SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
1 
โครงงาน (Project Work) 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
เรื่องระบบปฏิบัติการ 
เสนอ 
อาจารย์ ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ 
จัดทาโดย 
นางสาว การะเกษ สุระทด พณ.1/12 
นางสาว ณัฐินันท์ โพธ์ิงาม พณ.1/12 
นางสาว จุฑาพร สีอ่อน พณ.1/12 
รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
2 
เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 
ประเภทโครงงาน โครงงานเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
ระดับชั้น ปวช.1 
โดย นางสาว การะเกษ สุระทด 
นางสาว ณัฐินันท์ โพธิ์งาม 
นางสาวจุฑาพร สีอ่อน 
วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแกน่ 
ครูที่ปรึกษา คุณครูธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ 
ปีการศึกษา 2557 
บทคัดยอ่ 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 
จัดทาขึ้นเพื่อจุดประสงค์1 เพื่อเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 2 
เพื่อการศึกษาหาความรู้ทางด้านออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 
การพัฒนาความก้าวของการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ 
การเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์
3 
สารบัญ 
บทคัดยอ่ หน้า 
สารบัญ 3 
บทที่1 บทนา 5 
ที่มาและความสา คัญ 5 
วัตถุประสงค์ 5 
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 7 
ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 7 
โปรแกรมประมวลคา 12 
ประเภทของโปรแกรมประมวลผลคา 12 
ความสา คัญของโปรแกรมประมวลผลคา 13 
ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคา 14 
คุณสมบัติโดยทั่วไปของโปรแกรมประมวลคา 14 
คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพื่องานอาชีพ 18 
บทที่3 ขั้นตอนการดาเนินการ 32 
ขั้นตอนการดาเนินการ 32 
บทที่4 ผลการดาเนินงานโครงงาน 33-35 
ผลการดาเนินงานโครงงาน 32=3-35 
บทที่5 สรุปผลการดาเนินโครงงาน และข้อเสนอแนะ 36
4 
สรุปผลการดาเนินงาน 36 
ปัญหาและอุปสรรคที่พบ 36 
ข้อเสนอแนะ 37 
สรุปผลการปฏิบัติงาน 37 
สิ่งที่ได้จากการปฏิบัติงาน 37 
ปัญหาและอุปสรรคที่พบขณะปฏิบัติงาน 37
5 
บทที่1 
บทนา 
ที่มาและความสา คัญ 
ในยุคโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันนี้สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอยา่งรวดเร็ว ทางออนไลน์ 
ให้ความทันสมัยความก้าวหน้าในยุคออนไลน์ 
เพื่อให้ความรวดเร็วในการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เราจะค้นหา 
ในยุคโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันนีส้ถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ให้ 
ความสาคัญกับการรวมตัวกันในภูมิภาคเพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่าง ประเทศ 
อาเซียนจึงต้องปรับตัวให้เท่าทันสถานการณ์เพื่อให้สามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ เกิดขึน้ได้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
จึงกาหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนขึน้มาที่ประกอบไปด้วย 3 เสา หลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน ภายในปี 2563 
ซึ่งต่อมาได้เลื่อนกาหนดเวลาสาหรับการรวมตัวกันให้เร็วขึน้เป็นปี 2558 ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน 
เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ ประชาคมอาเซียนที่ส่งผลต่อด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง วัฒนธรรม และ ความมั่นคง 
คณะผู้จัดทาเล็งเห็น ความสาคัญจึงสร้างโครงงานนีขึ้น้มา โดยการสร้างวีดีทัศน์เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนเพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ 
ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนได้เข้าใจและเห็นความสาคัญของประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. 
เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ขอบเขตของโครงงาน สร้างสอื่วีดีทัศน์ 
เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดีทัศน์ โปรแกรมMotion5 ใช้สร้าง Effect 
และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ใน การบันทึกเสียง 
วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 
2.เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้การศึกษาและความทันสมัยทางออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 
ขอบเขตการศึกษา 
1.ขอบเขตเรื่องเนื้อหา ระบบปฏิบัติการ ซึ่งประกอบไปด้วย ระบบปฏิบัติการ Operating System 
โปรแกรมประมวลผลคา คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพื่องานอาชีพ 
ผลที่คาดวา่จะได้รับ
6 
1.ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 
2.ได้เอาเทคนิคการคิดเรื่องระบบปฏิบัติการนามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 
3.ได้นาความรู้ความสามารถเรื่องระบบปฏิบัติการมาใช้ในชีวิตประจาวนั
7 
บทที่2 
เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ มีเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ 
1.ระบบปฏิบัติการ 
2.ความหมายของระบบปฏิบัติการ 
3.โปรแกรมประมวลผลคา 
4.คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพื่องานอาชีพ 
ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 
ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรม (Software)ที่ทา หน้าที่ ควบคุมการทา งานของ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ตอ่พว่ง 
กบัเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทา หน้าที่ เป็น 
ตัวกลางในการติดตอ่กบัฮาร์ดแวร์ของเครื่องโดยตรงและโปรแกรมการใช้งานตา่ง ๆ 
ความหมายของระบบปฏิบัติการ 
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือ Operating System เรียกสั้น ๆ วา่ OS เป็นโปรแกรม 
ควบคุมการทา งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทา หน้าที่ควบคุมการทา งานตา่งๆ เชน่ การแสดงผล ข้อมูลการติดตอ่กบัผู้ใช้ 
โดยทา หน้าที่เป็นสื่อกลาง 
ระหวา่งผู้ใช้กบัเครื่องให้สามารถสื่อสารกนัได้ควบคุมและจัดสรรทรัพยากรให้กบัโปรแกรมตา่งๆโดยทั่วไประบบคอมพิว 
เตอร์แบง่เป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประประยุกต์ และผู้ใช้ 
ระบบปฏิบัติการ(OperatingSystem)ระบบต่างๆ 
การทา งานของคอมพิวเตอร์จะไมส่ามารถทา งานด้วยตัวเองได้ 
แตจ่ะต้องอาศัยโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทา งานซึ่งเรียกวา่“ซอฟต์แวร์” (Software) โดยทั่วไปซอฟต์แวร์จะแบง่เป็น 2 
ประเภท คือ โปรแกรมสาเร็จรูป และโปรแกรมระบบปฏิบัติการซึ่งระบบปฏิบัติการนี้จะมีหน้าที่ 
ในการจัดการและควบคุมการทา งานและอุปกรณ์ตา่งๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เชน่ 
การจัดการเกยี่วกบัการแสดงผลบนจอภาพ รับข้อมูลทางแป้นพิมพ์หรือเมาส์ การจัดการเกยี่วกบัแฟ้มข้อมูล 
การจัดเก็บข้อมูลลงแฟ้มการติดตั้งโปรแกรม นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการยังชว่ยสร้างส่วนติดตอ่
8 
ระหวา่งผู้ใช้กบัคอมพิวเตอร์ (User interface) ให้ง่ายตอ่การใช้งาน ระบบปฏิบัติการมีอยูห่ลาย ระบบ 
ซึ่งมีการพัฒนาจากผู้ผลิตหลายบริษัท แตที่่สาคัญ ๆ มีดังนี้ 
1.ระบบปฏิบัติการDOS(DiskOperatingSystem) 
ระบบ DOS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท IBM เพื่อให้เป็ระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องพีซี 
ซึ่งตัวโปรแกรมDOS จะถูก Load หรืออา่นจากแผน่ดิสก์เข้าไปเก็บไวใ้นหน่วยความจา กอ่น จากนั้น DOS 
จะไปทา หน้าที่เป็น ผู้ประสานงานตา่ง ๆระหวา่งผู้ใช้กบัอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหลายโดยอัตโนมตัิ โดยที่ DOS 
จะรับคา สั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้วนาไปปฏิบัติตามโดยการทา งานจะเป็นแบบ Text mode 
สั่งงานโดยการกดคา สั่งเข้าไปที่ซีพร็อม (C:>)ดังนั้น ผู้ใช้ระบบนี้จึงต้องจา คา สั่งตา่ง 
ๆในการใช้งานจึงจะสามารถใช้งานได้ ระบบปฏิบัติการ DOS ถือได้วา่เป็นระบบปฏิบัติการที่เกา่แก่ 
และปัจจุบันนี้มีการใช้งานน้อยมาก 
2.ระบบปฏิบัติการ(MicrosoftWindows) 
Windowsเป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft ซึ่งจะมีส่วนติดตอ่กบั ผู้ใช้ (User interface) 
เป็นแบบกราฟิกหรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทนคา สั่ง เรียกวา่ GUI (Graphic User Interface) 
โดยสามารถสั่งให้เครื่องทา งานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คา สั่งที่ต้องการ 
ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกวา่ 1 โปรแกรมในขณะเดียวกนัซึ่งถ้าเป็นระบบ DOS 
หากต้องการเปลี่ยนไปทา งานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก โปรแกรมเดิมกอ่นจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ 
ได้ ในลักษณะการทา งานของ Windows จะมีส่วนที่เรียกวา่ “หน้าตา่ง” 
โดยแตล่ะโปรแกรมจะถือเป็นหน้าตา่งหนึ่งหน้าตา่ง ผู้ใช้สามารถ สลับไปมาระหวา่งแตล่ะหน้าตา่งได้ นอกจากนี้ระบบ 
Windows ยังให้โปรแกรมตา่ง ๆ สามารถแชร์ข้อมูลระหวา่งกนัได้ผา่นทางคลิปบอ์ด (Clipboard) ระบบ Windows 
ทา ให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถทา ความเข้าใจ เรียนรู้และใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น 
3.ระบบปฏิบัติการ(Unix) 
Unixเป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้บนเครื่อง SUN ของบริษัท SUN Microsystems แตไ่มไ่ด้เป็นคูแ่ขง่กบับริษัท Microsoft 
ในเรื่องของระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PCแตอ่ยา่งใด แตU่nix เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open 
system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไมต่้อง ผูกติดกบัระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกนั นอกจากนี้ Unix 
ยังถูกออกแบบมาเพื่อ ตอบสนองการใช้งานในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกนั เรียกวา่ ระบบหลายผู้ใช้ 
(Multiuser system) และสามารถทา งานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกนั ในลักษณะที่เรียกวา่ ระบบหลายภารกิจ 
(Multitasking system) 
4.ระบบปฏิบัติการ(Linux) 
Linuxเป็นระบบปฏิบัติการเชน่เดียวกบั DOS, Windows หรือ Unix โดยLinuxนั้นจัด วา่เป็นระบบปฏิบัติการ Unix 
ประเภทหนึ่งการที่Linuxเป็นที่กลา่วขานกนัมากในชว่งปี 1999 – 2000 เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติ 
การและโปรแกรมประยุกต์ที่ทา งานบนระบบ Linux โดยเฉพาะอยา่งยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU’s Not
9 
UNIX) และสิ่งที่สาคัญที่สุดก็ คือระบบ Linux เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free ware) 
คือไมเ่สียคา่ใช้จา่ยในการซื้อ โปรแกรม Linux นั้นมี นักพัฒนาโปรแกรมจากทั่วโลกชว่ยกนัแกไ้ข ทา ให้การขยายตัวของ 
Linux เป็นไปอยา่งรวดเร็ว โดยในส่วนของใจกลางระบบปฏิบัติการหรือ Kernel นั้นจะมีการพัฒนาเป็น รุ่นที่ 2.2 (Linux 
Kernel 2.2) ซึ่งได้เพิ่มขีดความสามารถและสนับสนุนการทา งานแบบหลายซีพียู หรือ SMP (Symmetrical Multi 
Processors) ซึ่งทา ให้ระบบLinux สามารถนาไปใช้สาหรับทา งาน เป็น Saverขนาดใหญไ่ด้ระบบ Linux ตั้งแตรุ่่น 4 นั้น 
สามารถทา งานได้บนซีพียูทั้ง 3 ตระกูล คือ บนซีพียูของ อินเทล (PC Intel) ดิจิทัลอัลฟาคอมพิวเตอร์ (Digital Alpha 
Computer และซันสปาร์ค (SUN SPARC) เนื่องจากใช้เทคโนโลยีที่เรียกวา่ RPM (Red Hat Package Management) 
ถึงแมว้า่ขณะนี้ Linux ยังไมส่ามารถแทนที่ Microsoft Windows บนพีซีหรือ Mac OS ได้ทั้งหมดก็ตาม แตก่็มีผู้ใช้ 
จา นวนไมน่้อยที่สนใจมาใช้และชว่ยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บน Linux และเรื่องของการดูแลระบบ Linux นั้น 
ก็มีเครื่องมือชว่ยสาหรับดา เนินการให้สะดวกยิ่งขึ้น 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์ทำ งำนอยำ่งเป็นระบบ (System) หมำยถึงภำยในระบบงำนคอมพิวเตอร์ 
ประกอบด้วยองค์ประกอบยอ่ยที่มีหน้ำที่เฉพำะ ทำ งำนประสำนสัมพันธ์กนั เพื่อให้งำนบรรลุตำมเป้ำหมำย 
ในระบบงำนคอมพิวเตอร์ 
กำรที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอยำ่งเดียว จะยังไมส่ำมำรถทำ งำนได้ด้วยตัวเอง 
ซึ่งหำกจะให้คอมพิวเตอร์ทำ งำนได้อยำ่งเป็นระบบและมีประสิทธิภำพแล้ว 
ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบคือ บุคลำกร (Peopleware) ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ 
(Software) ข้อมูล(Data) 
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ฮำร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สำมำรถจับต้องได้ ได้แก่วงจรไฟฟ้ำ ตัวเครื่อง 
จอภำพ เครื่องพิมพ์ คีย์บอร์ด เป็นต้นซึ่งสำมำรถแบง่ส่วนพื้นฐำนของฮำร์ดแวร์เป็น 4 หน่วยสำคัญ 
1.1 หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต ( Input Unit)ทำ หน้ำที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้ำ ได้แก่คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ เมำส์ 
เครื่องสแกน เป็นต้น 
1.2 ระบบประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing 
Unit)ทำ หน้ำที่ในกำรทำ งำนตำมคำ สั่งที่ปรำกฏอยูใ่นโปรแกรม ปัจจุบันซีพียูของเครื่องพีซี 
รู้จักในนำมไมโครโปรเซสเซอร์ ( Micro Processor) หรือ Chip เชน่บริษัท Intel คือ Pentium หรือ Celelon ส่วนของบริษัท 
AMD คือ K6,K7(Athlon) เป็นต้น ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้ำที่ในกำรประมวลผลข้อมูล 
ในลักษณะของกำรคำ นวณและเปรียบเทียบ โดยจะทำ งำนตำมจังหวะเวลำที่แน่นอน เรียกวำ่สัญญำณ Clock 
เมื่อมีกำรเคำะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เรำเรียกหน่วย ที่ใช้ในกำรวดัควำมเร็วของซีพียูวำ่ “เฮิร์ท”(Herzt) 
หมำยถึงกำรทำ งำนได้กี่ครั้งในจำ นวน 1 วินำที เชน่ ซีพียู Pentium4 มีควำมเร็ว 2.5 GHz หมำยถึงทำ งำนเร็ว 2,500 ล้ำนครั้ง 
ในหนึ่งวินำที กรณีที่สัญญำณ Clock เร็วก็จะทำ ให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้น มีควำมเร็วสูง และ ซีพียูที่ทำ งำนเร็วมำก 
รำคำก็จะแพงขึ้นมำกตำมไปด้วย 
1.3 หน่วยเก็บข้อมูล ( Storage )ซึ่งสำมำรถแยกตำมหน้ำที่ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 
1.3.1 หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือควำมจำ หลัก ( Primary Storage หรือ Main Memory ) 
ทำ หน้ำที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมำจำกหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลำงทำ กำรประมวลผล 
และรับผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลเพื่อส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลตอ่ไปซึ่งอำจแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ RAM
10 
( Random Access Memory ) ที่สำมำรถอำ่นและเขียนข้อมูลได้ในขณะที่เปิดเครื่องอยู่แตเ่มอื่ปิดเครื่องข้อมูลใน RAM 
จะหำยไป และ ROM ( Read Only Memory ) จะอำ่นได้อยำ่งเดียว เชน่ BIOS (Basic Input Output system) 
โปรแกรมฝังไวใ้ช้ตอนสตำร์ตเครื่อง เพื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มต้นทำ งำน เป็นต้น 
1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ( SecondaryStorage ) เป็นหน่วยที่ทำ หน้ำที่เก็บข้อมูล 
หรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้ำสู่หน่วยควำมจำ หลักภำยในเครื่องกอ่นทำ กำรประมวลผลโดยซีพียู 
รวมทั้งเป็นที่เก็บผลลัพธ์จำกกำรประมวลผลด้วย ปัจจุบันรู้จักในนำมฮำร์ดดิสก์ (Hard disk) หรือแผน่ฟร็อปปีดิสก์ (Floppy 
Disk) ซึ่งเมอื่ปิดเครื่องข้อมูลจะยังคงเก็บอยู่ 
1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต ( Output Unit )ทำ หน้ำที่ในกำรแสดงผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผล ได้แก่จอภำพ 
และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น ทั้ง 4 ส่วนจะเชื่อมตอ่กนัด้วยบัส ( Bus ) 
2 ซอฟต์แวร์ ( Software ) 
ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำ สั่ง ที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ทำ งำน รวมไปถึงกำรควบคุมกำรทำ งำน 
ของอุปกรณ์แวดล้อมตำ่งๆ เชน่ ฮำร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม กำร์ดอินเตอร์เฟสตำ่ง ๆ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ 
เป็นสิ่งที่มองไมเ่ห็นจับต้องไมไ่ด้ แตรั่บรู้กำรทำ งำนของมนัได้ ซึ่งตำ่งกบั ฮำร์ดแวร์ (Hardware) 
ที่สำมำรถจับต้องได้ซึ่งแบง่เป็น 2 ประเภทคือ 
2.1ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software )คือโปรแกรม ที่ใช้ในกำรควบคุมระบบกำร ทำ งำนของ 
เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เชน่ กำรบูดเครื่อง กำรสำเนำข้อมูล กำรจัดกำรระบบของดิสก์ 
ชุดคำ สั่งที่เขียนเป็นคำ สั่งสำเร็จรูปโดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีมำพร้อมแล้วจำกโรงงำนผลิต 
กำรทำ งำนหรือกำรประมวลผล ของซอฟต์แวร์เหลำ่นี้ ขึ้นกบัเครื่องคอมพิวเตอร์แตล่ะเครื่อง ระบบของซอฟต์แวร์เหลำ่นี้ 
ออกแบบมำเพื่อกำรปฏิบัติควบคุม และมีควำมสำมำรถในกำรยืดหยุน่ กำรประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
แบง่ออกเป็น 4 ประเภทคือ 
2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร (Operating System) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดตอ่กบัอุปกรณ์ตำ่ง ๆ 
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะกำรจัดกำรระบบของดิสก์ กำรบริหำรหน่วยควำมจำ ของระบบ กลำ่วโดยสรุปคือ 
หำกจะทำ งำนใดงำนหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ในกำรทำ งำน แล้วจะต้องติดตอ่กบัซอฟต์แวร์ระบบกอ่น 
ถ้ำขำดซอฟต์แวร์ชนิดนี้ จะทำ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไมส่ำมำรถทำ งำนได้ ตัวอยำ่งของซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ 
โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร UnixLinux DOS และWindows (เวอร์ชันตำ่ง ๆ เชน่ 95 98 me 2000 NT XP Vista ) เป็นต้น 
2.1.2 ตัวแปลภำษำ (Translator) จำก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจำกภำษำที่มนุษย์เข้ำใจ 
ให้เป็นภำษำที่เครื่องเข้ำใจ เปรียบเสมือนลำ่มแปลภำษำ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรแปลภำษำระดับสูง ซึ่ง 
เป็นภำษำใกล้เคียงภำษำมนุษย์ ให้เป็นภำษำเครื่องกอ่นที่จะนำไปประมวลผล ตัวแปลภำษำแบง่ออกเป็นสองประเภทคือ 
คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปลคำ สั่งในโปรแกรมทั้งหมดกอ่น 
แล้วทำ กำรลิ้ง (Link) เพื่อให้ได้คำ สั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำใจ ส่วนอินเตอร์พีทเตอร์จะแปลทีละประโยคคำ สั่ง 
แล้วทำ งำนตำมประโยคคำ สั่งนั้น กำรจะเลือกใช้ตัวแปลภำษำแบบใดนั้น จะขึ้นอยูก่บัภำษำที่ใช้ในกำรเขียนโปรแกรม 
ซึ่งมี 2 แบบได้แก่ภำษำแบบโครงสร้ำง เชน่ ภำษำเบสิก (Basic) ภำษำปำสคำล (Pascal) ภำษำซี (C) 
ภำษำจำวำ(Java)ภำษำโคบอล (Cobol) ภำษำ SQL ภำษำ HTML เป็นต้นภำษำแบบเชิงวตัถุ ( Visual หรือ Object Oriented 
Programming ) เชน่ Visual Basic,Visual C หรือ Delphi เป็นต้น 
2.1.3 ยูติลิตี้ โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริมชว่ยให้เครื่องทำ งำนมีประสิทธิภำพ มำกขึ้น เชน่ 
ชว่ยในกำรตรวจสอบดิสก์ ชว่ยในกำรจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ชว่ยสำเนำข้อมูล ชว่ยซอ่มอำกำรชำ รุดของดิสก์ 
ชว่ยค้นหำและกำ จัดไวรัส ฯลฯ เป็นต้นโปรแกรมในกลุม่นี้ได้แก่โปรแกรม Norton Winzip Scan virus Sidekick Scandisk 
Screen Saverเป็นต้น
11 
2.1.4ติดตั้งและปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรติดตั้งระบบ 
เพื่อให้คอมพิวเตอร์สำมำรถติดตอ่และใช้งำนอุปกรณ์ตำ่ง ๆ ที่นำมำติดตั้งระบบ ได้แก่โปรแกรม Setupและ Driver ตำ่ง ๆ 
เชน่ โปรแกรม Setup Microsoft Office โปรแกรม Driver Sound , Driver Printer , Driver Scanner เป็นต้น 
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 
ซอฟต์แวร์ประยุกต์คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำ งำนตำ่งๆ ตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร 
ไมว่ำ่จะด้ำนเอกสำร บัญชี กำรจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำมำรถจำ แนก 
ได้เป็น 2 ประเภท คือ 
2.2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน (Special Purpose Software) คือ 
โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อกำรทำ งำนเฉพำะอยำ่งที่เรำต้องกำร บำงที่เรียกวำ่ User’s Program เชน่ 
โปรแกรมกำรทำ บัญชีจำ่ยเงินเดือน โปรแกรมระบบเชำ่ซื้อ โปรแกรมกำรทำ สินค้ำคงคลัง เป็นต้น 
ซึ่งแตล่ะโปรแกรมก็มกัจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกตำ่งกนัออกไปตำมควำมต้องกำร 
หรือกฏเกณฑ์ของแตล่ะหน่วยงำนที่ใช้ ซึ่งสำมำรถดัดแปลงแกไ้ขเพิ่มเติม (Modifications) ในบำงส่วนของโปรแกรมได้ 
เพื่อให้ตรงกบัควำมต้องกำรของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญม่กัใช้ภำษำระดับสูงเป็นตัวพัฒนำ 
2.2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป (General Purpose Software) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำ ไว้ 
เพื่อใช้ในกำรทำ งำนประเภทตำ่งๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สำมำรถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กบัข้อมูลของตนได้ 
แตจ่ะไมส่ำมำรถทำ กำรดัดแปลง หรือแกไ้ขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไมจ่ำ เป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นกำรประหยัดเวลำ 
แรงงำน และคำ่ใช้จำ่ยในกำรเขียนโปรแกรม นอกจำกนี้ ยังไมต่้องเวลำมำกในกำรฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ 
มกัจะมีกำรใช้งำนในหน่วยงำน ซึ่งขำดบุคลำกรที่มีควำมชำ นำญเป็นพิเศษในกำรเขียนโปรแกรม ดังนั้น 
กำรใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำ นวยควำมสะดวกและเป็นประโยชน์อยำ่งยิ่ง 
ตัวอยำ่งโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ 
เกมส์ตำ่งๆ เป็นต้น 
3 บุคลากร ( Peopleware ) 
บุคลำกรจะเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นตัวกำ หนดถึงประสิทธิภำพถึงควำมสำเร็จและควำมคุ้มคำ่ในกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์ 
ซึ่งสำมำรถแบง่บุคลำกรตำมหน้ำที่เกี่ยวข้องตำมลักษณะงำนได้ 6 ด้ำน ดังนี้ 
3.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : 
SA )ทำ หน้ำที่ศึกษำและรวบรวมควำมต้องกำรของผู้ใช้ระบบ 
และทำ หน้ำที่เป็นสื่อกลำงระหวำ่งผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือปรับปรุงคุณภำพงำนเดิม 
นักวิเครำะห์ระบบต้องมีควำมรู้เกยี่วกบัระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรม 
และควรจะเป็นผู้มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 
3.2 โปรแกรมเมอร์ 
( Programmer )คือบุคคลที่ทำ หน้ำที่เขียนซอฟต์แวร์ตำ่งๆ(Software )หรือเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงำนให้เครื่องคอมพิวเตอ 
ร์ทำ งำนตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ โดยเขียนตำมแผนผังที่นักวิเครำะห์ระบบได้เขียนไว้ 
3.3 ผู้ใช้ ( User )เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ 
ซึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกำ หนดควำมต้องกำรในกำรใช้ระบบคอมพิวเตอร์วำ่ทำ งำนอะไรได้บ้ำงผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ทั่วไป 
จะต้องเรียนรู้วิธีกำรใช้เครื่อง และวิธีกำรใช้งำนโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยูส่ำมำรถทำ งำนได้ตำมที่ต้องกำร 
3.4 ผู้ปฏิบัติการ (Operator )สำหรับระบบขนำดใหญ่ เชน่ เมนเฟรม 
จะต้องมีเจ้ำหน้ำที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิดและเปิดเครื่อง และเฝ้ำดูจอภำพเมอื่มีปัญหำซึ่งอำจเกิดขัดข้อง จะต้องแจ้ง 
System Programmer ซึ่งเป็นผู้ดูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคุมเครื่อง (System Software) อีกทีหนึ่ง
12 
3.5 ผู้บริหารฐานข้อมูล ( Database Administrator : DBA )กลุม่บุคคลที่ทำ หน้ำที่ดูแลข้อมูลผำ่นระบบจัดกำรฐำนข้อมูล 
ซึ่งจะควบคุมให้กำรทำ งำนเป็นไปอยำ่งรำบรื่น นอกจำกนี้ยังทำ หน้ำที่กำ หนดสิทธิกำรใช้งำนข้อมูล 
กำ หนดในเรื่องควำมปลอดภัยของกำรใช้งำน พร้อมทั้งดูแลดำต้ำเบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) 
ให้ทำ งำนอยำ่งปกติด้วย 
3.6 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วำงนโยบำยกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตำมเป้ำหมำยของหน่วยงำน 
เป็นผู้ที่มีควำมหมำยตอ่ควำมสำเร็จหรือล้มเหลวของกำรนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้งำนเป็นอยำ่งมำก 
4. ข้อมูล 
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ ตา่งๆ 
ทา ความหมายแทนสิ่งเหลา่นั้น 
ข้อมูล คือคา่ของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ที่อยูใ่นความควบคุมของกลุม่ของสิ่งตา่ง ๆ 
ข้อมูลในเรื่องการคอมพิวเตอร์ (หรือการประมวลผลข้อมูล) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอยา่งหนึ่ง 
ซึ่งมกัจะเป็นโครงสร้างตาราง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างต้นไม้(กลุม่ของจุดตอ่ที่มีความสัมพันธ์แบบพอ่ลูก) 
หรือโครงสร้างกราฟ (กลุม่ของจุดตอ่ที่เชื่อมระหวา่งกนั) 
ข้อมูลโดยปกติเป็นผลจากการวดัและสามารถทา ให้เห็นได้โดยใช้กราฟหรือรูปภาพ 
ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหนึ่ง 
อาจมองได้วา่เป็นระดับต่า ที่สุดของภาวะนามธรรมที่สืบทอดเป็นสารสนเทศและความรู้ ข้อมูลดิบ หรือ 
ข้อมูลที่ยังไม่ประมวลผล เป็นศัพท์อีกคา หนึ่งที่เกยี่วข้อง หมายถึงการรวบรวมจา นวนและอักขระตา่ง ๆ 
ซึ่งมกัจะเกิดขึ้นตามปกติในการประมวลผลข้อมูลเป็นระยะ และ ข้อมูลที่ประมวลผลแล้ว จากระยะหนึ่งอาจถือวา่เป็น 
ข้อมูลดิบ ของระยะถัดไปก็ได้ ข้อมูลสนามหมายถึงข้อมูลดิบที่รวบรวมมาจากสภาพแวดล้อม ณ แหลง่กา เนิด 
ที่ไมอ่ยูใ่นการควบคุม 
ข้อมูลเชิงทดลองหมายถึงข้อมูลที่สร้างขึ้นภายในสภาพแวดล้อมของการค้นควา้ทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตและการบั 
นทึก 
โปรแกรมประมวลคา 
โปรแกรมประมวลคา หรือระบบจัดเตรียมเอกสาร(Document Preparation System) 
เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประยุกต์ ใช้ในการผลิตเอกสารที่พิมพ์ออกมา ได้ ซึ้งรวมถึงกระบานการเขียน แกไ้ข 
จักรูปแบบ และพิมพ์ 
การประมวลคา ในการทา งานยุคแรกของคอมพิวเตอร์สานักงานโปรแกรมประมวลคา เชิงพาณิชย์ที่เป็นที่นิยมได้แก่ 
ไมโครซอฟท์ เวิร์ด เวิร์ดเพอร์เฟกต์ โปรแกรมโอเพนซอสร์ส เชน่ โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก ไรเตอร์และเคเวิร์ด 
และโปรแกรมประมวลคา เชน่ โปรแกรมประมวลคา ออนไลน์ เชน่ กูเกิลดอกส์
13 
ประเภทของโปรแกรมประมวลผลคา 
โปรแกรมประมวลผลคาแบง่เป็น 2 ประเภท คือ 
1. เวิร์ดโพรเซสเซอร์ (Word Processor) เป็นโปรแกรมประมวลผลคา ที่ทา งานด้านการพิมพ์เอกสารการสร้างตาราง 
การจัดหน้าเอกสาร การจัดคอลัมน์ การจัดรูแบบอักษร (Font) สามารถใส่ภาพกราฟิก (Graphic) หรือแผนภุมิลงในเอกสาร 
โปรแกรมที่นิยมใช้ได้แก่โปรแกรมไมโคซอฟต์เวิร์ด(Microsoft Word) 
2. เท็กซ์อิดิเตอร์ 
(TextEditor) เป็นโปรแกรมประมวลผลคา ขนาดเล็กใช้สาหรับการพิมพ์และแกไ้ขเอกสารคาสั่งตา่งๆซึ่งมีรูปแบบการใช้งา 
น เชน่ลักษณะตัวหนา (Bold) ตัวเอียง 
(Italic) ขนาดตัวอักษรไมม่ากเหมือนกับเวิร์ดโพรเซสเซอร์แต่สามารถพิมพ์ข้อความในเอกสารเก็บบันทึกสั่งพิมพ์ออกทางเ 
ครื่องพิมพ์ได้เท็กซ์อิดิเตอร์ที่นิยมใช้ ได้แก่โปรแกรม WordPad โปรแกรม Notepad 
ความสาคัญของโปรแกรมประมวลผลคา 
ปัจจุบันสานักงานทั้งภาครัฐและเอกชนได้มีการนาโปรแกรมประมวลผลคา มาใช้ในการพิมพ์เอกสารและรายงานตา่งๆแท 
นเครื่องพิมพ์ดีดมากขึ้นทั้งนี้เนื่องจากความกา้วหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 
โดยเฉพาะอยา่งยิ่งการพัฒนาความสามารถของตัวประมวลผลหรือโพเซสเซอร์(Processor) แลประสิทธิภาพการเก็บข้อมูล 
ของหน่วยเก็บข้อมูลสารองตา่งๆ เชน่ ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์เกตต์ ที่มีรวมถึงการผลิตเครื่องพิมพ์
14 
(Printer)ความเร็วสูงประกอบกบัราคาเครื่องคอมพิวเตอร์มีราคาถูกลงแตมี่ประสิทธิภาพสูงขึ้นทา ให้สานักงานตา่งๆหันมา 
ใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาชว่ยในการประมวลข้อมูล ซึ่งสามารถจัดทา เอกสาร บทความ 
ตลอดจนรายงานได้อยา่งรวดเร็วโดยสามารถจัดข้อความและเลือกแบบอักษร แกไ้ข เพิ่มเติม ปรับปรุง 
แทรกข้อความรวมข้อความหรือเอกสารจัดขอบกระดาษและตรวจดูเอกสารกอ่นที่จะพิมพ์เอกสารจริงออกมานอกจากนี้ยัง 
สามารถบันทึกเอกสารต่างๆ ตลอดจนเรียกใช้งานแฟ้มข้อมูลที่ได้เก็บบันทึกไว้ขึ้นมาใช้งานในภายหลังได้ 
ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคา 
1. ชว่ยให้การจัดเก็บและค้นหาเอกสารมีความรวดเร็วมากขึ้นเพราะงานเอกสารตา่งๆ 
จะถูกจัดเก็บเป็นแฟ้มข้อมูลลงในสื่อบันทึกข้อมูลตา่งๆสามารถค้นหาและเรียกใช้งานได้สะดวกและรวดเร็ว 
2. ชว่ยลดปริมาณกระดาษที่จัดเก็บทา ให้ประหยัดพื้นที่ในการเก็บเอกสารเพราะเอกสารจะถูกจัดเก็บอยูใ่นสื่อบันทึกข้อมูล
15 
ตา่งๆที่มีขนาดเล็กแตมี่ความจุในการเก็บข้อมูลได้เป็นจา นวนมาก 
3.ชว่ยลดขั้นตอนในการจัดทา เอกสาร 
เชน่ถ้าต้องการส่งจดหมายที่มีข้อความเหมือนกนัไปให้ผู้รับจดหมายเป็นจา นวนมากอาจทา ได้โดยการจัดทา จดหมายเวียน 
ซึ่งมีขั้นตอนการทา ที่สะดวกและรวดเร็ว 
ซึ่งถ้าหากใช้เครื่องพิมพ์ดีดก็อาจจะต้องเสียเวลาในการจัดทา มาก 
4. ชว่ยประหยัดเวลาและคา่ใช้จา่ยในการจัดพิมพ์เอกสาร 
5. ชว่ยสร้างเอกสารให้มีความสวยงาม ทั้งนี้เพราะผู้ใช้สามารถนารูปภาพรูปวาด ภาพกราฟิกตา่ง ๆ 
มาแทรกลงในเอกสารได้โดยตรง 
6. ชว่ยให้การทา งานกบัเอกสารถูกต้องและมีข้อผิดพลาดลดน้อยลง 
เพราะผู้ใช้งานสามารถตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารได้โดยตรงบนหน้าจอจนพอใจจึงจะสั่งพิมพ์เอกสารออกทางเค 
รื่องพิมพ์ได้ 
หรือาจใช้ระบบการตรวจสอบคา ผิดแบบอัตโนมตัิ 
ในการตรวจสอบการสะกดคา หรือไวยากรณ์ของภาษาได้ 
คุณสมบัติโดยทั่วไปของโปรแกรมประมวลคา 
อีกทั้งกา หนดขนาดและรูปแบบตัวอักษรได้หลายแบบและยังมีชุดตัวอักษรให้เลือกหลายรูปแบบเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเลือก 
ใช้ได้ตามความพอใจและตามความเหมาะสมของเอกสารส่วนการจัดหน้าเอกสารนั้นโปรแกรมประมวลผลคา สามารถคว 
บคุมการจัดวางหน้าใหมโ่ดยอัตโนมตัิทุกครั้งที่มีการแกไ้ขเอกสาร เชน่ 
การกา หนดให้ข้อความในบรรทัดเริ่มที่เส้นขอบซ้ายตรงกนัหรือกา หนดให้ข้อความอยู่ตรงกลางของบรรทัด เป็นต้น 
เครื่องมือชว่ยในการทา จดหมายเวียนและจา่หน้าซองจดหมาย เครื่องมือนี้จะชว่ยสร้างจดหมายหลักไวห้นึ่งฉบับพร้อมทั้ง 
กา หนดตา แหน่งที่จะเปลี่ยนแปลงข้อมูลและสร้างแฟ้มข้อมูลสาหรับบันทึกชื่อและที่อยูข่องผู้รับไวเ้มื่อสั่งพิมพ์จดหมายเวีย 
นนั้นหรือจา่หน้าซองจดหมายโปรแกรมจะนาข้อมูลมาใส่ในตา แหน่ง ที่กา หนดไวใ้ห้อยา่งอัตโนมตัิจนครบทุกคนในปัจจุ 
บันโปรแกรมประมวลผลคา มีการพัฒนาไปอยา่งมาก คือ มีเครื่องมือตา่ง ๆ ที่ช่วยในการพิมพ์ หรือสร่างเอกสารเป็นพิเศษ 
เชน่ งานสร้างตาราง การจัดแบง่ข้อความเป็นคอลัมน์ การตรวจสอบตัวสะกด 
การตรวจสอบไวยากรณ์การแทรกรูปภาพลงในเอกสาร การใช้งานร่วมกบัโปรแกรมอื่น 
ๆและความสามารถในการสร้างเว็บเพจ ดังนั้นโปรแกรมประมวลผลคา จึงถูกนามาใช้แทนการใช้เครื่องพิมพ์ดีด 
และสามารถใช้วานเสมือนโรงพิมพ์ตั้งโต๊ะ
16 
ความรู้เบื้องต้นเกยี่วกบัโปรแกรม Microsoft office word 2010 
เริ่มต้นการใช้งาน Microsoft office word 2010 
โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมจัดทา เอกสารที่มีความนิยมอยา่งมาก หลายหน่วยงาน หลายองค์กร 
ทั้งภาครัฐและเอกชนนิยมใช้โปรแกรมนี้ ในการจัดทา เอกสารหลายรูปแบบ เชน่ หนังสือ แผน่พับ แผน่ปลิว โปสเตอร์ 
เป็นต้น จะเรียกได้วา่ เป็นโปรแกรมพื้นฐานสาหรับสานักงานที่มีความจา เป็นที่บุคลากรขององค์กร 
หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ต้องมีความรู้ 
มทีักษะในการใช้โปรแกรมได้เป็นอยา่งดี จึงจะชว่ยให้การทา งานมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น 
การเริ่มต้นใช้งาน Microsoft Word เริ่มด้วยการเปิดโปรแกรม Microsoft Word ดังนี้ 
1.คลิกที่ Start > Programs > Microsoft Office > Microsoft Word 2010 
2. จะเปิดหน้าตา่งโปรแกรม Microsoft Word 2010 
การสร้างเอกสารใหม่ 
การเริ่มต้นสร้างงานเอกสาร เราต้องเปิดหรือสร้างเอกสารใหมไ่ด้ขึ้นมากอ่น โดยมีขั้นตอนดังนี้ 
1.ไปที่แฟ้ม >คลิกสร้าง 
2. เปิดหน้าตา่ง เลือกแมแ่บบที่มีอยู่>เอกสารเปลา่ >คลิกสร้าง จะได้เอกสารเปลา่เพื่อพร้อมที่จะพิมพ์งาน 
การเปิดเอกสารเก่าใช่งาน 
เมื่อเรามีเอกสารเกา่ หรือไฟล์งานเดิมที่บันทึกไวเ้รียบร้อยแล้ว ต้องการที่จะเปิดขึ้นมาใช้งาน หรือทา งานตอ่ 
มีวิธีการดังนี้ 
1.เปิดโปรแกรม Microsoft Word 2010 โดย คลิกที่ Start > Programs > Microsoft Office > Microsoft Word 2010
17 
2.เมอื่โปรแกรม word เปิดขึ้น คลิกที่แฟ้ม 
3.โปรแกรมจะเปิดหน้าตา่ง เปิด ให้เลือกวา่ไฟล์ word อยูที่่ไหน มองหาใน จะตั้งคา่ที่ MY Document เสมอ 
เราต้องรู้วา่ไฟล์ word ของเราชื่ออะไร เก็บไวใ้นไดร์ฟไหน โฟลเดอร์ไหน เลือกที่อยูใ่ห้ถูกและเลือกไฟล์ 
แล้วคลิกเปิด 
4.อีกวิธีการหนึ่ง คือ เปิดโปรแกรม word คลิกที่แฟ้ม >จะมองเห็นเอกสารลา่สุด ถ้ามีชื่อ เอกสารที่เราจะใช้งาน 
ก็คลิกเปิดได้เลย 
การบันทึกข้อมูล 
