SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
รวบรวมโดย
อ.ภญ.ดร.กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
หัวข้อ ประวัติการสาธารณสุข
รายวิชา สาธารณสุขสาหรับเภสัชกรรม
Evolution of health care in Thailand
องค์พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน
และการสาธารณสุขไทย
องค์พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน
และการสาธารณสุขไทย
 องค์พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขไทย คือ สมเด็จพระบรมราชชนก
พระองค์ทรงมีความสาคัญต่อวงการแพทย์แผนปัจจุบัน และการสาธารณสุขของไทยอย่างหาที่สุด
มิได้ ทรงตระหนักถึงความสาคัญของการสาธารณสุข ซึ่งจากเดิมยังล้าสมัยอยู่มาก ทรงสนพระทัย
ในการพัฒนา และสร้างความมั่นคงเข้มแข็งให้แก่การสาธารณสุขตั้งแต่ครั้งท่านทรงเยาว์วัย และได้
เสด็จไปศึกษา ณ ประเทศ สหรัฐอเมริกา เมื่อเสด็จกลับมาทรงรับเป็นพระอาจารย์พิเศษ และ
ปรับปรุงระบบการเรียนการสอนด้านการแพทย์ของไทยเสียใหม่ และยังพระราชทานทุนให้นักเรียน
แพทย์ พยาบาล และการสาธารณสุขไปศึกษาต่อในต่างประเทศเพื่อให้กลับมาปฏิบัติงานรับใช้
ประเทศชาติต่อไป ตลอดเวลาสมเด็จพระบรมราชชนกทรงบาเพ็ญพระราชกรณีกิจที่เป็นประโยชน์
ต่อการแพทย์อย่างมาก จึงทรงได้รับการยกย่องให้เป็น พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและ
การสาธารณสุขไทย
๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย (พ.ศ. ๒๔๖๑ – ๒๕๖๑)
 การเกิดขึ้นของกรมสาธารณสุข (พ.ศ. ๒๔๖๑)
 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดาริให้รวมหน่วยงานต่างๆ ก่อตั้งเป็นกรม
สาธารณสุข ในสังกัดกระทรวงมหาดไทยขึ้น เมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน 2461 โดยมีสมเด็จฯ
กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เป็นอธิบดีคนแรก
 มุ่งเน้นการป้องกันโรค และส่งเสริมสุขอนามัยของประชาชน โดยเฉพาะการปราบโรคระบาด
เช่น ไข้ทรพิษ อหิวาตกโรค และกาฬโรค มีการสารวจยุงที่เป็นพาหะของโรค สารวจและ
ควบคุมโรคเรื้อน บาบัดโรคคุดทะราด
 มีการสร้างความร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ เช่น มูลนิธิร็อคกี้เฟลเลอร์ในการรณรงค์กา
จัดโรคพยาธิปากขอ
 มีกิจการมารดาทารกสงเคราะห์ จัดการสุขศึกษาแก่ประชาชนอย่างกว้างขวาง
 ส่งคนไปเรียนการสาธารณสุขในต่างประเทศ
 นับว่าการเกิดขึ้นของกรมสาธารณสุขใน พ.ศ. ๒๔๖๑ เป็นจุดเริ่มต้นของการสาธารณสุข
ยุคใหม่อย่างแท้จริง
วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ
Evolution of health care in Thailand
 ในระยะแรกของการสาธารณสุขของประเทศไทยได้มีการระบาดของโรคติดต่อ จึงมุ่งเน้นการ
ดูแลรักษาเพื่อให้หายจากการเป็นโรคมากกว่าการส่งเสริมป้องกัน
 ในสมัยดึกดาบรรพ์การสาธารณสุขในยุคดั้งเดิมจะเน้นด้านการแพทย์ โดยเชื่อว่าโรคเกิดจาก
ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ การหลุดพ้นการเจ็บป่วยก็โดยการ บูชายันต์ เซ่นไหว้ เป็นต้น
