึงรับภาพได้ไม่ชัดเจนเท่าทุก
4. ตาส่อน ตาเอก ตาเข ตาเหล่
ตาส่อนและตาเอก หมายถึง คนที่มีตาดำาสอง
ข้างอยู่ในตำาแหน่งไม่ตรงกัน ถ้าเป็นมากขึ้น
เรียกว่า ตาเข และถ้าตาเขมากๆ เรียกว่า ตาเหล่
ซึ่งจะมองเห็นภาพเดียวกันเป็น 2 ภาพ เพราะ
ภาพจาก ตาสองข้างทับกัน ไม่สนิท
สาเหตุ ส่วนใหญ่เกิดจากกล้ามเนื้อบางมัดที่ใช้
กลอกตา อ่อนกำาลัง หรือเสียกำาลังไป กล้ามเนื้อ
มัดตรงข้าม ยังทำางานปกติ จะดึงลูกตาให้เอียง
ไป ทำาให้สมองไม่สามารถบังคับตาดำาให้มองไป
ยังสิ่งที่ต้องการ เหมือนลูกตาข้างที่ดีได้
การแก้ไข ควรปรึกษา จักษุแพทย์ในระยะที่
เริ่มเป็น แพทย์อาจรักษาโดยการใช้แว่นตา
Rhodopsin (retinal + opsin) เป็นเม็ดสีในการ
มองเห็น (visual pigment) ของ rods
ขณะที่เรากำาลังอ่านหนังสือ เราจะ
มองตัวหนังสือตรงหน้าได้ชัดกว่า
ตัวหนังสือที่อยู่ข้างๆ
การเกิดปรากฏการณ์ดังกล่าวนั้น
เนื่องจากภาพตัวหนังสือที่อยู่ตรง
หน้าตกลงบริเวณที่เห็นชัดเจน
ที่สุดของชั้นเรตินาหรือจอตา
เรียกว่า บริเวณโฟเวีย (fovea)
ซึ่งเป็นบริเวณที่มีเซลล์รูปกรวย
อยู่หนาแน่นมากกว่าบริเวณอื่นๆ
ส่วนบริเวณอื่นของเรตินาที่มีแต่
การที่คนเรามองเห็นวัตถุเป็นสีต่างๆ
ได้ เป็นผลจากการทำางานของเซลล์
รูปกรวย(cone cell) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มี
ความไวต่อช่วงความยาวคลื่นของแสง
ได้แตกต่างกันแบ่ง เป็น 3 ชนิดคือ
1.เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสี
แดง(erythrolabe) จะดูดกลืนแสงใน
ช่วงความยาวคลื่นแสงสีแดง (565
nm)
2.เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีนำ้าเงิน
(cyanolabe) จะดูดกลืนแสงในช่วง
สมองมนุษย์สามารถแยกสีต่างๆ
ได้มากกว่า 3 สี เนื่องจากมีการก
ระตุ้นเซลล์รูปกรวยแต่ละชนิด
พร้อมๆกัน ด้วยความเข้มของแสง
ที่แตกต่างกัน จึงเกิดการผสมของ
แสงสีต่างๆกัน เช่นถ้ามีการกระ
ตุ้นเซลล์รูปกรวยสีแดงกับสีเขียว
พร้อมๆกัน ก็จะทำาให้เห็นวัตถุเป็น
สีเหลือง ถ้ากระตุ้นเซลล์รูปกรวย
ที่ไวต่อแสงสีแดงกับสีนำ้าเงิน
หู(Ear): การได้ยิน
และการทรงตัว
ส่วนประกอบของหู
   หูของคนเราแต่ละข้างแบ่งออก
เป็น 3 ชั้น
   1.หูชั้นนอก ประกอบไปด้วย
     1.1 ใบหู เป็นกระดูกอ่อนที่หุ้ม
ด้วยผิวหนังบางๆ ทำาหน้าที่ดักและรับ
เสียงเข้าสู่รูหู
     1.2 รูหู เป็นท่อคดเคี้ยวเล็ก
น้อย ลึกประมาณ 2.5 ซม. ผนังของรู
หูบุด้วยเยื่อบาง และใต้เยื่ออ่อนนี้เต็ม
ไปด้วยต่อมนำ้ามัน ทำาหน้าที่ขับไขมัน
เหนียวและเหลว มาหล่อเลี้ยงรูหู ไข
1.3 เยื่อแก้วหู เป็นเยื่อบางๆ อยู่ลึก
เข้าไปในส่วนของรูหู กั้นอยู่
ระหว่างหูชั้นนอกและหูชั้นกลาง
ทำาหน้าที่รับแรงสั่นสะเทือนของ
คลื่นเสียงที่เดินทางเข้ามาทางรูหู
2.หูชั้นกลาง
มีลักษณะเป็นโพรง ติดต่อกับ
โพรงจมูกและมีท่อติดต่อกับ
คอหอยเรียกว่า ท่อยูสเตเชียน
(eustachian tube) ปกติท่อนี้จะ
ปิด แต่ขณะเคี้ยวหรือกลืนอาหาร
ท่อนี้จะขยับเปิดเพื่อปรับความดัน
2 ด้านของเยื่อแก้วหูให้เท่ากัน
ความแตกต่างระหว่างความดัน