ในการทา งานโปรแกรม word เราควรจะคลิกปุ่มบันทึก บนแท็บ ไวเ้รื่อย ๆ เพื่อป้องกนังานสูญหาย เนื่องจาก 
ไฟดับ ปลั๊กหลุด หรือเครื่องแฮงค์ เป็นต้น 
การบันทึกงานครั้งแรก ให้ทา งานขั้นตอนดังนี้ 
1. คลิกที่ไอคอนบันทึก โปรแกรมจะเปิดหน้าตา่ง บันทึกเป็น 
2. ในชอ่งบันทึกใน ให้คลี่สามเหลี่ยมเล็ก ๆ ลงมาเพื่อเลือกบันทึกงานวา่เก็บไวที้่ใด ไดร์ฟไหน โฟลเดอร์ใด 
3. ในชอ่งชื่อแฟ้ม ให้ตั้งชื่อไฟล์ 
4. แล้วคลิกบันทึก 
นอกจากนี้ การบันทึกไฟล์งาน นอกจากจะคลิกที่ปุ่มบันทึก แล้วยังสามารถบันทึกได้โดย 
1. ไปที่แท็บ แฟ้ม>คลิกบันทึก 
2. โปรแกรมจะเปิดหน้าตา่ง เปิด ให้เลือกบันทึกใน ไดร์ฟหรือโฟลเดอร์ไหน และตั้งชื่อไฟล์กอ่นคลิกบันทึก 
เหมือนวิธีเดียวกบัคลิกบันทึกจากปุ่มบันทึก 
3. การบันทึกอีกรูปแบบหนึ่ง คือ บันทึกเป็น ใช้ในกรณีที่เราต้องการเปลี่ยนที่เก็บ หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์การแทรกข้อความ 
เมื่อเราพิมพ์งานหรือจัดหน้าเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว แตเ่ราต้องการจะเพิ่มเติมข้อมูลที่คิดวา่เป็นประโยชน์ 
เราสามารถทา ได้ ดังนี้ 
1.คลิกตั้งเคอร์เซอร์บริเวณที่จะเติมข้อความ 
2. สาหรับข้อความที่จะเติมเราสามารถพิมพ์เติมเข้าไปได้เลยหรือไป copy มาจากที่อื่นก็ได้ โดยป้ายเลือกบริเวณที่ต้องการ 
ให้เกิดแถบสี แล้วคลิกขวา >คัดลอก 
3. เมื่อคัดลอกมาแล้ว เราจะนามาวางตรงที่ตั้งเคอร์เซอร์ไว้ให้คลิกขวา >เลือกตัวเลือกการวาง 
4. การวางข้อความ/ภาพที่ copy มามีตัวเลือกการวางหลายลักษณะ ดังนี้ 
-ใชชุ่ดรูปแบบปลายทาง 
-รักษาการจัดรูปแบบตามต้นฉบับ
18 
-ผสานการจัดรูปแบบ 
-เก็บข้อความเทา่นั้น 
-รูปภาพ 
-วางแบบพิเศษ 
การวางแบบพิเศษ สามารถเลือกรูปแบบเอกสารที่จะวางได้ตามตัวเลือก เมอื่เลือกได้แล้วคลิกตกลง 
5. เมอื่เลือกลักษณะการวางได้ตามต้องการแล้ว ก็จะปรากฏข้อความที่ copy มา 
การเลื่อนไปส่วนตัวตา่ง ๆ ของเอกสาร 
การเลื่อนไปยังส่วนตา่ง ๆ ของเอกสาร ทา ได้หลายวิธีการ ดังนี้ 
1. เลื่อนขึ้น-ลง ไปยังส่วนตา่ง ๆ หรือหน้าตา่งของเอกสารโดยใช้ แถบเลื่อน (Scroll Bar) 
2. ใช้ลูกศรขึ้น และลูกศรลง ที่อยูด่้านข้างทางขวามือของหน้าจอ คลิกขึ้น-ลง เพื่อเลือกหน้าที่ต้องการ 
3. ใช้ลูกศรคลิกไปหน้ากอ่น และหน้าถัดไป 
4. คลิก วงกลมเพื่อเลือกลักษณะการเรียกดู ดังภาพ 
5. เลือกไปที่ ดังภาพ 
6. จะเปิดหน้าตา่ง ค้นหาและแทนที่ ให้กา หนดวา่ จะไปหน้าไหน ให้ใส่หมายเลขหน้าตามที่ต้องการ 
7. สมมติวา่ จะไปหน้า 1 ก็ใส่เลข 1 แล้วคลิกปุ่ม ไปที่
19 
การออกจากโปรแกรม 
เมื่อพิมพ์เอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราบันทึกงานเก็บตามขั้นตอนและต้องการจะออกจากโปรแกรม 
มีหลายวิธีการดังนี้ 
วิธีท1ี่ไปที่แท็บแฟ้ม เลือกจบการทา งาน โปรแกรมจะปิดตัวเอง ออกจากโปรแกรม Microsoft Word 
วิธีที่2 คลิกที่เครื่องหมายกากบาทสีแดง ที่มุมบนขวามือของหน้ากระดาษโปรแกรมจะปิดตัวเอง ออกจากโปรแกรม 
Microsoft Word 
คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพื่องานอาชีพ 
คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทที่สาคัญยิ่งต่อสังคมของมนุษย์เราในปัจจุบันแทบทุกวงการล้วนนา 
คอมพิวเตอร์เข้าไปเกี่ยวข้องกับการใช้งานจนกลา่วได้วา่คอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยที่สาคัญอยา่งยิ่งตอ่การ 
ดา เนินชีวิตและการทา งานในชีวิตประจา วนัฉะนั้นการเรียนรู้เพื่อทา ความรู้จักกบัคอมพิวเตอร์จึงถือเป็นสิ่งที่ 
มีความจา เป็นเป็นอยา่งยิ่งเพื่อที่จะทราบวา่คอมพิวเตอร์คืออะไรทา งานอยา่งไรและมีความสาคัญตอ่มนุษย์อยา่งไรเราจึงคว 
รทา การศึกษาในหัวข้อตอ่ไปนี้ 
ความหมายของคอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินวา่ Computareซึ่งหมายถึง การนับหรือ การคา นวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 
พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไวว้า่ "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมตัิทา หน้าที่เหมือนสมองกล 
ใช้สาหรับแกปั้ญหาตา่งๆที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์
20 
คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทา งานแทนมนุษย์ในด้านการคิดคา นวณและสามารถจา ข้ 
อมูลทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งตอ่ไป นอกจากนี้ยังสามารถจัดการกบัสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็ว 
สูงโดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านตา่งๆ อีกมาก 
อาทิเชน่การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ 
การรับส่งข้อมูลการจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลตา่งๆ ได้ 
การทางานของคอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์ไมว่า่จะเป็นประเภทใดก็ตามจะมีลักษณะการทา งานของส่วนตา่งๆที่มีความสัมพันธ์กนัเป็นกระบวนการ โด 
ยมีองค์ประกอบพื้นฐานหลักคือ Input Process และ output ซึ่งมีขั้นตอนการทา งานดังภาพ 
ขั้นตอนที่1 รับข้อมูลเข้า (Input) 
เริ่มต้นด้วยการนาข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถผา่นทางอุปกรณ์ชนิดตา่งๆ 
แล้วแตช่นิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เชน่ ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard)
21 
เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่องถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครื่องอา่นพิกดัภาพกราฟิค (Graphics Tablet) 
โดยมีปากกาชนิดพิเศษสาหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเลน่เกมก็จะมีกา้นควบคุม (Joystick) 
สาหรับเคลื่อนตา แหน่งของการเลน่บนจอภาพเป็นต้น 
ขั้นตอนที่ 2 ประมวลผลข้อมูล (Process) 
เมื่อนาข้อมูลเข้ามาแล้วเครื่องจะดา เนินการกับข้อมูลตามคา สั่งที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ 
ต้องการการประมวลผลอาจจะมีได้หลายอยา่งเชน่ นาข้อมูลมาหาผลรวม นาข้อมูลมาจัดกลุ่ม 
นาข้อมูลมาหาคา่มากที่สุด หรือน้อยที่สุด เป็นต้น 
ขั้นตอนที่ 3 แสดงผลลัพธ์ (Output) 
เป็นการนาผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ที่กา หนดไว้ โดยทั่วไปจะแสดงผา่นทางจอภาพ 
หรือเรียกกนัโดยทั่วไปวา่ "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้ 
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ 
1.หน่วยเก็บ(Storage)หมายถึงความสามารถในการเก็บข้อมูลจา นวนมากและเป็นเวลานานนับเป็น 
จุดเดน่ทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทา งานแบบอัตโนมตัิของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งเป็นตัวบง่ชี้ประสิทธิภาพของค 
อมพิวเตอร์แตล่ะเครื่องด้วย
22 
2.ความเร็ว(Speed)หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูล(ProcessingSpeed) 
โดยใช้เวลาน้อยเป็นจุดเดน่ทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุดเป็นตัวบง่ชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิ 
วเตอร์ที่สาคัญส่วนหนึ่งเชน่กนั 
3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) 
หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลา ดับขั้นตอนได้อยา่งถูกต้องและตอ่เนื่องอยา่งอัตโนมตัิโดยมนุษย์มีส่ 
วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการกา หนดโปรแกรมคา สั่งและข้อมูลกอ่นการประมวลผลเท่านั้น 
4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) 
หมายถึงความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้องความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทา งานของเค 
รื่องคอมพิวเตอร์ 
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 
จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเดน่หลายประการทา ให้ถูกนามาใช้ประโยชน์ตอ่การดา เนินชีวิตประจา วนัในสังคมเป็นอย่ 
างมาก ที่พบเห็นได้บอ่ยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารตา่งๆ เชน่ พิมพ์จดหมาย รายงานเอกสารตา่งๆ 
ซึ่งเรียกวา่งานประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านตา่งๆ 
อีกหลายด้านดังตอ่ไปนี้ 
1. งานธุรกิจ เชน่ บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้าตลอดจนโรงงานตา่งๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทา บัญชี 
งานประมวลคา และติดตอ่กับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม 
นอกจากนี้งานอุตสาหกรรมส่วนใหญก่็ใช้คอมพิวเตอร์มาชว่ยในการควบคุมการผลิตและการประกอบชิ้นส่วนของอุปกร 
ณ์ตา่งๆ เชน่ โรงงานประกอบรถยนต์ซึ่งทา ให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ
23 
หรืองานธนาคารที่ให้บริการถอนเงินผา่นตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงิน 
และการโอนเงินระหวา่งบัญชีเชื่อมโยงกนัเป็นระบบเครือขา่ย 
2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ 
และงานสาธารณสุขสามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ในส่วนของการคา นวณที่คอ่นข้างซับซ้อน 
เชน่งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียนการเงิน สถิติ 
และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ซึ่งจะให้ผลที่แมน่ยา กวา่การตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิมและให้การรักษาได้รว 
ดเร็วขึ้น 
3. งานคมนาคมและสื่อสารในส่วนที่เกยี่วกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวนัเวลา 
ที่นั่งซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ทา ให้สะดวกตอ่ผู้เดินทางที่ไมต่้องเสียเวลารอ 
อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจรเชน่ ไฟสัญญาณจราจร และ 
การจราจรทางอากาศหรือในการสื่อสารก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยูใ่นวงโคจรซึ่งจะชว่ยส่งผลตอ่การส่งสั 
ญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน 
4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ 
หรือจา ลองสภาวการณ์ ตา่งๆ เชน่ 
การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผน่ดินไหวโดยคอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงควา 
มจริงรวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความกา้วหน้าของโครงการตา่งๆ เชน่ คนงาน เครื่องมือผลการทา งาน 
5. งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุดโดยมีการใช้หลายรูปแบบ 
ทั้งนี้ขึ้นอยูก่บับทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ เชน่กระทรวงศึกษาธิการ 
มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผา่นคอมพิวเตอร์ , 
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดระบบเครือขา่ยอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันตา่งๆ , 
กรมสรรพากรใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น 
6. การศึกษา
24 
ได้แกก่ารใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอนซึ่งมีการนาคอมพิวเตอร์มาชว่ยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI 
หรืองานด้านทะเบียนซึ่งทา ให้สะดวกตอ่การค้นหาข้อมูลนักเรียนการเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด 
ลักษณะของคอมพิวเตอร์ 
เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเดน่ 4 ประการ เพื่อทดแทนข้อจา กดัของมนุษย์มีดังนี้ 
1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจา นวนมากและเป็นเวลานาน 
นับเป็นจุดเดน่ทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทา งานแบบอัตโนมตัิของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ทั้งเป็นตัวบง่ชี้ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย 
2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed)โดยใช้เวลาน้อย 
เป็นจุดเดน่ทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วน เกยี่วข้องน้อยที่สุด เป็นตัวบง่ชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สาคัญส่ 
วนหนึ่งเชน่กนั เชน่กนั 
3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง 
ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลา ดับขั้นตอนได้อยา่งถูกต้องและตอ่เนื่องอยา่งอัตโนมตัิ 
โดยมนุษย์มีส่วนเกยี่วข้องเฉพาะในขั้นตอนการกา หนดโปรแกรมคา สั่งและข้อมูลกอ่นการประมวลผลเท่านั้น 
4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง 
ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทา งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกบัโปรแกรมคา สั่งและข้อมูลที่มนุษย์กา หนดให้กบัเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง กลา่วคือ 
หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไมถู่กต้องให้กบัเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยอ่มได้ผลลัพธ์ที่ไมถู่กต้องด้วยเชน่กนั 
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ 
1.ความเป็นอัตโนมัติ ( Self Acting) คอมพิวเตอร์ประดิษฐ์ขึ้นด้วยอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ 
มีการจัดเก็บหรือแปลงข้อมูลให้อยูใ่นรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าเพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ 
การประมวลผลของคอมพิวเตอร์จะทา งานแบบอัตโนมตัิภายใต้คา สั่งที่ได้ถูกกา หนดไว้ 
การทา งานดังกลา่วจะเริ่มตั้งแตก่ารนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ 
การประมวลผลและแปลงผลลัพธ์ออกมาให้อยูใ่นรูปแบบที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ 
2.ความเร็ว ( Speed) คอมพิวเตอร์จะประมวลผลงานด้วยความเร็วสูง
25 
ตา่งจากการประมวลผลงานในอดีตที่อาศัยแรงงานของมนุษย์ซึ่งให้ผลลัพธ์ที่ลา่ช้ากวา่มาก งาน ๆ 
หนึ่งหากใช้แรงงานคนอาจเสียเวลาหลายวนัหรือหลายสัปดาห์ในการคิดและประมวลผล 
แตห่ากนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้อาจลดเวลาและให้ผลลัพธ์ได้เพียงไมก่นี่าที 
ความรวดเร็วในการประมวลผลดังกลา่วมีความจา เป็นอยา่งมากตอ่การดา เนินงานธุรกรรมในปัจจุบัน 
ผลลัพธ์ที่ได้จากการคา นวณด้วยคอมพิวเตอร์ 
ชว่ยให้ผู้บริหารนาเอาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือดา เนินงานได้อยา่งรวดเร็ว 
3.ความถูกต้อง แม่นยา ( Accuracy) คอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แมน่ยา และมีความผิดพลาดน้อยที่สุด 
การใช้แรงงานคนเพื่อประมวลผลเป็นเวลานาน อาจเกิดการผิดพลาดได้ เนื่องมาจากความออ่นล้า เชน่ ลงรายการผิด 
หรือบันทึกข้อมูลผิดประเภท ตรงกนัข้ามกบัคอมพิวเตอร์ที่สามารถทา งานได้อยา่งตอ่เนื่องและซ้า ๆ 
แบบเดิมได้เป็นอยา่งดี ทั้งนี้ขึ้นอยูก่บัการป้อนข้อมูลเข้าที่ถูกต้องด้วย 
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ไมส่ามารถทราบได้วา่ข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามานั้นเป็นอยา่งไร ผิดหรือถูก หากมีการป้อนข้อมูลผิด 
โปรแกรมหรือชุดคา สั่งอาจประมวลผลตามที่ได้รับข้อมูลมาเชน่นั้น 
ซึ่งความไมถู่กต้องดังกลา่วไมใ่ชเ่ป็นความผิดพลาดของคอมพิวเตอร์ หากเป็นความผิดพลาดของฝั่งผู้ใช้เอง เป็นต้น 
4.ความน่าเชื่อถือ ( Reliability) ข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ 
จะมีความน่าเชื่อถือและสามารถนาไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ ตอ่ไปได้ 
โดยเฉพาะในปัจจุบันมีฮาร์ดแวร์ที่ผลิตขึ้นด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใหม่ 
มีการคิดค้นและพัฒนาให้ดีกวา่ยุคสมยักอ่นที่มีการใช้เพียงแคห่ลอดสุญญากาศ 
การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจึงมีความผิดพลาดต่า มากหรือแทบไมเ่กิดขึ้นเลย 
นั่นคือการมีความน่าเชื่อถือสูงนั่นเอง 
5.การจัดเก็บข้อมูล ( Storage Capability) คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ 
ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความธรรมดาหลาย ๆ ล้านตัวอักษร เพลง ภาพถา่ย วิดีโอ หรือไฟล์ข้อมูลขนาดใหญจ่า นวนมาก 
โดยมีหน่วยเก็บข้อมูลเฉพาะเป็นของตนเอง ชว่ยให้การจัดเก็บและถา่ยเทข้อมูลเป็นไปได้โดยสะดวกมากยิ่งขึ้น 
ปัจจุบันมกัพบเห็นหน่วยเก็บข้อมูลที่จุข้อมูลได้มากขึ้นและมีราคาที่ถูกลงกวา่แตก่อ่นมาก 
6.ทา งานซ้า ๆ ได้ ( Repeatability) คอมพิวเตอร์สามารถทา งานซ้า ๆ กนัได้หลายรอบ 
ชว่ยลดปัญหาเรื่องความออ่นล้าจากการทา งานของแรงงานคน นอกจากนั้นยังลดความผิดพลาดตา่ง ๆ ได้ดีกวา่ด้วย 
ข้อมูลที่ประมวลผลแมจ้ะยุง่ยากหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตาม จะสามารถคา นวณและหาผลลัพธ์ได้อยา่งรวดเร็ว 
การคิดหาผลลัพธ์ของงานที่มีลักษณะซ้า ๆ แบบเดิม เชน่ การบันทึกรายการบัญชีประจา วนั การลงรายการสินค้าเข้า 
ออกในระบบสินค้าคงคลังที่เกิดขึ้นเป็นประจา จึงเหมาะอยา่งยิ่งตอ่การนาเอาคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน 
7.การติดต่อสื่อสาร ( Communication) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถเชื่อมโยงเข้าหากนัเป็นเครือขา่ยมากยิ่งขึ้น
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ

Contenu connexe

Tendances

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์wanuporn12345
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkat55
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมkaakvc
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานwanuporn12345
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานknokrat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง25580994969502
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการBuslike Year
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คNichakarnkvc
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ภาคิน ดวงคุณ
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คNichakarnkvc
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266karakas14
 
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างpranpreya258
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 

Tendances (17)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
223333
223333223333
223333
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
 
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง
 
333333333
333333333333333333
333333333
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 

En vedette

Chakresh Tiwari Philips report
Chakresh Tiwari Philips reportChakresh Tiwari Philips report
Chakresh Tiwari Philips reportpranav kapoor
 
Twitter 101 Part II: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid T...
Twitter 101 Part II: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid T...Twitter 101 Part II: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid T...
Twitter 101 Part II: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid T...Jody Krasner Gladstein
 
2013 guitsetgel
2013 guitsetgel2013 guitsetgel
2013 guitsetgelonly_olzii
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
Nima а осень 2015 спб v2
Nima а осень 2015 спб v2Nima а осень 2015 спб v2
Nima а осень 2015 спб v2Anastasia Engel
 
Pinterest 101: Or, How To Make Life More Pinteresting
Pinterest 101: Or, How To Make Life More PinterestingPinterest 101: Or, How To Make Life More Pinteresting
Pinterest 101: Or, How To Make Life More PinterestingJody Krasner Gladstein
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
личные стратегии олег лавров Int
личные стратегии олег лавров Intличные стратегии олег лавров Int
личные стратегии олег лавров IntAnastasia Engel
 
Twitter 101: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid To Ask
Twitter 101: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid To AskTwitter 101: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid To Ask
Twitter 101: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid To AskJody Krasner Gladstein
 
Drug prescriptions
Drug prescriptionsDrug prescriptions
Drug prescriptionsEstherbaah
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน karakas14
 
Matriх_Светлана Виноградова
Matriх_Светлана ВиноградоваMatriх_Светлана Виноградова
Matriх_Светлана ВиноградоваAnastasia Engel
 

En vedette (20)

Chakresh Tiwari Philips report
Chakresh Tiwari Philips reportChakresh Tiwari Philips report
Chakresh Tiwari Philips report
 
Twitter 101 Part II: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid T...
Twitter 101 Part II: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid T...Twitter 101 Part II: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid T...
Twitter 101 Part II: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid T...
 