 พระพุทธเจ้า และหมอชีวกโก ผู้เป็นหมอสมุนไพร ซึ่งได้มีการบัญญัติให้พระต้องดื่มน้าจากเครื่อง
กรองน้าและห้ามพระสาวกของพระองค์ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะลงแม่น้าลาคลอง
 ในช่วงอาณาจักรขอมรุ่งเรืองประมาณ พ.ศ 1725-1729 สมัยพระเจ้าวรมันที่ 7 ได้ทรงบาเพ็ญ
พระราชกุศลตามความเชื่อในพระพุทธศาสนา โดยสร้างสถานพยาบาลเรียกว่า อโรคยาศาลาขึ้น
102 แห่ง ในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยและบริเวณใกล้เคียง
วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)
 ยุคประวัติศาสตร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 สมัยคือสมัยสุโขทัยและสมัยอยุธยา
 พ.ศ. 2331 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงให้ทาศาลารายตั้งตารายาและ
ฤาษีดัดตนไว้เป็นทาน
 ในสมัยรัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 2 เป็นยุคเริ่มต้นของกรุงรัตนโกสินทร์การแพทย์ของไทยยังเป็น
ลักษณะเป็นแพทย์แผนโบราณ การสาธารณสุขยังไม่เจริญนัก ยุคนี้เป็นยุคแห่งการวางรากฐาน
สาธารณสุข
 สมัยรัชกาลที่ 4 - รัชกาลที่ 6 เป็นยุคที่มีการติดต่อกับต่างประเทศแถบตะวันตก มีทูตมาเจริญ
สันถวไมตรี คณะมิชั่นนารีเจ้ามาเผยแพร่ศาสนามากขึ้น พระมหากษัตริย์ไทยได้เสด็จ
ต่างประเทศมากขึ้น ทาให้มีการพัฒนางานด้านสาธารณสุขตามไปด้วย
วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)
 พ.ศ 2373 หมอบรัดเลย์ได้ริเริ่มงานป้องกันโรคติดต่อขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย โดยได้นาการ
ปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษเข้ามาใช้และได้สอนให้หมอหลวงหัดปลูกทรพิษเมื่อครั้งที่มีการระบาด
ใหญ่เมื่อปลายปี พ.ศ. 2381
 พ.ศ. 2378 หมอบรัดเลย์ได้ริเริ่มเปิดโอสถศาลาขึ้นในปีแรกที่เข้ามาถึงกรุงเทพฯ ในบริเวณ
ตลาดสาเพ็ง ใกล้วัดเกาะซึ่งเป็นแหล่งชุมชนแออัด ชุกชุมด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ
 พ.ศ. 2392 หมอเฮาส์มีบทบาทสาคัญในการควบคุมอหิวาตกโรคที่ระบาดใหญ่ไปทั่วโลกเป็น
ครั้งที่ 2 ซึ่งมีคนตายในกรุงเทพฯและเขตหัวเมืองใกล้เคียงกว่า 40,000 คน และได้รายงานการ
ใช้ทิงเจอร์การบูรผสมน้าให้ผุ้ป่วยดื่มบ่อย ๆ ทาให้ไม่มีผู้เสียชีวิตเลย
วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)
 26 ธันวาคม พ.ศ. 2431 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งกรมพยาบาลขึ้น และได้
มีการพระราชทานดัดแปลงอาคารสาหรับโรงพยาบาลและพระราชทานโรงพยาบาลว่า ศิริราช ซึ่งมี
การรักษาทั้งแบบตะวันตกและแบบแผนไทย
 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461 ได้มีการประกาศจัดตั้งกรมสาธารณสุข โดยเปลี่ยนมาจากกรม
ประชาภิบาล โดยมีพระเจ้าน้อยยาเธอ กรมหมื่นชัยนาทนเรนทร อธิบดีกรมมหาวิทยาลัยเป็นอธิบดี
กรมสาธารณสุขในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
 พ.ศ. 2466 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการแพทย์ เป็นการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ มี
วัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายแก่ประชาชน จากการประกอบการของผู้ทีไม่มีความรู้และมิได้
ฝึกหัดในรัชสมัยนี้
วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)
 พ.ศ. 2469 กรมสาธารณสุขได้อนุมัติให้ปรับปรุง ส่วนบริหารราชการใหม่ แบ่งออกเป็น 13 กองคือ
กองบัญชาการ กองการเงิน กองที่ปรึกษา กองบรรณาธิการ กองสุขาภิบาล กองวิศวกรรม กอง
สุขภาพ กองโอสถศาลา กองยาเสพติดให้โทษ โรงพยาบาลคนเสียจริต กองส่งเสริมสุขาภิบาล กอง
แพทย์สุขภาภิบาลแห่งพระนคร วชิรพยาบาล
 พ.ศ.2470 เปิดอบรมหมอตาแยครั้งแรกที่วชิรพยาบาล คาว่า “หมอตาแย” เรียกตามชื่อครูหมอผู้
หนึ่งที่สอนวิชานี้ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเชื้อพระวงศ์ การเรียกชื่อเช่นนี้เพื่อเป็นการแสดงความเคารพต่อ
ครูผู้เป็นเจ้าของตารา
 พ.ศ.2474 กรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทยได้จัดตั้งโรงเรียนอบรมผดุงครรภ์ชั้นสองขึ้นในวชิรพ
ยาบาล นับเป็นโรงเรียนผดุงครรภ์แห่งแรกของประเทศไทย
วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)
 พ.ศ. 2515 สถานีอนามัยชั้นหนึ่ง ได้รับการพัฒนาเป็นศูนย์การแพทย์อนามัยชนบทและกลายเป็น
“ศูนย์การแพทย์และอนามัย” ในปี พ.ศ 2517 เป็น “โรงพยาบาลอาเภอ” ใน พ.ศ 2520 และเป็น
โรงพยาบาลชุมชนใน พ.ศ. 2525 จนถึงปัจจุบัน
 พ.ศ. 2518โรงพยาบาลชุมชนระดับอาเภอถูกสร้างขึ้นครอบคลุมทั่วประเทศและมีโครงการ
สงเคราะห์ประชาชนมีรายได้น้อยเรียกว่าโครงการ สปน.
 พ.ศ. 2519 กระทรวงสาธารณสุขโดยกองอนามัยครอบครัว สารวจอบรมหมอตาแยทั่วประเทศโดย
การสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลกและองค์การสงเคราะห์เด็กแห่งสหประชาชาติ ในระหว่างปี
2519-2528 มีหมอตาแยได้รับการอบรมจานวน 12,864 คน
วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ
 พ.ศ. 2520 – 2525 เริ่มดาเนินการสาธารณสุขมูลฐานตั้งแต่แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4
(พ.ศ. 2520 -2525 ) โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การ
ประสานระหว่างสาขาและการปรับระบบบริการสาธารณสุขพื้นฐาน ซึ่งประสบความสาเร็จอย่าง
รวดเร็วในทศวรรษแรก
 พ.ศ. 2526 เริ่มโครงการบัตรสุขภาพโดยใช้กลไกด้านการคลังสุขภาพชุมชนและการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนในการสนับสนุนการเข้าถึงบริการด้านอนามัยแม่และเด็กเป็นหลัก
 พ.ศ. 2532 เกิด Health reform project เป็นโครงการต้นแบบของแนวคิดการดูแลสุขภาพปฐม
ภูมิ โดยเน้นการบริการที่มีลักษณะสาคัญ 3 ประการคือ การดูแลอย่างต่อเนื่อง การดูแลผสมผสาน
และการดูแลอย่างองค์รวม
วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)
 พ.ศ. 2535 ทศวรรษการพัฒนาสถานีอนามัยอย่างมากทั้งในด้านอาคารสถานที่และอุปกรณ์
เครื่องมือทางการรักษาพยาบาล เพื่อยกมาตรฐานคุณภาพบริการพยาบาลเพิ่มขึ้น
 พ.ศ. 2540 วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ได้ส่งผลกระทบต่อประชาชนในทุกด้าน หลังวิกฤตเศรษฐกิจ