อากาศภายนอกและภายในหูชั้น
กลางอาจทำาให้เยื่อแก้วหูถูกดัน
กระดูกหู ประกอบด้วย กระดูก
ค้อน (malleus) กระดูกทั่ง
(incus) กระดูกโกลน (stapes)
หน้าที่ เพิ่มแรงสั่นสะเทือนได้
ประมาณ 22 เท่า แล้วส่งคลื่น
เสียงไปยังหูชั้นในทางช่องรูปไข่
3.หูชั้นใน อยู่ถัดจากกระดูกโกลนเข้า
มา หูชั้นนี้ประกอบด้วยอวัยวะที่
สำาคัญ 2 ส่วน คือ
     3.1 ส่วนที่ทำาหน้าที่รับเสียง มี
ลักษณะเป็นท่อเล็กๆ ที่ขดเป็นวงซ้อน
กันอยู่หลายชั้นคล้ายหอยโข่ง
ภายในมีท่อของเหลวบรรจุอยู่ ตาม
ผนังด้านในของท่อมีอวัยวะรับเสียง
อยู่ทั่วไป
3.2 เซมิเซอร์คิวลาร์แคแนล (semicircular
canal)
มีลักษณะเป็นท่อครึ่งวงกลม 3วงโค้งอยู่
ในหูชั้นใน ภายในท่อมีของเหลวบรรจุอยู่
ที่โคนท่อมีส่วนโป่งพองออกมาเรียกว่า
แอมพูลา(ampulla) ซึ่งภายในมีเซลล์รับ
ความรู้สึกที่มีขน (hair cell) ซึ่งไวต่อการ
ไหลของของเหลวภายในหลอดที่
เปลี่ยนแปลงตามตำาแหน่งศีรษะ และ
ทิศทางการวางตัวของร่างกาย โดยขณะที่
ร่างกายเคลื่อนไหว จะกระตุ้นเซลล์ที่ทำา
หน้าที่รับรู้เกี่ยวกับการทรงตัว ให้ส่ง
กระแสประสาทไปตามเส้นประสาทที่ออก
จมูก(Nose): การได้
กลิ่น
จมูกเป็นอวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับ
การดมกลิ่น (chemoreceptor)
ภายในเยื่อบุจมูก (olfactory
epithelium) มีเซลล์รับกลิ่น (olfactor
y cell)ซึ่งเป็นเซลล์ประสาท 2 ขั้ว
ที่ปลาย dentrite มี cilia ทำาหน้าที่รับ
กลิ่น
ที่ปลาย axon จะรวมเป็นเส้นประสาท
สมองคู่ที่ 1 (olfactory nerve)
สรุปเส้นทางการรับกลิ่น ได้ดังนี้ คือ
กลิ่น - - > เยื่อบุจมูก - - > เซลล์รับกลิ่น
ลิ้น(Tongue): การ
รับรส
ลิ้น(Tongue)
☞ทำาหน้าที่ในการรับรส โดย
เป็นอวัยวะรับความรู้สึก
ประเภทสารเคมี
☞บริเวณผิวลิ้นจะมีตุ่มเล็กๆ
เรียกว่า พาพิลลา(Papilla)
แต่ละปุ่มจะมีตุ่มรับรส (taste
bud) ซึ่งแต่ละตุ่มจะประกอบ
ด้วย เซลล์รับรส(taste
การทำางานของตุ่มรับรส
เมื่อเรารับประทานอาหารเข้าไป บริเวณ
ตุ่มรับรส จะขนของเซลล์รับรสไป
สัมผัสกับรสของอาหาร เกิดกระแส
ประสาทไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่
7ซึ่งรับรสบริเวณปลายลิ้นและข้างลิ้น
และเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 ซึ่งรับรส
จากบริเวณโคนลิ้น โดยแต่ละตุ่มรับรส
จะมีเซลล์ที่ทำาหน้าที่ในการรับรส
ประมาณ 4-20 เซลล์ แต่ละตุ่มรับรสจะ
ทำาหน้าที่รับรสเพียงรสเดียวเท่านั้น
ตุ่มรับรสจะมีอยู่ 4 ชนิด คือ
1. ตุ่มรับรสหวาน อยู่บริเวณปลายลิ้น
3. ตุ่มรับรสเค็ม อยู่บริเวณปลายลิ้นและ
ข้างลิ้น เกิดจากอณูของเกลือ แต่
เกลือบางชนิดก็ไม่ให้รสเค็มเพราะ
ส่วนที่ให้รสเค็มคือ ส่วนที่เป็นประจุ
บวก คือ โซเดียมไอออน
4. ตุ่มรับรสขม อยู่บริเวณโคนลิ้น เกิด
จากสาร 2 ชนิด คือ พวกสารอินทรีย์
ที่มีโมเลกุลยาวและพวกสารแอลคา
ลอยด์ เช่น คาเฟอีน นิโคติน
ปัจจุบันได้มีการค้นพบรสใหม่ขึ้นมา
เรียกว่า อูมามิ (Umami) แต่ยังไม่ได้
รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย แต่ได้