2013 guitsetgel
2013 guitsetgel2013 guitsetgel
2013 guitsetgel
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
Anatomía del codo
Anatomía del codoAnatomía del codo
Anatomía del codo
 
Nima а осень 2015 спб v2
Nima а осень 2015 спб v2Nima а осень 2015 спб v2
Nima а осень 2015 спб v2
 
Pinterest 101: Or, How To Make Life More Pinteresting
Pinterest 101: Or, How To Make Life More PinterestingPinterest 101: Or, How To Make Life More Pinteresting
Pinterest 101: Or, How To Make Life More Pinteresting
 
Instagram 101
Instagram 101 Instagram 101
Instagram 101
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
Afm modified
Afm modifiedAfm modified
Afm modified
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
личные стратегии олег лавров Int
личные стратегии олег лавров Intличные стратегии олег лавров Int
личные стратегии олег лавров Int
 
Twitter 101: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid To Ask
Twitter 101: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid To AskTwitter 101: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid To Ask
Twitter 101: Everything You Always Wanted To Know * But Were Afraid To Ask
 
medee
medeemedee
medee
 
Drug prescriptions
Drug prescriptionsDrug prescriptions
Drug prescriptions
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
BRM Slideshow
BRM SlideshowBRM Slideshow
BRM Slideshow
 
Matriх_Светлана Виноградова
Matriх_Светлана ВиноградоваMatriх_Светлана Виноградова
Matriх_Светлана Виноградова
 

Similaire à โครงงาน ระบบปฏิบัติการ

โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas55
 
โครงงานเผยแพร่
โครงงานเผยแพร่โครงงานเผยแพร่
โครงงานเผยแพร่Teerapath Best
 
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างpranpreya258
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์oiw1234
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการBuslike Year
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการBuslike Year
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน karakas14
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ jamiezaa123
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นwiratchadaporn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 

Similaire à โครงงาน ระบบปฏิบัติการ (16)

โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานเผยแพร่
โครงงานเผยแพร่โครงงานเผยแพร่
โครงงานเผยแพร่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 