แนวคิดการดูแลสุขภาพปฐมภูมิได้รับความสาคัญอีกครั้งหนึ่งเพราะเป็นบริการสุขภาพที่ต้นทุนต่า
และชาวบ้านเข้าถึงบริการได้ง่าย
 พ.ศ. 2542 พรบ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ ปี 2542 กาหนดให้มีการถ่ายโอน
ภารกิจของสถานพยาบาลหรือถ่ายโอนสถานบริการของรัฐ ระดับต่าง ๆ ให้แก่องค์ปกครองส่วน
ท้องถิ่นแต่ละระดับ (อบต. เทศบาล อบจ.)
วิวัฒนาการสาธารณสุขต่างประเทศ
Evolution in the world
 ประวัติการสาธารณสุขต่างประเทศเกิดจากผลลัพธ์ของสงครามหลังสงคราม
 หลังได้มีการประกาศใช้ธรรมนูญขององค์การอนามัยโลกในวันที่ 7 เมษายน 2491 ซึ่งได้มีการ
ประชุมสมัชชาอนามัยโลก และได้มีมติให้มีการฉลองพร้อมกันทั่วโลกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2492 เป็นต้นมา
 โดยได้มีการกาหนดข้อปัญหาอนามัยขึ้นปีละ 1 เรื่อง นอกจากนี้ได้มีการแต่งคาขวัญจากองค์การ
อนามัยโลกเพื่อเป็นแนวทางในการทางานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั่วโลกได้ใช้เป็นแนวทางการให้
สุขศึกษาแก่ประชาชนในวันอนามัยโลกไว้ดังนี้คือ
วิวัฒนาการสาธารณสุขต่างประเทศ (ต่อ)
 1. คาขวัญ พ.ศ. 2493 เป็นคาขวัญแรกกล่าวไว้ว่า “จงคุ้นเคยกับบริการอนามัยที่มีไว้เพื่อ
ท่าน”(Know Your Own Health Service)
 2. คาขวัญ พ.ศ. 2547 “ สานึกดี ขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจลดอุบัติเหตุ ” (Road Safety Is No
Accident)
 ประเทศเป็นภาคีสมาชิกขององค์การอนามัยโลกอันดับที่ 21 ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2490
เพื่อเป็นการร่วมงานระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและองค์การอนามัยโลกเกี่ยวกับประโยชน์ของ
ปวงชน
ประวัติความเป็นมาขององค์การอนามัยโลก
World health organization, WHO
 องค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นทบวงการชานาญพิเศษอันมีความสัมพันธ์กับสหประชาชาติทบวง
หนึ่งประกอบด้วยสมาชิก 131 ประเทศ (ธันวาคม พ.ศ. 2511)
 องค์การนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะคุ้มครองและส่งเสรมสุขภาพอนามัยของประชาชนทั่วโลกเริ่ม
ก่อตั้งองค์การขึ้นใน พ.ศ. 2491 ความมุ่งหมายดั้งเดิมเพื่อช่วยกันหยุดยั้งการระบาดของโรคติดต่อ
ต่าง ๆ เช่นอหิวาตกโรค
 ในปัจจุบันความร่วมมือระหว่างชาติในด้านนี้ได้ขยายกว้างออกไปมากกล่าวคือเพื่อดาเนินการ
ยกระดับสุขภาพอนามัยในที่ทุกแห่งในโลกและช่วยส่งเสริม ความก้าวหน้าในด้านนี้อาศัยศึกษา การ
วิจัยและและเปลี่ยนเรื่องควรรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับการคุ้มครอง ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน
ภาระหน้าที่ขององค์การอนามัยโลก
อานวยความช่วยเหลือแก่ประเทศต่าง ๆ ตามความ
ต้องการที่ร้องขอมา
จัดบริการด้านสุขภาพอนามัยแก่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก
ส่งเสริมและประสานงานด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
ระหว่างชาติ
 ขอขอบพระคุณข้อมูลจาก
 https://www.moph.go.th/index.php/about/history