ผิวหนัง(Skin): การับ
สัมผัส
ผิวหนัง(skin)ป็นอวัยวะรับความรู้สึกที่มี
พื้นที่มากกว่าอวัยวะรับสัมผัสอื่นๆ
โดยจะมีอวัยวะรับสัมผัสหลายชนิดซึ่ง
ประกอบด้วยปลายของเส้นประสาท
กระจายอยู่ในบริเวณต่างๆของชั้น
ผิวหนัง ผิวหนังแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ
หนังกำาพร้า(epidermis) อยู่เหนือชั้น
ของหนังแท้ โดยชั้นที่อยู่ที่ด้านบนสุด
มันเป็นเซลล์ที่ตายแล้ว ส่วนชั้นที่ติด
กับชั้นของหนังแท้จะเป็นเซลล์ที่ยังมี
ชีวิตอยู่ โดยในชั้นนี้จะมีปลาย
าพเปรียบเทียบความไวใน
ารรับสัมผัสของอวัยวะต่างๆ
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก

Contenu connexe

Tendances

ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 

Tendances (20)

ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 

En vedette

ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system kasidid20309
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 

En vedette (6)

ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
sense organs
sense organssense organs
sense organs
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 

Similaire à อวัยวะรับความรู้สึก

090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1Cat Capturer
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึกWichai Likitponrak
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...kasidid20309
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์Chidchanok Puy
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1tery10
 

Similaire à อวัยวะรับความรู้สึก (20)

090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
หู
หูหู
หู
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of Physiological
 
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
CoralLec01
CoralLec01CoralLec01
CoralLec01
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1
 

Plus de Nokko Bio

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงNokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนNokko Bio
 
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อNokko Bio
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อNokko Bio
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองNokko Bio
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการNokko Bio
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสงNokko Bio
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 

Plus de Nokko Bio (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Ans sns
Ans snsAns sns
Ans sns
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสง
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 

อวัยวะรับความรู้สึก