โครงงาน ระบบปฏิบัติการ

  • 1. 1 โครงงาน (Project Work) โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ เสนอ อาจารย์ ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ จัดทาโดย นางสาว การะเกษ สุระทด พณ.1/12 นางสาว ณัฐินันท์ โพธ์ิงาม พณ.1/12 นางสาว จุฑาพร สีอ่อน พณ.1/12 รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการเบื้องต้น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
  • 2. 2 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ ประเภทโครงงาน โครงงานเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ระดับชั้น ปวช.1 โดย นางสาว การะเกษ สุระทด นางสาว ณัฐินันท์ โพธิ์งาม นางสาวจุฑาพร สีอ่อน วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแกน่ ครูที่ปรึกษา คุณครูธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ ปีการศึกษา 2557 บทคัดยอ่ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ จัดทาขึ้นเพื่อจุดประสงค์1 เพื่อเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 2 เพื่อการศึกษาหาความรู้ทางด้านออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ การพัฒนาความก้าวของการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ การเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์
  • 3. 3 สารบัญ บทคัดยอ่ หน้า สารบัญ 3 บทที่1 บทนา 5 ที่มาและความสา คัญ 5 วัตถุประสงค์ 5 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 7 ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 7 โปรแกรมประมวลคา 12 ประเภทของโปรแกรมประมวลผลคา 12 ความสา คัญของโปรแกรมประมวลผลคา 13 ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคา 14 คุณสมบัติโดยทั่วไปของโปรแกรมประมวลคา 14 คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพื่องานอาชีพ 18 บทที่3 ขั้นตอนการดาเนินการ 32 ขั้นตอนการดาเนินการ 32 บทที่4 ผลการดาเนินงานโครงงาน 33-35 ผลการดาเนินงานโครงงาน 32=3-35 บทที่5 สรุปผลการดาเนินโครงงาน และข้อเสนอแนะ 36
  • 4. 4 สรุปผลการดาเนินงาน 36 ปัญหาและอุปสรรคที่พบ 36 ข้อเสนอแนะ 37 สรุปผลการปฏิบัติงาน 37 สิ่งที่ได้จากการปฏิบัติงาน 37 ปัญหาและอุปสรรคที่พบขณะปฏิบัติงาน 37
  • 5. 5 บทที่1 บทนา ที่มาและความสา คัญ ในยุคโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันนี้สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอยา่งรวดเร็ว ทางออนไลน์ ให้ความทันสมัยความก้าวหน้าในยุคออนไลน์ เพื่อให้ความรวดเร็วในการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เราจะค้นหา ในยุคโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันนีส้ถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ให้ ความสาคัญกับการรวมตัวกันในภูมิภาคเพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่าง ประเทศ อาเซียนจึงต้องปรับตัวให้เท่าทันสถานการณ์เพื่อให้สามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ เกิดขึน้ได้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงกาหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนขึน้มาที่ประกอบไปด้วย 3 เสา หลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน ภายในปี 2563 ซึ่งต่อมาได้เลื่อนกาหนดเวลาสาหรับการรวมตัวกันให้เร็วขึน้เป็นปี 2558 ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ ประชาคมอาเซียนที่ส่งผลต่อด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง วัฒนธรรม และ ความมั่นคง คณะผู้จัดทาเล็งเห็น ความสาคัญจึงสร้างโครงงานนีขึ้น้มา โดยการสร้างวีดีทัศน์เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนเพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนได้เข้าใจและเห็นความสาคัญของประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ขอบเขตของโครงงาน สร้างสอื่วีดีทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดีทัศน์ โปรแกรมMotion5 ใช้สร้าง Effect และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ใน การบันทึกเสียง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 2.เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้การศึกษาและความทันสมัยทางออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ ขอบเขตการศึกษา 1.ขอบเขตเรื่องเนื้อหา ระบบปฏิบัติการ ซึ่งประกอบไปด้วย ระบบปฏิบัติการ Operating System โปรแกรมประมวลผลคา คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพื่องานอาชีพ ผลที่คาดวา่จะได้รับ
  • 6. 6 1.ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ 2.ได้เอาเทคนิคการคิดเรื่องระบบปฏิบัติการนามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.ได้นาความรู้ความสามารถเรื่องระบบปฏิบัติการมาใช้ในชีวิตประจาวนั
  • 7. 7 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ มีเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1.ระบบปฏิบัติการ 2.ความหมายของระบบปฏิบัติการ 3.โปรแกรมประมวลผลคา 4.คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพื่องานอาชีพ ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรม (Software)ที่ทา หน้าที่ ควบคุมการทา งานของ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ตอ่พว่ง กบัเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทา หน้าที่ เป็น ตัวกลางในการติดตอ่กบัฮาร์ดแวร์ของเครื่องโดยตรงและโปรแกรมการใช้งานตา่ง ๆ ความหมายของระบบปฏิบัติการ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือ Operating System เรียกสั้น ๆ วา่ OS เป็นโปรแกรม ควบคุมการทา งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทา หน้าที่ควบคุมการทา งานตา่งๆ เชน่ การแสดงผล ข้อมูลการติดตอ่กบัผู้ใช้ โดยทา หน้าที่เป็นสื่อกลาง ระหวา่งผู้ใช้กบัเครื่องให้สามารถสื่อสารกนัได้ควบคุมและจัดสรรทรัพยากรให้กบัโปรแกรมตา่งๆโดยทั่วไประบบคอมพิว เตอร์แบง่เป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประประยุกต์ และผู้ใช้ ระบบปฏิบัติการ(OperatingSystem)ระบบต่างๆ การทา งานของคอมพิวเตอร์จะไมส่ามารถทา งานด้วยตัวเองได้ แตจ่ะต้องอาศัยโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทา งานซึ่งเรียกวา่“ซอฟต์แวร์” (Software) โดยทั่วไปซอฟต์แวร์จะแบง่เป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมสาเร็จรูป และโปรแกรมระบบปฏิบัติการซึ่งระบบปฏิบัติการนี้จะมีหน้าที่ ในการจัดการและควบคุมการทา งานและอุปกรณ์ตา่งๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เชน่ การจัดการเกยี่วกบัการแสดงผลบนจอภาพ รับข้อมูลทางแป้นพิมพ์หรือเมาส์ การจัดการเกยี่วกบัแฟ้มข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลลงแฟ้มการติดตั้งโปรแกรม นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการยังชว่ยสร้างส่วนติดตอ่
  • 8. 8 ระหวา่งผู้ใช้กบัคอมพิวเตอร์ (User interface) ให้ง่ายตอ่การใช้งาน ระบบปฏิบัติการมีอยูห่ลาย ระบบ ซึ่งมีการพัฒนาจากผู้ผลิตหลายบริษัท แตที่่สาคัญ ๆ มีดังนี้ 1.ระบบปฏิบัติการDOS(DiskOperatingSystem) ระบบ DOS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท IBM เพื่อให้เป็ระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องพีซี ซึ่งตัวโปรแกรมDOS จะถูก Load หรืออา่นจากแผน่ดิสก์เข้าไปเก็บไวใ้นหน่วยความจา กอ่น จากนั้น DOS จะไปทา หน้าที่เป็น ผู้ประสานงานตา่ง ๆระหวา่งผู้ใช้กบัอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหลายโดยอัตโนมตัิ โดยที่ DOS จะรับคา สั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้วนาไปปฏิบัติตามโดยการทา งานจะเป็นแบบ Text mode สั่งงานโดยการกดคา สั่งเข้าไปที่ซีพร็อม (C:>)ดังนั้น ผู้ใช้ระบบนี้จึงต้องจา คา สั่งตา่ง ๆในการใช้งานจึงจะสามารถใช้งานได้ ระบบปฏิบัติการ DOS ถือได้วา่เป็นระบบปฏิบัติการที่เกา่แก่ และปัจจุบันนี้มีการใช้งานน้อยมาก 2.ระบบปฏิบัติการ(MicrosoftWindows) Windowsเป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft ซึ่งจะมีส่วนติดตอ่กบั ผู้ใช้ (User interface) เป็นแบบกราฟิกหรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทนคา สั่ง เรียกวา่ GUI (Graphic User Interface) โดยสามารถสั่งให้เครื่องทา งานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คา สั่งที่ต้องการ ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกวา่ 1 โปรแกรมในขณะเดียวกนัซึ่งถ้าเป็นระบบ DOS หากต้องการเปลี่ยนไปทา งานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก โปรแกรมเดิมกอ่นจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ในลักษณะการทา งานของ Windows จะมีส่วนที่เรียกวา่ “หน้าตา่ง” โดยแตล่ะโปรแกรมจะถือเป็นหน้าตา่งหนึ่งหน้าตา่ง ผู้ใช้สามารถ สลับไปมาระหวา่งแตล่ะหน้าตา่งได้ นอกจากนี้ระบบ Windows ยังให้โปรแกรมตา่ง ๆ สามารถแชร์ข้อมูลระหวา่งกนัได้ผา่นทางคลิปบอ์ด (Clipboard) ระบบ Windows ทา ให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถทา ความเข้าใจ เรียนรู้และใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น 3.ระบบปฏิบัติการ(Unix) Unixเป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้บนเครื่อง SUN ของบริษัท SUN Microsystems แตไ่มไ่ด้เป็นคูแ่ขง่กบับริษัท Microsoft ในเรื่องของระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PCแตอ่ยา่งใด แตU่nix เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไมต่้อง ผูกติดกบัระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกนั นอกจากนี้ Unix ยังถูกออกแบบมาเพื่อ ตอบสนองการใช้งานในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกนั เรียกวา่ ระบบหลายผู้ใช้ (Multiuser system) และสามารถทา งานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกนั ในลักษณะที่เรียกวา่ ระบบหลายภารกิจ (Multitasking system) 4.ระบบปฏิบัติการ(Linux) Linuxเป็นระบบปฏิบัติการเชน่เดียวกบั DOS, Windows หรือ Unix โดยLinuxนั้นจัด วา่เป็นระบบปฏิบัติการ Unix ประเภทหนึ่งการที่Linuxเป็นที่กลา่วขานกนัมากในชว่งปี 1999 – 2000 เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติ การและโปรแกรมประยุกต์ที่ทา งานบนระบบ Linux โดยเฉพาะอยา่งยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU’s Not
  • 9. 9 UNIX) และสิ่งที่สาคัญที่สุดก็ คือระบบ Linux เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free ware) คือไมเ่สียคา่ใช้จา่ยในการซื้อ โปรแกรม Linux นั้นมี นักพัฒนาโปรแกรมจากทั่วโลกชว่ยกนัแกไ้ข ทา ให้การขยายตัวของ Linux เป็นไปอยา่งรวดเร็ว โดยในส่วนของใจกลางระบบปฏิบัติการหรือ Kernel นั้นจะมีการพัฒนาเป็น รุ่นที่ 2.2 (Linux Kernel 2.2) ซึ่งได้เพิ่มขีดความสามารถและสนับสนุนการทา งานแบบหลายซีพียู หรือ SMP (Symmetrical Multi Processors) ซึ่งทา ให้ระบบLinux สามารถนาไปใช้สาหรับทา งาน เป็น Saverขนาดใหญไ่ด้ระบบ Linux ตั้งแตรุ่่น 4 นั้น สามารถทา งานได้บนซีพียูทั้ง 3 ตระกูล คือ บนซีพียูของ อินเทล (PC Intel) ดิจิทัลอัลฟาคอมพิวเตอร์ (Digital Alpha Computer และซันสปาร์ค (SUN SPARC) เนื่องจากใช้เทคโนโลยีที่เรียกวา่ RPM (Red Hat Package Management) ถึงแมว้า่ขณะนี้ Linux ยังไมส่ามารถแทนที่ Microsoft Windows บนพีซีหรือ Mac OS ได้ทั้งหมดก็ตาม แตก่็มีผู้ใช้ จา นวนไมน่้อยที่สนใจมาใช้และชว่ยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บน Linux และเรื่องของการดูแลระบบ Linux นั้น ก็มีเครื่องมือชว่ยสาหรับดา เนินการให้สะดวกยิ่งขึ้น องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ทำ งำนอยำ่งเป็นระบบ (System) หมำยถึงภำยในระบบงำนคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบยอ่ยที่มีหน้ำที่เฉพำะ ทำ งำนประสำนสัมพันธ์กนั เพื่อให้งำนบรรลุตำมเป้ำหมำย ในระบบงำนคอมพิวเตอร์ กำรที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอยำ่งเดียว จะยังไมส่ำมำรถทำ งำนได้ด้วยตัวเอง ซึ่งหำกจะให้คอมพิวเตอร์ทำ งำนได้อยำ่งเป็นระบบและมีประสิทธิภำพแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบคือ บุคลำกร (Peopleware) ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ข้อมูล(Data) 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ฮำร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สำมำรถจับต้องได้ ได้แก่วงจรไฟฟ้ำ ตัวเครื่อง จอภำพ เครื่องพิมพ์ คีย์บอร์ด เป็นต้นซึ่งสำมำรถแบง่ส่วนพื้นฐำนของฮำร์ดแวร์เป็น 4 หน่วยสำคัญ 1.1 หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต ( Input Unit)ทำ หน้ำที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้ำ ได้แก่คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ เมำส์ เครื่องสแกน เป็นต้น 1.2 ระบบประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit)ทำ หน้ำที่ในกำรทำ งำนตำมคำ สั่งที่ปรำกฏอยูใ่นโปรแกรม ปัจจุบันซีพียูของเครื่องพีซี รู้จักในนำมไมโครโปรเซสเซอร์ ( Micro Processor) หรือ Chip เชน่บริษัท Intel คือ Pentium หรือ Celelon ส่วนของบริษัท AMD คือ K6,K7(Athlon) เป็นต้น ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้ำที่ในกำรประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของกำรคำ นวณและเปรียบเทียบ โดยจะทำ งำนตำมจังหวะเวลำที่แน่นอน เรียกวำ่สัญญำณ Clock เมื่อมีกำรเคำะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เรำเรียกหน่วย ที่ใช้ในกำรวดัควำมเร็วของซีพียูวำ่ “เฮิร์ท”(Herzt) หมำยถึงกำรทำ งำนได้กี่ครั้งในจำ นวน 1 วินำที เชน่ ซีพียู Pentium4 มีควำมเร็ว 2.5 GHz หมำยถึงทำ งำนเร็ว 2,500 ล้ำนครั้ง ในหนึ่งวินำที กรณีที่สัญญำณ Clock เร็วก็จะทำ ให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้น มีควำมเร็วสูง และ ซีพียูที่ทำ งำนเร็วมำก รำคำก็จะแพงขึ้นมำกตำมไปด้วย 1.3 หน่วยเก็บข้อมูล ( Storage )ซึ่งสำมำรถแยกตำมหน้ำที่ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1.3.1 หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือควำมจำ หลัก ( Primary Storage หรือ Main Memory ) ทำ หน้ำที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมำจำกหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลำงทำ กำรประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลเพื่อส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลตอ่ไปซึ่งอำจแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ RAM