Contenu connexe

Tendances

การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดคู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดHummd Mdhum
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น Utai Sukviwatsirikul
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 

Tendances (7)

การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดคู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 

Similaire à Evolution of pulic health in thailand

แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1Utai Sukviwatsirikul
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
เด็กไทยทำได้
เด็กไทยทำได้เด็กไทยทำได้
เด็กไทยทำได้suthata habsa
 
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdfรูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfมาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfPaanSuthahathai
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdfVorawut Wongumpornpinit
 

Similaire à Evolution of pulic health in thailand (20)

แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
ส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพ
 
ส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพ
 
Policy
PolicyPolicy
Policy
 
Policy
PolicyPolicy
Policy
 
เด็กไทยทำได้
เด็กไทยทำได้เด็กไทยทำได้
เด็กไทยทำได้
 
ส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพ
 
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdfรูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
 
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfมาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
 
แพทยสภาต่างประเทศ
แพทยสภาต่างประเทศ แพทยสภาต่างประเทศ
แพทยสภาต่างประเทศ
 

Plus de kamolwantnok

medication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionmedication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionkamolwantnok
 
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology studyUnderstanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology studykamolwantnok
 
Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology kamolwantnok
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)kamolwantnok
 
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for PharmacoepidemiologyThe use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiologykamolwantnok
 
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for PharmacoepidemiologyThe use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for Pharmacoepidemiologykamolwantnok
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองkamolwantnok
 
Poster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอPoster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอkamolwantnok
 

Plus de kamolwantnok (8)

medication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionmedication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depression
 
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology studyUnderstanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
 
Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
 
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for PharmacoepidemiologyThe use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
 
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for PharmacoepidemiologyThe use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
 
Poster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอPoster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอ
 

Evolution of pulic health in thailand

  • 1. รวบรวมโดย อ.ภญ.ดร.กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม หัวข้อ ประวัติการสาธารณสุข รายวิชา สาธารณสุขสาหรับเภสัชกรรม Evolution of health care in Thailand
  • 3. องค์พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน และการสาธารณสุขไทย  องค์พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขไทย คือ สมเด็จพระบรมราชชนก พระองค์ทรงมีความสาคัญต่อวงการแพทย์แผนปัจจุบัน และการสาธารณสุขของไทยอย่างหาที่สุด มิได้ ทรงตระหนักถึงความสาคัญของการสาธารณสุข ซึ่งจากเดิมยังล้าสมัยอยู่มาก ทรงสนพระทัย ในการพัฒนา และสร้างความมั่นคงเข้มแข็งให้แก่การสาธารณสุขตั้งแต่ครั้งท่านทรงเยาว์วัย และได้ เสด็จไปศึกษา ณ ประเทศ สหรัฐอเมริกา เมื่อเสด็จกลับมาทรงรับเป็นพระอาจารย์พิเศษ และ ปรับปรุงระบบการเรียนการสอนด้านการแพทย์ของไทยเสียใหม่ และยังพระราชทานทุนให้นักเรียน แพทย์ พยาบาล และการสาธารณสุขไปศึกษาต่อในต่างประเทศเพื่อให้กลับมาปฏิบัติงานรับใช้ ประเทศชาติต่อไป ตลอดเวลาสมเด็จพระบรมราชชนกทรงบาเพ็ญพระราชกรณีกิจที่เป็นประโยชน์ ต่อการแพทย์อย่างมาก จึงทรงได้รับการยกย่องให้เป็น พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและ การสาธารณสุขไทย
  • 4. ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย (พ.ศ. ๒๔๖๑ – ๒๕๖๑)  การเกิดขึ้นของกรมสาธารณสุข (พ.ศ. ๒๔๖๑)  พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดาริให้รวมหน่วยงานต่างๆ ก่อตั้งเป็นกรม สาธารณสุข ในสังกัดกระทรวงมหาดไทยขึ้น เมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน 2461 โดยมีสมเด็จฯ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เป็นอธิบดีคนแรก  มุ่งเน้นการป้องกันโรค และส่งเสริมสุขอนามัยของประชาชน โดยเฉพาะการปราบโรคระบาด เช่น ไข้ทรพิษ อหิวาตกโรค และกาฬโรค มีการสารวจยุงที่เป็นพาหะของโรค สารวจและ ควบคุมโรคเรื้อน บาบัดโรคคุดทะราด  มีการสร้างความร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ เช่น มูลนิธิร็อคกี้เฟลเลอร์ในการรณรงค์กา จัดโรคพยาธิปากขอ  มีกิจการมารดาทารกสงเคราะห์ จัดการสุขศึกษาแก่ประชาชนอย่างกว้างขวาง  ส่งคนไปเรียนการสาธารณสุขในต่างประเทศ  นับว่าการเกิดขึ้นของกรมสาธารณสุขใน พ.ศ. ๒๔๖๑ เป็นจุดเริ่มต้นของการสาธารณสุข ยุคใหม่อย่างแท้จริง
  • 5. วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ Evolution of health care in Thailand  ในระยะแรกของการสาธารณสุขของประเทศไทยได้มีการระบาดของโรคติดต่อ จึงมุ่งเน้นการ ดูแลรักษาเพื่อให้หายจากการเป็นโรคมากกว่าการส่งเสริมป้องกัน  ในสมัยดึกดาบรรพ์การสาธารณสุขในยุคดั้งเดิมจะเน้นด้านการแพทย์ โดยเชื่อว่าโรคเกิดจาก ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ การหลุดพ้นการเจ็บป่วยก็โดยการ บูชายันต์ เซ่นไหว้ เป็นต้น  พระพุทธเจ้า และหมอชีวกโก ผู้เป็นหมอสมุนไพร ซึ่งได้มีการบัญญัติให้พระต้องดื่มน้าจากเครื่อง กรองน้าและห้ามพระสาวกของพระองค์ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะลงแม่น้าลาคลอง  ในช่วงอาณาจักรขอมรุ่งเรืองประมาณ พ.ศ 1725-1729 สมัยพระเจ้าวรมันที่ 7 ได้ทรงบาเพ็ญ พระราชกุศลตามความเชื่อในพระพุทธศาสนา โดยสร้างสถานพยาบาลเรียกว่า อโรคยาศาลาขึ้น 102 แห่ง ในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยและบริเวณใกล้เคียง
  • 6. วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)  ยุคประวัติศาสตร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 สมัยคือสมัยสุโขทัยและสมัยอยุธยา  พ.ศ. 2331 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงให้ทาศาลารายตั้งตารายาและ ฤาษีดัดตนไว้เป็นทาน  ในสมัยรัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 2 เป็นยุคเริ่มต้นของกรุงรัตนโกสินทร์การแพทย์ของไทยยังเป็น ลักษณะเป็นแพทย์แผนโบราณ การสาธารณสุขยังไม่เจริญนัก ยุคนี้เป็นยุคแห่งการวางรากฐาน สาธารณสุข  สมัยรัชกาลที่ 4 - รัชกาลที่ 6 เป็นยุคที่มีการติดต่อกับต่างประเทศแถบตะวันตก มีทูตมาเจริญ สันถวไมตรี คณะมิชั่นนารีเจ้ามาเผยแพร่ศาสนามากขึ้น พระมหากษัตริย์ไทยได้เสด็จ ต่างประเทศมากขึ้น ทาให้มีการพัฒนางานด้านสาธารณสุขตามไปด้วย