  • 10. 10 ( Random Access Memory ) ที่สำมำรถอำ่นและเขียนข้อมูลได้ในขณะที่เปิดเครื่องอยู่แตเ่มอื่ปิดเครื่องข้อมูลใน RAM จะหำยไป และ ROM ( Read Only Memory ) จะอำ่นได้อยำ่งเดียว เชน่ BIOS (Basic Input Output system) โปรแกรมฝังไวใ้ช้ตอนสตำร์ตเครื่อง เพื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มต้นทำ งำน เป็นต้น 1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ( SecondaryStorage ) เป็นหน่วยที่ทำ หน้ำที่เก็บข้อมูล หรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้ำสู่หน่วยควำมจำ หลักภำยในเครื่องกอ่นทำ กำรประมวลผลโดยซีพียู รวมทั้งเป็นที่เก็บผลลัพธ์จำกกำรประมวลผลด้วย ปัจจุบันรู้จักในนำมฮำร์ดดิสก์ (Hard disk) หรือแผน่ฟร็อปปีดิสก์ (Floppy Disk) ซึ่งเมอื่ปิดเครื่องข้อมูลจะยังคงเก็บอยู่ 1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต ( Output Unit )ทำ หน้ำที่ในกำรแสดงผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผล ได้แก่จอภำพ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น ทั้ง 4 ส่วนจะเชื่อมตอ่กนัด้วยบัส ( Bus ) 2 ซอฟต์แวร์ ( Software ) ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำ สั่ง ที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ทำ งำน รวมไปถึงกำรควบคุมกำรทำ งำน ของอุปกรณ์แวดล้อมตำ่งๆ เชน่ ฮำร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม กำร์ดอินเตอร์เฟสตำ่ง ๆ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ เป็นสิ่งที่มองไมเ่ห็นจับต้องไมไ่ด้ แตรั่บรู้กำรทำ งำนของมนัได้ ซึ่งตำ่งกบั ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ที่สำมำรถจับต้องได้ซึ่งแบง่เป็น 2 ประเภทคือ 2.1ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software )คือโปรแกรม ที่ใช้ในกำรควบคุมระบบกำร ทำ งำนของ เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เชน่ กำรบูดเครื่อง กำรสำเนำข้อมูล กำรจัดกำรระบบของดิสก์ ชุดคำ สั่งที่เขียนเป็นคำ สั่งสำเร็จรูปโดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีมำพร้อมแล้วจำกโรงงำนผลิต กำรทำ งำนหรือกำรประมวลผล ของซอฟต์แวร์เหลำ่นี้ ขึ้นกบัเครื่องคอมพิวเตอร์แตล่ะเครื่อง ระบบของซอฟต์แวร์เหลำ่นี้ ออกแบบมำเพื่อกำรปฏิบัติควบคุม และมีควำมสำมำรถในกำรยืดหยุน่ กำรประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบง่ออกเป็น 4 ประเภทคือ 2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร (Operating System) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดตอ่กบัอุปกรณ์ตำ่ง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะกำรจัดกำรระบบของดิสก์ กำรบริหำรหน่วยควำมจำ ของระบบ กลำ่วโดยสรุปคือ หำกจะทำ งำนใดงำนหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ในกำรทำ งำน แล้วจะต้องติดตอ่กบัซอฟต์แวร์ระบบกอ่น ถ้ำขำดซอฟต์แวร์ชนิดนี้ จะทำ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไมส่ำมำรถทำ งำนได้ ตัวอยำ่งของซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร UnixLinux DOS และWindows (เวอร์ชันตำ่ง ๆ เชน่ 95 98 me 2000 NT XP Vista ) เป็นต้น 2.1.2 ตัวแปลภำษำ (Translator) จำก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจำกภำษำที่มนุษย์เข้ำใจ ให้เป็นภำษำที่เครื่องเข้ำใจ เปรียบเสมือนลำ่มแปลภำษำ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรแปลภำษำระดับสูง ซึ่ง เป็นภำษำใกล้เคียงภำษำมนุษย์ ให้เป็นภำษำเครื่องกอ่นที่จะนำไปประมวลผล ตัวแปลภำษำแบง่ออกเป็นสองประเภทคือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปลคำ สั่งในโปรแกรมทั้งหมดกอ่น แล้วทำ กำรลิ้ง (Link) เพื่อให้ได้คำ สั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำใจ ส่วนอินเตอร์พีทเตอร์จะแปลทีละประโยคคำ สั่ง แล้วทำ งำนตำมประโยคคำ สั่งนั้น กำรจะเลือกใช้ตัวแปลภำษำแบบใดนั้น จะขึ้นอยูก่บัภำษำที่ใช้ในกำรเขียนโปรแกรม ซึ่งมี 2 แบบได้แก่ภำษำแบบโครงสร้ำง เชน่ ภำษำเบสิก (Basic) ภำษำปำสคำล (Pascal) ภำษำซี (C) ภำษำจำวำ(Java)ภำษำโคบอล (Cobol) ภำษำ SQL ภำษำ HTML เป็นต้นภำษำแบบเชิงวตัถุ ( Visual หรือ Object Oriented Programming ) เชน่ Visual Basic,Visual C หรือ Delphi เป็นต้น 2.1.3 ยูติลิตี้ โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริมชว่ยให้เครื่องทำ งำนมีประสิทธิภำพ มำกขึ้น เชน่ ชว่ยในกำรตรวจสอบดิสก์ ชว่ยในกำรจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ชว่ยสำเนำข้อมูล ชว่ยซอ่มอำกำรชำ รุดของดิสก์ ชว่ยค้นหำและกำ จัดไวรัส ฯลฯ เป็นต้นโปรแกรมในกลุม่นี้ได้แก่โปรแกรม Norton Winzip Scan virus Sidekick Scandisk Screen Saverเป็นต้น
  • 11. 11 2.1.4ติดตั้งและปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรติดตั้งระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สำมำรถติดตอ่และใช้งำนอุปกรณ์ตำ่ง ๆ ที่นำมำติดตั้งระบบ ได้แก่โปรแกรม Setupและ Driver ตำ่ง ๆ เชน่ โปรแกรม Setup Microsoft Office โปรแกรม Driver Sound , Driver Printer , Driver Scanner เป็นต้น 2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำ งำนตำ่งๆ ตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร ไมว่ำ่จะด้ำนเอกสำร บัญชี กำรจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำมำรถจำ แนก ได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน (Special Purpose Software) คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อกำรทำ งำนเฉพำะอยำ่งที่เรำต้องกำร บำงที่เรียกวำ่ User’s Program เชน่ โปรแกรมกำรทำ บัญชีจำ่ยเงินเดือน โปรแกรมระบบเชำ่ซื้อ โปรแกรมกำรทำ สินค้ำคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแตล่ะโปรแกรมก็มกัจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกตำ่งกนัออกไปตำมควำมต้องกำร หรือกฏเกณฑ์ของแตล่ะหน่วยงำนที่ใช้ ซึ่งสำมำรถดัดแปลงแกไ้ขเพิ่มเติม (Modifications) ในบำงส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกบัควำมต้องกำรของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญม่กัใช้ภำษำระดับสูงเป็นตัวพัฒนำ 2.2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป (General Purpose Software) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำ ไว้ เพื่อใช้ในกำรทำ งำนประเภทตำ่งๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สำมำรถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กบัข้อมูลของตนได้ แตจ่ะไมส่ำมำรถทำ กำรดัดแปลง หรือแกไ้ขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไมจ่ำ เป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นกำรประหยัดเวลำ แรงงำน และคำ่ใช้จำ่ยในกำรเขียนโปรแกรม นอกจำกนี้ ยังไมต่้องเวลำมำกในกำรฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มกัจะมีกำรใช้งำนในหน่วยงำน ซึ่งขำดบุคลำกรที่มีควำมชำ นำญเป็นพิเศษในกำรเขียนโปรแกรม ดังนั้น กำรใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำ นวยควำมสะดวกและเป็นประโยชน์อยำ่งยิ่ง ตัวอยำ่งโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ตำ่งๆ เป็นต้น 3 บุคลากร ( Peopleware ) บุคลำกรจะเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นตัวกำ หนดถึงประสิทธิภำพถึงควำมสำเร็จและควำมคุ้มคำ่ในกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์ ซึ่งสำมำรถแบง่บุคลำกรตำมหน้ำที่เกี่ยวข้องตำมลักษณะงำนได้ 6 ด้ำน ดังนี้ 3.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : SA )ทำ หน้ำที่ศึกษำและรวบรวมควำมต้องกำรของผู้ใช้ระบบ และทำ หน้ำที่เป็นสื่อกลำงระหวำ่งผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือปรับปรุงคุณภำพงำนเดิม นักวิเครำะห์ระบบต้องมีควำมรู้เกยี่วกบัระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรม และควรจะเป็นผู้มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 3.2 โปรแกรมเมอร์ ( Programmer )คือบุคคลที่ทำ หน้ำที่เขียนซอฟต์แวร์ตำ่งๆ(Software )หรือเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงำนให้เครื่องคอมพิวเตอ ร์ทำ งำนตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ โดยเขียนตำมแผนผังที่นักวิเครำะห์ระบบได้เขียนไว้ 3.3 ผู้ใช้ ( User )เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกำ หนดควำมต้องกำรในกำรใช้ระบบคอมพิวเตอร์วำ่ทำ งำนอะไรได้บ้ำงผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ทั่วไป จะต้องเรียนรู้วิธีกำรใช้เครื่อง และวิธีกำรใช้งำนโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยูส่ำมำรถทำ งำนได้ตำมที่ต้องกำร 3.4 ผู้ปฏิบัติการ (Operator )สำหรับระบบขนำดใหญ่ เชน่ เมนเฟรม จะต้องมีเจ้ำหน้ำที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิดและเปิดเครื่อง และเฝ้ำดูจอภำพเมอื่มีปัญหำซึ่งอำจเกิดขัดข้อง จะต้องแจ้ง System Programmer ซึ่งเป็นผู้ดูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคุมเครื่อง (System Software) อีกทีหนึ่ง
  • 12. 12 3.5 ผู้บริหารฐานข้อมูล ( Database Administrator : DBA )กลุม่บุคคลที่ทำ หน้ำที่ดูแลข้อมูลผำ่นระบบจัดกำรฐำนข้อมูล ซึ่งจะควบคุมให้กำรทำ งำนเป็นไปอยำ่งรำบรื่น นอกจำกนี้ยังทำ หน้ำที่กำ หนดสิทธิกำรใช้งำนข้อมูล กำ หนดในเรื่องควำมปลอดภัยของกำรใช้งำน พร้อมทั้งดูแลดำต้ำเบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) ให้ทำ งำนอยำ่งปกติด้วย 3.6 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วำงนโยบำยกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตำมเป้ำหมำยของหน่วยงำน เป็นผู้ที่มีควำมหมำยตอ่ควำมสำเร็จหรือล้มเหลวของกำรนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้งำนเป็นอยำ่งมำก 4. ข้อมูล ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ ตา่งๆ ทา ความหมายแทนสิ่งเหลา่นั้น ข้อมูล คือคา่ของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ที่อยูใ่นความควบคุมของกลุม่ของสิ่งตา่ง ๆ ข้อมูลในเรื่องการคอมพิวเตอร์ (หรือการประมวลผลข้อมูล) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอยา่งหนึ่ง ซึ่งมกัจะเป็นโครงสร้างตาราง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างต้นไม้(กลุม่ของจุดตอ่ที่มีความสัมพันธ์แบบพอ่ลูก) หรือโครงสร้างกราฟ (กลุม่ของจุดตอ่ที่เชื่อมระหวา่งกนั) ข้อมูลโดยปกติเป็นผลจากการวดัและสามารถทา ให้เห็นได้โดยใช้กราฟหรือรูปภาพ ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหนึ่ง อาจมองได้วา่เป็นระดับต่า ที่สุดของภาวะนามธรรมที่สืบทอดเป็นสารสนเทศและความรู้ ข้อมูลดิบ หรือ ข้อมูลที่ยังไม่ประมวลผล เป็นศัพท์อีกคา หนึ่งที่เกยี่วข้อง หมายถึงการรวบรวมจา นวนและอักขระตา่ง ๆ ซึ่งมกัจะเกิดขึ้นตามปกติในการประมวลผลข้อมูลเป็นระยะ และ ข้อมูลที่ประมวลผลแล้ว จากระยะหนึ่งอาจถือวา่เป็น ข้อมูลดิบ ของระยะถัดไปก็ได้ ข้อมูลสนามหมายถึงข้อมูลดิบที่รวบรวมมาจากสภาพแวดล้อม ณ แหลง่กา เนิด ที่ไมอ่ยูใ่นการควบคุม ข้อมูลเชิงทดลองหมายถึงข้อมูลที่สร้างขึ้นภายในสภาพแวดล้อมของการค้นควา้ทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตและการบั นทึก โปรแกรมประมวลคา โปรแกรมประมวลคา หรือระบบจัดเตรียมเอกสาร(Document Preparation System) เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประยุกต์ ใช้ในการผลิตเอกสารที่พิมพ์ออกมา ได้ ซึ้งรวมถึงกระบานการเขียน แกไ้ข จักรูปแบบ และพิมพ์ การประมวลคา ในการทา งานยุคแรกของคอมพิวเตอร์สานักงานโปรแกรมประมวลคา เชิงพาณิชย์ที่เป็นที่นิยมได้แก่ ไมโครซอฟท์ เวิร์ด เวิร์ดเพอร์เฟกต์ โปรแกรมโอเพนซอสร์ส เชน่ โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก ไรเตอร์และเคเวิร์ด และโปรแกรมประมวลคา เชน่ โปรแกรมประมวลคา ออนไลน์ เชน่ กูเกิลดอกส์
  • 13. 13 ประเภทของโปรแกรมประมวลผลคา โปรแกรมประมวลผลคาแบง่เป็น 2 ประเภท คือ 1. เวิร์ดโพรเซสเซอร์ (Word Processor) เป็นโปรแกรมประมวลผลคา ที่ทา งานด้านการพิมพ์เอกสารการสร้างตาราง การจัดหน้าเอกสาร การจัดคอลัมน์ การจัดรูแบบอักษร (Font) สามารถใส่ภาพกราฟิก (Graphic) หรือแผนภุมิลงในเอกสาร โปรแกรมที่นิยมใช้ได้แก่โปรแกรมไมโคซอฟต์เวิร์ด(Microsoft Word) 2. เท็กซ์อิดิเตอร์ (TextEditor) เป็นโปรแกรมประมวลผลคา ขนาดเล็กใช้สาหรับการพิมพ์และแกไ้ขเอกสารคาสั่งตา่งๆซึ่งมีรูปแบบการใช้งา น เชน่ลักษณะตัวหนา (Bold) ตัวเอียง (Italic) ขนาดตัวอักษรไมม่ากเหมือนกับเวิร์ดโพรเซสเซอร์แต่สามารถพิมพ์ข้อความในเอกสารเก็บบันทึกสั่งพิมพ์ออกทางเ ครื่องพิมพ์ได้เท็กซ์อิดิเตอร์ที่นิยมใช้ ได้แก่โปรแกรม WordPad โปรแกรม Notepad ความสาคัญของโปรแกรมประมวลผลคา ปัจจุบันสานักงานทั้งภาครัฐและเอกชนได้มีการนาโปรแกรมประมวลผลคา มาใช้ในการพิมพ์เอกสารและรายงานตา่งๆแท นเครื่องพิมพ์ดีดมากขึ้นทั้งนี้เนื่องจากความกา้วหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอยา่งยิ่งการพัฒนาความสามารถของตัวประมวลผลหรือโพเซสเซอร์(Processor) แลประสิทธิภาพการเก็บข้อมูล ของหน่วยเก็บข้อมูลสารองตา่งๆ เชน่ ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์เกตต์ ที่มีรวมถึงการผลิตเครื่องพิมพ์
  • 14. 14 (Printer)ความเร็วสูงประกอบกบัราคาเครื่องคอมพิวเตอร์มีราคาถูกลงแตมี่ประสิทธิภาพสูงขึ้นทา ให้สานักงานตา่งๆหันมา ใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาชว่ยในการประมวลข้อมูล ซึ่งสามารถจัดทา เอกสาร บทความ ตลอดจนรายงานได้อยา่งรวดเร็วโดยสามารถจัดข้อความและเลือกแบบอักษร แกไ้ข เพิ่มเติม ปรับปรุง แทรกข้อความรวมข้อความหรือเอกสารจัดขอบกระดาษและตรวจดูเอกสารกอ่นที่จะพิมพ์เอกสารจริงออกมานอกจากนี้ยัง สามารถบันทึกเอกสารต่างๆ ตลอดจนเรียกใช้งานแฟ้มข้อมูลที่ได้เก็บบันทึกไว้ขึ้นมาใช้งานในภายหลังได้ ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคา 1. ชว่ยให้การจัดเก็บและค้นหาเอกสารมีความรวดเร็วมากขึ้นเพราะงานเอกสารตา่งๆ จะถูกจัดเก็บเป็นแฟ้มข้อมูลลงในสื่อบันทึกข้อมูลตา่งๆสามารถค้นหาและเรียกใช้งานได้สะดวกและรวดเร็ว 2. ชว่ยลดปริมาณกระดาษที่จัดเก็บทา ให้ประหยัดพื้นที่ในการเก็บเอกสารเพราะเอกสารจะถูกจัดเก็บอยูใ่นสื่อบันทึกข้อมูล
  • 15. 15 ตา่งๆที่มีขนาดเล็กแตมี่ความจุในการเก็บข้อมูลได้เป็นจา นวนมาก 3.ชว่ยลดขั้นตอนในการจัดทา เอกสาร เชน่ถ้าต้องการส่งจดหมายที่มีข้อความเหมือนกนัไปให้ผู้รับจดหมายเป็นจา นวนมากอาจทา ได้โดยการจัดทา จดหมายเวียน ซึ่งมีขั้นตอนการทา ที่สะดวกและรวดเร็ว ซึ่งถ้าหากใช้เครื่องพิมพ์ดีดก็อาจจะต้องเสียเวลาในการจัดทา มาก 4. ชว่ยประหยัดเวลาและคา่ใช้จา่ยในการจัดพิมพ์เอกสาร 5. ชว่ยสร้างเอกสารให้มีความสวยงาม ทั้งนี้เพราะผู้ใช้สามารถนารูปภาพรูปวาด ภาพกราฟิกตา่ง ๆ มาแทรกลงในเอกสารได้โดยตรง 6. ชว่ยให้การทา งานกบัเอกสารถูกต้องและมีข้อผิดพลาดลดน้อยลง เพราะผู้ใช้งานสามารถตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารได้โดยตรงบนหน้าจอจนพอใจจึงจะสั่งพิมพ์เอกสารออกทางเค รื่องพิมพ์ได้ หรือาจใช้ระบบการตรวจสอบคา ผิดแบบอัตโนมตัิ ในการตรวจสอบการสะกดคา หรือไวยากรณ์ของภาษาได้ คุณสมบัติโดยทั่วไปของโปรแกรมประมวลคา อีกทั้งกา หนดขนาดและรูปแบบตัวอักษรได้หลายแบบและยังมีชุดตัวอักษรให้เลือกหลายรูปแบบเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเลือก ใช้ได้ตามความพอใจและตามความเหมาะสมของเอกสารส่วนการจัดหน้าเอกสารนั้นโปรแกรมประมวลผลคา สามารถคว บคุมการจัดวางหน้าใหมโ่ดยอัตโนมตัิทุกครั้งที่มีการแกไ้ขเอกสาร เชน่ การกา หนดให้ข้อความในบรรทัดเริ่มที่เส้นขอบซ้ายตรงกนัหรือกา หนดให้ข้อความอยู่ตรงกลางของบรรทัด เป็นต้น เครื่องมือชว่ยในการทา จดหมายเวียนและจา่หน้าซองจดหมาย เครื่องมือนี้จะชว่ยสร้างจดหมายหลักไวห้นึ่งฉบับพร้อมทั้ง กา หนดตา แหน่งที่จะเปลี่ยนแปลงข้อมูลและสร้างแฟ้มข้อมูลสาหรับบันทึกชื่อและที่อยูข่องผู้รับไวเ้มื่อสั่งพิมพ์จดหมายเวีย นนั้นหรือจา่หน้าซองจดหมายโปรแกรมจะนาข้อมูลมาใส่ในตา แหน่ง ที่กา หนดไวใ้ห้อยา่งอัตโนมตัิจนครบทุกคนในปัจจุ บันโปรแกรมประมวลผลคา มีการพัฒนาไปอยา่งมาก คือ มีเครื่องมือตา่ง ๆ ที่ช่วยในการพิมพ์ หรือสร่างเอกสารเป็นพิเศษ เชน่ งานสร้างตาราง การจัดแบง่ข้อความเป็นคอลัมน์ การตรวจสอบตัวสะกด การตรวจสอบไวยากรณ์การแทรกรูปภาพลงในเอกสาร การใช้งานร่วมกบัโปรแกรมอื่น ๆและความสามารถในการสร้างเว็บเพจ ดังนั้นโปรแกรมประมวลผลคา จึงถูกนามาใช้แทนการใช้เครื่องพิมพ์ดีด และสามารถใช้วานเสมือนโรงพิมพ์ตั้งโต๊ะ
  • 16. 16 ความรู้เบื้องต้นเกยี่วกบัโปรแกรม Microsoft office word 2010 เริ่มต้นการใช้งาน Microsoft office word 2010 โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมจัดทา เอกสารที่มีความนิยมอยา่งมาก หลายหน่วยงาน หลายองค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชนนิยมใช้โปรแกรมนี้ ในการจัดทา เอกสารหลายรูปแบบ เชน่ หนังสือ แผน่พับ แผน่ปลิว โปสเตอร์ เป็นต้น จะเรียกได้วา่ เป็นโปรแกรมพื้นฐานสาหรับสานักงานที่มีความจา เป็นที่บุคลากรขององค์กร หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ต้องมีความรู้ มทีักษะในการใช้โปรแกรมได้เป็นอยา่งดี จึงจะชว่ยให้การทา งานมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น การเริ่มต้นใช้งาน Microsoft Word เริ่มด้วยการเปิดโปรแกรม Microsoft Word ดังนี้ 1.คลิกที่ Start > Programs > Microsoft Office > Microsoft Word 2010 2. จะเปิดหน้าตา่งโปรแกรม Microsoft Word 2010 การสร้างเอกสารใหม่ การเริ่มต้นสร้างงานเอกสาร เราต้องเปิดหรือสร้างเอกสารใหมไ่ด้ขึ้นมากอ่น โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1.ไปที่แฟ้ม >คลิกสร้าง 2. เปิดหน้าตา่ง เลือกแมแ่บบที่มีอยู่>เอกสารเปลา่ >คลิกสร้าง จะได้เอกสารเปลา่เพื่อพร้อมที่จะพิมพ์งาน การเปิดเอกสารเก่าใช่งาน เมื่อเรามีเอกสารเกา่ หรือไฟล์งานเดิมที่บันทึกไวเ้รียบร้อยแล้ว ต้องการที่จะเปิดขึ้นมาใช้งาน หรือทา งานตอ่ มีวิธีการดังนี้ 1.เปิดโปรแกรม Microsoft Word 2010 โดย คลิกที่ Start > Programs > Microsoft Office > Microsoft Word 2010
  • 17. 17 2.เมอื่โปรแกรม word เปิดขึ้น คลิกที่แฟ้ม 3.โปรแกรมจะเปิดหน้าตา่ง เปิด ให้เลือกวา่ไฟล์ word อยูที่่ไหน มองหาใน จะตั้งคา่ที่ MY Document เสมอ เราต้องรู้วา่ไฟล์ word ของเราชื่ออะไร เก็บไวใ้นไดร์ฟไหน โฟลเดอร์ไหน เลือกที่อยูใ่ห้ถูกและเลือกไฟล์ แล้วคลิกเปิด 4.อีกวิธีการหนึ่ง คือ เปิดโปรแกรม word คลิกที่แฟ้ม >จะมองเห็นเอกสารลา่สุด ถ้ามีชื่อ เอกสารที่เราจะใช้งาน ก็คลิกเปิดได้เลย การบันทึกข้อมูล ในการทา งานโปรแกรม word เราควรจะคลิกปุ่มบันทึก บนแท็บ ไวเ้รื่อย ๆ เพื่อป้องกนังานสูญหาย เนื่องจาก ไฟดับ ปลั๊กหลุด หรือเครื่องแฮงค์ เป็นต้น การบันทึกงานครั้งแรก ให้ทา งานขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกที่ไอคอนบันทึก โปรแกรมจะเปิดหน้าตา่ง บันทึกเป็น 2. ในชอ่งบันทึกใน ให้คลี่สามเหลี่ยมเล็ก ๆ ลงมาเพื่อเลือกบันทึกงานวา่เก็บไวที้่ใด ไดร์ฟไหน โฟลเดอร์ใด 3. ในชอ่งชื่อแฟ้ม ให้ตั้งชื่อไฟล์ 4. แล้วคลิกบันทึก นอกจากนี้ การบันทึกไฟล์งาน นอกจากจะคลิกที่ปุ่มบันทึก แล้วยังสามารถบันทึกได้โดย 1. ไปที่แท็บ แฟ้ม>คลิกบันทึก 2. โปรแกรมจะเปิดหน้าตา่ง เปิด ให้เลือกบันทึกใน ไดร์ฟหรือโฟลเดอร์ไหน และตั้งชื่อไฟล์กอ่นคลิกบันทึก เหมือนวิธีเดียวกบัคลิกบันทึกจากปุ่มบันทึก 3. การบันทึกอีกรูปแบบหนึ่ง คือ บันทึกเป็น ใช้ในกรณีที่เราต้องการเปลี่ยนที่เก็บ หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์การแทรกข้อความ เมื่อเราพิมพ์งานหรือจัดหน้าเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว แตเ่ราต้องการจะเพิ่มเติมข้อมูลที่คิดวา่เป็นประโยชน์ เราสามารถทา ได้ ดังนี้ 1.คลิกตั้งเคอร์เซอร์บริเวณที่จะเติมข้อความ 2. สาหรับข้อความที่จะเติมเราสามารถพิมพ์เติมเข้าไปได้เลยหรือไป copy มาจากที่อื่นก็ได้ โดยป้ายเลือกบริเวณที่ต้องการ ให้เกิดแถบสี แล้วคลิกขวา >คัดลอก 3. เมื่อคัดลอกมาแล้ว เราจะนามาวางตรงที่ตั้งเคอร์เซอร์ไว้ให้คลิกขวา >เลือกตัวเลือกการวาง 4. การวางข้อความ/ภาพที่ copy มามีตัวเลือกการวางหลายลักษณะ ดังนี้ -ใชชุ่ดรูปแบบปลายทาง -รักษาการจัดรูปแบบตามต้นฉบับ
  • 18. 18 -ผสานการจัดรูปแบบ -เก็บข้อความเทา่นั้น -รูปภาพ -วางแบบพิเศษ การวางแบบพิเศษ สามารถเลือกรูปแบบเอกสารที่จะวางได้ตามตัวเลือก เมอื่เลือกได้แล้วคลิกตกลง 5. เมอื่เลือกลักษณะการวางได้ตามต้องการแล้ว ก็จะปรากฏข้อความที่ copy มา การเลื่อนไปส่วนตัวตา่ง ๆ ของเอกสาร การเลื่อนไปยังส่วนตา่ง ๆ ของเอกสาร ทา ได้หลายวิธีการ ดังนี้ 1. เลื่อนขึ้น-ลง ไปยังส่วนตา่ง ๆ หรือหน้าตา่งของเอกสารโดยใช้ แถบเลื่อน (Scroll Bar) 2. ใช้ลูกศรขึ้น และลูกศรลง ที่อยูด่้านข้างทางขวามือของหน้าจอ คลิกขึ้น-ลง เพื่อเลือกหน้าที่ต้องการ 3. ใช้ลูกศรคลิกไปหน้ากอ่น และหน้าถัดไป 4. คลิก วงกลมเพื่อเลือกลักษณะการเรียกดู ดังภาพ 5. เลือกไปที่ ดังภาพ 6. จะเปิดหน้าตา่ง ค้นหาและแทนที่ ให้กา หนดวา่ จะไปหน้าไหน ให้ใส่หมายเลขหน้าตามที่ต้องการ 7. สมมติวา่ จะไปหน้า 1 ก็ใส่เลข 1 แล้วคลิกปุ่ม ไปที่
  • 19. 19 การออกจากโปรแกรม เมื่อพิมพ์เอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราบันทึกงานเก็บตามขั้นตอนและต้องการจะออกจากโปรแกรม มีหลายวิธีการดังนี้ วิธีท1ี่ไปที่แท็บแฟ้ม เลือกจบการทา งาน โปรแกรมจะปิดตัวเอง ออกจากโปรแกรม Microsoft Word วิธีที่2 คลิกที่เครื่องหมายกากบาทสีแดง ที่มุมบนขวามือของหน้ากระดาษโปรแกรมจะปิดตัวเอง ออกจากโปรแกรม Microsoft Word คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพื่องานอาชีพ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทที่สาคัญยิ่งต่อสังคมของมนุษย์เราในปัจจุบันแทบทุกวงการล้วนนา คอมพิวเตอร์เข้าไปเกี่ยวข้องกับการใช้งานจนกลา่วได้วา่คอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยที่สาคัญอยา่งยิ่งตอ่การ ดา เนินชีวิตและการทา งานในชีวิตประจา วนัฉะนั้นการเรียนรู้เพื่อทา ความรู้จักกบัคอมพิวเตอร์จึงถือเป็นสิ่งที่ มีความจา เป็นเป็นอยา่งยิ่งเพื่อที่จะทราบวา่คอมพิวเตอร์คืออะไรทา งานอยา่งไรและมีความสาคัญตอ่มนุษย์อยา่งไรเราจึงคว รทา การศึกษาในหัวข้อตอ่ไปนี้ ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินวา่ Computareซึ่งหมายถึง การนับหรือ การคา นวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไวว้า่ "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมตัิทา หน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สาหรับแกปั้ญหาตา่งๆที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์
  • 20. 20 คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทา งานแทนมนุษย์ในด้านการคิดคา นวณและสามารถจา ข้ อมูลทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งตอ่ไป นอกจากนี้ยังสามารถจัดการกบัสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็ว สูงโดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านตา่งๆ อีกมาก อาทิเชน่การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูลการจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลตา่งๆ ได้ การทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ไมว่า่จะเป็นประเภทใดก็ตามจะมีลักษณะการทา งานของส่วนตา่งๆที่มีความสัมพันธ์กนัเป็นกระบวนการ โด ยมีองค์ประกอบพื้นฐานหลักคือ Input Process และ output ซึ่งมีขั้นตอนการทา งานดังภาพ ขั้นตอนที่1 รับข้อมูลเข้า (Input) เริ่มต้นด้วยการนาข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถผา่นทางอุปกรณ์ชนิดตา่งๆ แล้วแตช่นิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เชน่ ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard)
  • 21. 21 เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่องถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครื่องอา่นพิกดัภาพกราฟิค (Graphics Tablet) โดยมีปากกาชนิดพิเศษสาหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเลน่เกมก็จะมีกา้นควบคุม (Joystick) สาหรับเคลื่อนตา แหน่งของการเลน่บนจอภาพเป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 ประมวลผลข้อมูล (Process) เมื่อนาข้อมูลเข้ามาแล้วเครื่องจะดา เนินการกับข้อมูลตามคา สั่งที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ ต้องการการประมวลผลอาจจะมีได้หลายอยา่งเชน่ นาข้อมูลมาหาผลรวม นาข้อมูลมาจัดกลุ่ม นาข้อมูลมาหาคา่มากที่สุด หรือน้อยที่สุด เป็นต้น ขั้นตอนที่ 3 แสดงผลลัพธ์ (Output) เป็นการนาผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ที่กา หนดไว้ โดยทั่วไปจะแสดงผา่นทางจอภาพ หรือเรียกกนัโดยทั่วไปวา่ "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ 1.หน่วยเก็บ(Storage)หมายถึงความสามารถในการเก็บข้อมูลจา นวนมากและเป็นเวลานานนับเป็น จุดเดน่ทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทา งานแบบอัตโนมตัิของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งเป็นตัวบง่ชี้ประสิทธิภาพของค อมพิวเตอร์แตล่ะเครื่องด้วย
  • 22. 22 2.ความเร็ว(Speed)หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูล(ProcessingSpeed) โดยใช้เวลาน้อยเป็นจุดเดน่ทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุดเป็นตัวบง่ชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิ วเตอร์ที่สาคัญส่วนหนึ่งเชน่กนั 3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลา ดับขั้นตอนได้อยา่งถูกต้องและตอ่เนื่องอยา่งอัตโนมตัิโดยมนุษย์มีส่ วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการกา หนดโปรแกรมคา สั่งและข้อมูลกอ่นการประมวลผลเท่านั้น 4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึงความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้องความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทา งานของเค รื่องคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเดน่หลายประการทา ให้ถูกนามาใช้ประโยชน์ตอ่การดา เนินชีวิตประจา วนัในสังคมเป็นอย่ างมาก ที่พบเห็นได้บอ่ยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารตา่งๆ เชน่ พิมพ์จดหมาย รายงานเอกสารตา่งๆ ซึ่งเรียกวา่งานประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านตา่งๆ อีกหลายด้านดังตอ่ไปนี้ 1. งานธุรกิจ เชน่ บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้าตลอดจนโรงงานตา่งๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทา บัญชี งานประมวลคา และติดตอ่กับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรมส่วนใหญก่็ใช้คอมพิวเตอร์มาชว่ยในการควบคุมการผลิตและการประกอบชิ้นส่วนของอุปกร ณ์ตา่งๆ เชน่ โรงงานประกอบรถยนต์ซึ่งทา ให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ
  • 23. 23 หรืองานธนาคารที่ให้บริการถอนเงินผา่นตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหวา่งบัญชีเชื่อมโยงกนัเป็นระบบเครือขา่ย 2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุขสามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ในส่วนของการคา นวณที่คอ่นข้างซับซ้อน เชน่งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียนการเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ซึ่งจะให้ผลที่แมน่ยา กวา่การตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิมและให้การรักษาได้รว ดเร็วขึ้น 3. งานคมนาคมและสื่อสารในส่วนที่เกยี่วกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวนัเวลา ที่นั่งซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ทา ให้สะดวกตอ่ผู้เดินทางที่ไมต่้องเสียเวลารอ อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจรเชน่ ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศหรือในการสื่อสารก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยูใ่นวงโคจรซึ่งจะชว่ยส่งผลตอ่การส่งสั ญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน 4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือจา ลองสภาวการณ์ ตา่งๆ เชน่ การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผน่ดินไหวโดยคอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงควา มจริงรวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความกา้วหน้าของโครงการตา่งๆ เชน่ คนงาน เครื่องมือผลการทา งาน 5. งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุดโดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยูก่บับทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ เชน่กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผา่นคอมพิวเตอร์ , กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดระบบเครือขา่ยอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันตา่งๆ , กรมสรรพากรใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น 6. การศึกษา
  • 24. 24 ได้แกก่ารใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอนซึ่งมีการนาคอมพิวเตอร์มาชว่ยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียนซึ่งทา ให้สะดวกตอ่การค้นหาข้อมูลนักเรียนการเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด ลักษณะของคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเดน่ 4 ประการ เพื่อทดแทนข้อจา กดัของมนุษย์มีดังนี้ 1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจา นวนมากและเป็นเวลานาน นับเป็นจุดเดน่ทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทา งานแบบอัตโนมตัิของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งเป็นตัวบง่ชี้ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย 2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed)โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุดเดน่ทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วน เกยี่วข้องน้อยที่สุด เป็นตัวบง่ชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สาคัญส่ วนหนึ่งเชน่กนั เชน่กนั 3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลา ดับขั้นตอนได้อยา่งถูกต้องและตอ่เนื่องอยา่งอัตโนมตัิ โดยมนุษย์มีส่วนเกยี่วข้องเฉพาะในขั้นตอนการกา หนดโปรแกรมคา สั่งและข้อมูลกอ่นการประมวลผลเท่านั้น 4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทา งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกบัโปรแกรมคา สั่งและข้อมูลที่มนุษย์กา หนดให้กบัเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง กลา่วคือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไมถู่กต้องให้กบัเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยอ่มได้ผลลัพธ์ที่ไมถู่กต้องด้วยเชน่กนั คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ 1.ความเป็นอัตโนมัติ ( Self Acting) คอมพิวเตอร์ประดิษฐ์ขึ้นด้วยอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ มีการจัดเก็บหรือแปลงข้อมูลให้อยูใ่นรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าเพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ การประมวลผลของคอมพิวเตอร์จะทา งานแบบอัตโนมตัิภายใต้คา สั่งที่ได้ถูกกา หนดไว้ การทา งานดังกลา่วจะเริ่มตั้งแตก่ารนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ การประมวลผลและแปลงผลลัพธ์ออกมาให้อยูใ่นรูปแบบที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ 2.ความเร็ว ( Speed) คอมพิวเตอร์จะประมวลผลงานด้วยความเร็วสูง
  • 25. 25 ตา่งจากการประมวลผลงานในอดีตที่อาศัยแรงงานของมนุษย์ซึ่งให้ผลลัพธ์ที่ลา่ช้ากวา่มาก งาน ๆ หนึ่งหากใช้แรงงานคนอาจเสียเวลาหลายวนัหรือหลายสัปดาห์ในการคิดและประมวลผล แตห่ากนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้อาจลดเวลาและให้ผลลัพธ์ได้เพียงไมก่นี่าที ความรวดเร็วในการประมวลผลดังกลา่วมีความจา เป็นอยา่งมากตอ่การดา เนินงานธุรกรรมในปัจจุบัน ผลลัพธ์ที่ได้จากการคา นวณด้วยคอมพิวเตอร์ ชว่ยให้ผู้บริหารนาเอาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือดา เนินงานได้อยา่งรวดเร็ว 3.ความถูกต้อง แม่นยา ( Accuracy) คอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แมน่ยา และมีความผิดพลาดน้อยที่สุด การใช้แรงงานคนเพื่อประมวลผลเป็นเวลานาน อาจเกิดการผิดพลาดได้ เนื่องมาจากความออ่นล้า เชน่ ลงรายการผิด หรือบันทึกข้อมูลผิดประเภท ตรงกนัข้ามกบัคอมพิวเตอร์ที่สามารถทา งานได้อยา่งตอ่เนื่องและซ้า ๆ แบบเดิมได้เป็นอยา่งดี ทั้งนี้ขึ้นอยูก่บัการป้อนข้อมูลเข้าที่ถูกต้องด้วย เนื่องจากคอมพิวเตอร์ไมส่ามารถทราบได้วา่ข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามานั้นเป็นอยา่งไร ผิดหรือถูก หากมีการป้อนข้อมูลผิด โปรแกรมหรือชุดคา สั่งอาจประมวลผลตามที่ได้รับข้อมูลมาเชน่นั้น ซึ่งความไมถู่กต้องดังกลา่วไมใ่ชเ่ป็นความผิดพลาดของคอมพิวเตอร์ หากเป็นความผิดพลาดของฝั่งผู้ใช้เอง เป็นต้น 4.ความน่าเชื่อถือ ( Reliability) ข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ จะมีความน่าเชื่อถือและสามารถนาไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ ตอ่ไปได้ โดยเฉพาะในปัจจุบันมีฮาร์ดแวร์ที่ผลิตขึ้นด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใหม่ มีการคิดค้นและพัฒนาให้ดีกวา่ยุคสมยักอ่นที่มีการใช้เพียงแคห่ลอดสุญญากาศ การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจึงมีความผิดพลาดต่า มากหรือแทบไมเ่กิดขึ้นเลย นั่นคือการมีความน่าเชื่อถือสูงนั่นเอง 5.การจัดเก็บข้อมูล ( Storage Capability) คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความธรรมดาหลาย ๆ ล้านตัวอักษร เพลง ภาพถา่ย วิดีโอ หรือไฟล์ข้อมูลขนาดใหญจ่า นวนมาก โดยมีหน่วยเก็บข้อมูลเฉพาะเป็นของตนเอง ชว่ยให้การจัดเก็บและถา่ยเทข้อมูลเป็นไปได้โดยสะดวกมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันมกัพบเห็นหน่วยเก็บข้อมูลที่จุข้อมูลได้มากขึ้นและมีราคาที่ถูกลงกวา่แตก่อ่นมาก 6.ทา งานซ้า ๆ ได้ ( Repeatability) คอมพิวเตอร์สามารถทา งานซ้า ๆ กนัได้หลายรอบ ชว่ยลดปัญหาเรื่องความออ่นล้าจากการทา งานของแรงงานคน นอกจากนั้นยังลดความผิดพลาดตา่ง ๆ ได้ดีกวา่ด้วย ข้อมูลที่ประมวลผลแมจ้ะยุง่ยากหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตาม จะสามารถคา นวณและหาผลลัพธ์ได้อยา่งรวดเร็ว การคิดหาผลลัพธ์ของงานที่มีลักษณะซ้า ๆ แบบเดิม เชน่ การบันทึกรายการบัญชีประจา วนั การลงรายการสินค้าเข้า ออกในระบบสินค้าคงคลังที่เกิดขึ้นเป็นประจา จึงเหมาะอยา่งยิ่งตอ่การนาเอาคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน 7.การติดต่อสื่อสาร ( Communication) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถเชื่อมโยงเข้าหากนัเป็นเครือขา่ยมากยิ่งขึ้น