  • 7. วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)  พ.ศ 2373 หมอบรัดเลย์ได้ริเริ่มงานป้องกันโรคติดต่อขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย โดยได้นาการ ปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษเข้ามาใช้และได้สอนให้หมอหลวงหัดปลูกทรพิษเมื่อครั้งที่มีการระบาด ใหญ่เมื่อปลายปี พ.ศ. 2381  พ.ศ. 2378 หมอบรัดเลย์ได้ริเริ่มเปิดโอสถศาลาขึ้นในปีแรกที่เข้ามาถึงกรุงเทพฯ ในบริเวณ ตลาดสาเพ็ง ใกล้วัดเกาะซึ่งเป็นแหล่งชุมชนแออัด ชุกชุมด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ  พ.ศ. 2392 หมอเฮาส์มีบทบาทสาคัญในการควบคุมอหิวาตกโรคที่ระบาดใหญ่ไปทั่วโลกเป็น ครั้งที่ 2 ซึ่งมีคนตายในกรุงเทพฯและเขตหัวเมืองใกล้เคียงกว่า 40,000 คน และได้รายงานการ ใช้ทิงเจอร์การบูรผสมน้าให้ผุ้ป่วยดื่มบ่อย ๆ ทาให้ไม่มีผู้เสียชีวิตเลย
  • 8. วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)  26 ธันวาคม พ.ศ. 2431 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งกรมพยาบาลขึ้น และได้ มีการพระราชทานดัดแปลงอาคารสาหรับโรงพยาบาลและพระราชทานโรงพยาบาลว่า ศิริราช ซึ่งมี การรักษาทั้งแบบตะวันตกและแบบแผนไทย  27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461 ได้มีการประกาศจัดตั้งกรมสาธารณสุข โดยเปลี่ยนมาจากกรม ประชาภิบาล โดยมีพระเจ้าน้อยยาเธอ กรมหมื่นชัยนาทนเรนทร อธิบดีกรมมหาวิทยาลัยเป็นอธิบดี กรมสาธารณสุขในสังกัดกระทรวงมหาดไทย  พ.ศ. 2466 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการแพทย์ เป็นการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ มี วัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายแก่ประชาชน จากการประกอบการของผู้ทีไม่มีความรู้และมิได้ ฝึกหัดในรัชสมัยนี้
  • 9. วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)  พ.ศ. 2469 กรมสาธารณสุขได้อนุมัติให้ปรับปรุง ส่วนบริหารราชการใหม่ แบ่งออกเป็น 13 กองคือ กองบัญชาการ กองการเงิน กองที่ปรึกษา กองบรรณาธิการ กองสุขาภิบาล กองวิศวกรรม กอง สุขภาพ กองโอสถศาลา กองยาเสพติดให้โทษ โรงพยาบาลคนเสียจริต กองส่งเสริมสุขาภิบาล กอง แพทย์สุขภาภิบาลแห่งพระนคร วชิรพยาบาล  พ.ศ.2470 เปิดอบรมหมอตาแยครั้งแรกที่วชิรพยาบาล คาว่า “หมอตาแย” เรียกตามชื่อครูหมอผู้ หนึ่งที่สอนวิชานี้ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเชื้อพระวงศ์ การเรียกชื่อเช่นนี้เพื่อเป็นการแสดงความเคารพต่อ ครูผู้เป็นเจ้าของตารา  พ.ศ.2474 กรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทยได้จัดตั้งโรงเรียนอบรมผดุงครรภ์ชั้นสองขึ้นในวชิรพ ยาบาล นับเป็นโรงเรียนผดุงครรภ์แห่งแรกของประเทศไทย
  • 10. วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)  พ.ศ. 2515 สถานีอนามัยชั้นหนึ่ง ได้รับการพัฒนาเป็นศูนย์การแพทย์อนามัยชนบทและกลายเป็น “ศูนย์การแพทย์และอนามัย” ในปี พ.ศ 2517 เป็น “โรงพยาบาลอาเภอ” ใน พ.ศ 2520 และเป็น โรงพยาบาลชุมชนใน พ.ศ. 2525 จนถึงปัจจุบัน  พ.ศ. 2518โรงพยาบาลชุมชนระดับอาเภอถูกสร้างขึ้นครอบคลุมทั่วประเทศและมีโครงการ สงเคราะห์ประชาชนมีรายได้น้อยเรียกว่าโครงการ สปน.  พ.ศ. 2519 กระทรวงสาธารณสุขโดยกองอนามัยครอบครัว สารวจอบรมหมอตาแยทั่วประเทศโดย การสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลกและองค์การสงเคราะห์เด็กแห่งสหประชาชาติ ในระหว่างปี 2519-2528 มีหมอตาแยได้รับการอบรมจานวน 12,864 คน
  • 11. วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ  พ.ศ. 2520 – 2525 เริ่มดาเนินการสาธารณสุขมูลฐานตั้งแต่แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 -2525 ) โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การ ประสานระหว่างสาขาและการปรับระบบบริการสาธารณสุขพื้นฐาน ซึ่งประสบความสาเร็จอย่าง รวดเร็วในทศวรรษแรก  พ.ศ. 2526 เริ่มโครงการบัตรสุขภาพโดยใช้กลไกด้านการคลังสุขภาพชุมชนและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการสนับสนุนการเข้าถึงบริการด้านอนามัยแม่และเด็กเป็นหลัก  พ.ศ. 2532 เกิด Health reform project เป็นโครงการต้นแบบของแนวคิดการดูแลสุขภาพปฐม ภูมิ โดยเน้นการบริการที่มีลักษณะสาคัญ 3 ประการคือ การดูแลอย่างต่อเนื่อง การดูแลผสมผสาน และการดูแลอย่างองค์รวม
  • 12. วิวัฒนาการสาธารณสุขในประเทศ (ต่อ)  พ.ศ. 2535 ทศวรรษการพัฒนาสถานีอนามัยอย่างมากทั้งในด้านอาคารสถานที่และอุปกรณ์ เครื่องมือทางการรักษาพยาบาล เพื่อยกมาตรฐานคุณภาพบริการพยาบาลเพิ่มขึ้น  พ.ศ. 2540 วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ได้ส่งผลกระทบต่อประชาชนในทุกด้าน หลังวิกฤตเศรษฐกิจ แนวคิดการดูแลสุขภาพปฐมภูมิได้รับความสาคัญอีกครั้งหนึ่งเพราะเป็นบริการสุขภาพที่ต้นทุนต่า และชาวบ้านเข้าถึงบริการได้ง่าย  พ.ศ. 2542 พรบ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ ปี 2542 กาหนดให้มีการถ่ายโอน ภารกิจของสถานพยาบาลหรือถ่ายโอนสถานบริการของรัฐ ระดับต่าง ๆ ให้แก่องค์ปกครองส่วน ท้องถิ่นแต่ละระดับ (อบต. เทศบาล อบจ.)
  • 13. วิวัฒนาการสาธารณสุขต่างประเทศ Evolution in the world  ประวัติการสาธารณสุขต่างประเทศเกิดจากผลลัพธ์ของสงครามหลังสงคราม  หลังได้มีการประกาศใช้ธรรมนูญขององค์การอนามัยโลกในวันที่ 7 เมษายน 2491 ซึ่งได้มีการ ประชุมสมัชชาอนามัยโลก และได้มีมติให้มีการฉลองพร้อมกันทั่วโลกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2492 เป็นต้นมา  โดยได้มีการกาหนดข้อปัญหาอนามัยขึ้นปีละ 1 เรื่อง นอกจากนี้ได้มีการแต่งคาขวัญจากองค์การ อนามัยโลกเพื่อเป็นแนวทางในการทางานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั่วโลกได้ใช้เป็นแนวทางการให้ สุขศึกษาแก่ประชาชนในวันอนามัยโลกไว้ดังนี้คือ
  • 14. วิวัฒนาการสาธารณสุขต่างประเทศ (ต่อ)  1. คาขวัญ พ.ศ. 2493 เป็นคาขวัญแรกกล่าวไว้ว่า “จงคุ้นเคยกับบริการอนามัยที่มีไว้เพื่อ ท่าน”(Know Your Own Health Service)  2. คาขวัญ พ.ศ. 2547 “ สานึกดี ขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจลดอุบัติเหตุ ” (Road Safety Is No Accident)  ประเทศเป็นภาคีสมาชิกขององค์การอนามัยโลกอันดับที่ 21 ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2490 เพื่อเป็นการร่วมงานระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและองค์การอนามัยโลกเกี่ยวกับประโยชน์ของ ปวงชน
  • 15. ประวัติความเป็นมาขององค์การอนามัยโลก World health organization, WHO  องค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นทบวงการชานาญพิเศษอันมีความสัมพันธ์กับสหประชาชาติทบวง หนึ่งประกอบด้วยสมาชิก 131 ประเทศ (ธันวาคม พ.ศ. 2511)  องค์การนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะคุ้มครองและส่งเสรมสุขภาพอนามัยของประชาชนทั่วโลกเริ่ม ก่อตั้งองค์การขึ้นใน พ.ศ. 2491 ความมุ่งหมายดั้งเดิมเพื่อช่วยกันหยุดยั้งการระบาดของโรคติดต่อ ต่าง ๆ เช่นอหิวาตกโรค  ในปัจจุบันความร่วมมือระหว่างชาติในด้านนี้ได้ขยายกว้างออกไปมากกล่าวคือเพื่อดาเนินการ ยกระดับสุขภาพอนามัยในที่ทุกแห่งในโลกและช่วยส่งเสริม ความก้าวหน้าในด้านนี้อาศัยศึกษา การ วิจัยและและเปลี่ยนเรื่องควรรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับการคุ้มครอง ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน