SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
บทที่ 5
หนังสืออ้างอิง
ห นั ง สื อ อ้ าง อิ ง เ ป็ น ท รั พ ย า ก ร ส า ร นิ เท ศ ที่ มี ค ว า ม เ ชื่ อ ถื อ สู ง
ช่วยค้นคว้าอ้างอิงสารนิเทศในสาขาวิชาต่างๆ จัดเป็นหัวใจของการศึกษาค้นคว้า
ความหมายของหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง หมายถึง หนังสือที่ใช้ข้อเท็จจริงใช้ในการค้นคว้าหาคาตอบหรือ
ข้อความเฉพาะบางตอนสาหรับอ้างอิง ห้องสมุดจะจัดแยกจากหนังสือทั่วไปเพราะหนังสืออ้างอิง
ไ ม่ อ นุ ญ า ต ใ ห้ ยื ม อ อ ก น อ ก ห้ อ ง ส มุ ด
ใช้ค้นคว้าศึกษาเฉพาะในห้องสมุดมีสัญลักษณ์ต่างจากหนังสือทั่วไป สาหรับภาษาไทยใช้ “อ”
มาจากคาว่า ”อ้างอิง” ไว้เหมือนเลขหมู่หนังสือ ส่วนภาษาอังกฤษใช้“R” มาจากคาว่า Reference
ตัวอย่างเช่น
หนังสืออ้างอิงใช้เพียงบางตอนของเล่มและใช้สาหรับการศึกษาค้นคว้าอ้างอิงในการทาวิจั
ยต่างๆ ไม่ใช้หนังสือที่ต้องอ่านทั้งเล่ม ลักษณะเฉพาะอาจมีดังนี้
1. เขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะบางวิชา บางเล่มอาจมีคนเขียนจานวนมาก เช่น สารานุกรม
2. เรียบเรียงอย่างมีระเบียบ สะดวกในการค้นคว้า
3. รูปเล่มแข็งแรง การเย็บเล่มคงทนถาวร ขนาดใหญ่หรือเป็นหนังสือชุด
4. มีลักษณะพิเศษในการค้นคว้าได้รวดเร็ว เช่น ดรรชนีหัวแม่มือ สัญลักษณ์ ประจาเล่ม
ในแต่ละหน้าจะมีอักษรนา ดรรชนีสารานุกรมชุดใหญ่จะมีดรรชนีต่างหากหนึ่งเล่ม
5. บางเล่มอาจมีภาพพิเศษหรือเป็นภาพสี ทาให้หนังสือมีราคาสูง
ลักษณะหนังสืออ้างอิง
การจะใช้หนังสือในการศึกษาค้นคว้า ก็ควรรู้ลักษณะที่ดีของหนังสืออ้างอิง ดังนี้
1. มีความ เชื่ อสู ง พิ จารณ าความรู้ ความช าน าญ ขอ ง ผู้เขี ยน เรื่ อง นั้ น ๆ
โดยเฉพาะถ้าเป็นหนังสืออ้างอิงเฉพาะวิชา ผู้เขียนต้องมีคุณวุฒิทางการศึกษาในวิชานั้นๆ
หรือมีประสบการที่ยอมรับของคนทั่วไป
อ
423
จ19พ
R
612
A45P
2. ขอบเขตหนังสือควรมีขอบเขตที่เหมาะสมอย่าให้กว้างมากเกินไปหรือแคบมากและเนื้อ
หาวิชาการกระชับไม่คลุมหลายวิชา
3. วิธี เขี ยน ข้อ เท็ จจ ริ ง เนื้ อ ห าวิช าถูก ต้อ ง ภ าษ าที่ ใ ช้อ่าน เข้าใ จง่ าย
และสานวนภาษาสละสลวย
4. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ มี ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ เ รื่ อ ง อ ย่ า ง มี ร ะ เ บี ย บ
หนังสื ออ้างอิงที่ดีจะต้องมีลักษณะพิเศษสาหรับการค้น หา เช่น ดรรช นีหัวแม่มือ
อักษรนาแต่ละหน้าหรือมีดรรชนีเพื่อสะดวกในการค้นหาอย่างรวดเร็ว
5. รูปเล่ม เป็นลักษณะเฉพาะภายนอกของหนังสือรวมทั้งการเช้าเล่ม การใช้วัสดุ
คุณภาพของกระดาษ การวางรูป การใช้ภาพประกอบที่เหมาะสมกับเนื้อหาและขนาดของหนังสือ
การเรียงพิมพ์ตัวสะกด ตัวการันต์ถูกต้อง และชัดเจน
6. บรรณานุกรม หนังสืออ้างอิงเป็นเออกสารที่ผู้ใช้ต้องการค้นหาความถูกต้องฉะนั้น
ข้ อ ค ว า ม ใ น ห นั ง สื อ ต้ อ ง เ ชื่ อ ถื อ ไ ด้
เอกสารอ้างอิงในหนังสือเป็นสิ่งที่สาคัญเป็นหลักในการพิจารณาตัดสินว่าหนังสือที่เหมาะสมเพียงใ
ด
7. ลักษณะพิเศษอื่นๆที่อานวยความสะดวกในการค้นเรื่อง เช่น
7.1 ก า ร แ ส ด ง เ ล่ ม ที่ (Volume guide) คื อ ตั ว เ ล ข อั ก ษ ร
ห รื อ ส่ ว น ข อ ง ค า ที่ สั น ห นั ง สื อ ข อ ง ห นั ง สื อ มี ห ล า ย เ ล่ ม จ บ
ช่วยให้ผู้ใช้ทราบว่าเรื่องที่ตนต้องการนั้นมีอยู่ในหนังสือเล่มใดในชุด
7.2 ด ร ร ช นี หั ว แ ม่ มื อ (Thumb index)
บางสิ่งที่เรียกว่าดรรชนีที่ริมหน้ากระดาศพิมพ์ตัวอักษรกากับหน้าที่ริมกระดาษมีลักษณะเป็นรูปครึ่
งวงกลมช่วยให้เปิดค้นเรื่องในลาดับอักษรที่ต้องการได้เร็วขึ้นโดยเฉพาะหนังสือพจนานุกรมฉบับห
นาๆควรมีดรรชนีหัวแม่มือด้วย
7.3 อั ก ษ ร น า ท า ง (Running head or guide word)
คือคาที่ปรากฎอยุ่ที่มุมบนกระดาษทุกหน้าโดยเฉพาะหนังสือประเภทพ จนานุ กรม
หรือสารานุกรมทาให้เราทราบโดยเร็วว่าเรื่องที่ต้องการอยู่หน้านั้นๆหรือไม่
7.4 โยง (Reference) คือการแน ะ ให้ ดูจากเรื่ องห นึ่ งไปยัง อีกเรื่ องห นึ่ ง
จพต้องเป็นส่วนโยงที่ช่วยให้ผู้ใช้ได้สะดวกและหาสิ่งที่ต้องการพบได้โดยไม่ทาให้ผู้ใช้เกิดสับสน
7.5 ดรรชนี (Index) คือลาดับคาหรือความเรียงตามลาดับตัวอักษรบอกเลขที่เล่ม
เลขที่หน้า เป็นเครื่องทุนเวลาการค้นคว้าในเรื่ออที่ต้องการ
การเรียงลาดับเนื้อหาของหนังสืออ้างอิง
ก า ร เ รี ย บ เ รี ย ง เ นื้ อ ห า ข อ ง ห นั ง สื อ อ้ า ง อิ ง
แต่ละประเภทย่อมแตกต่างกันแล้วแต่ความเหมาะสม โดยทั่วไปมีการเรียบเรียงแบบต่างๆดังนี้
1. การเรียงแบบจนานุกรม เป็ นการเรียงตามตัวอักษร โดยไม่คานึงว่าเรื่องนั้น ๆ
จะ เป็ น ชื่อ คน ส ถาน ที่ วิช าการ การเรี ยง แบ บ นี้ ไม่จาเป็ น ต้อ งมีดรรช นี เช่น
หนังสือสารานุกรมไทยฉบับบัณฑิตสถาน เป็นต้น
2. การเรียงลาดับตัวอักษรเฉพาะประเภท เช่น เฉพาะชื่อคน เฉพาะวิชา ตัวอย่าง เช่น
ใครเป็นใครในประเทศไทยเป็นต้น
3. เ รี ย ง ล า ดั บ ต า ม เ ว ล า ห รื อ เ ห ตุ ก า ร ณ์
เป็นการเรียงเนื้อหาในหนังสือตามลาดับก่อนหลังของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยมากเป็นหนังสือรายปี
ประวัติศาสตร์การเรียงแบบนี้จาเป็นต้องมีดรรชนีท้ายเล่มจึงจะใช้ได้ผลดี
4. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ ต า ม ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ศ า ส ต ร์
อาจเรียงตามลาดับอักษรของแต่ละประเทศในโลกหรืออาจเรียงตามลักษณะภูมิศาสตร์เช่น
แถบร้อน แถบขั้วโลก เป็นต้น
5. ก า ร เ รี ย ง ต า ม วิ ธี แ บ่ ง ห ม ว ด ห มู
โดยมากเป็นหนังสือประเภทบรรณานุกรมการเรียงแบบนี้ทาให้ผู้ใช้ทราบว่าในหมวดวิชาหนึ่งๆมีผู้
ใดแต่งหนังสืออะไรบ้าง เช่นบรรณพิภพ
ประโยชน์ของหนังสืออ้างอิง
1. ช่วยการศึกษาค้นหว้าโดยตรงอย่างมีประสิทธิภาพ
2. เป็นการส่งเสริมการค้นหว้าด้วยตนเอง
3. การตอบคาถามได้รวดเร็ว จากลักษณะเฉพาะของหนังสืออ้างอิง
4. ให้ข้อเท็จจริงอย่างถูกต้องเพราะผู้เขียนมีคุณวุฒิเชื่อถือได้
5. ช่วยให้ผู้ใช้มีความรู้กว้าง และทันสมัย จากการใช้หนังสืออ้างอิงหลายประเภท
ประเภทของหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้3 ประเภท คือ
1. หนังสืออ้างอิงประเภทที่ให้สารสนเทศที่ต้องการโดยตรง คือเมื่อผู้ใช้อ่าน
หนังสืออ้างอิงประเภทนี้ก็จะได้สารสนเทศที่ต้องการโดยตรงทันที ที่ควรรู้จักได้แก่
1.1 พจนานุกรม (Dictionary)
1.2 สารานุกรม (Encyclopedia)
1.3 หนังสือรายปี (Yearbooks)
1.4 อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionary)
1.5 นามานุกรม (Directory)
1.6 หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical Sources)
1.7 หนังสือคู่มือ (Handbook)
1.8 สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication)
1.9 บรรณานุกรมและดรรชนี (Bibliographies)
1.10 ดรรชนี (Indexes)
2. หนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะหาสารสนเทศที่ต้องการได้จากแหล่งใด
ห นั ง สื อ อ้าง อิ ง ป ร ะ เภ ท นี้ จะ ไม่ใ ห้ ส าร ส น เท ศ ที่ ผู้ใ ช้ ต้อ ง ก าร โ ด ย ต ร ง
แต่จะบอกแหล่งสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการ
2.1 หนังสือบรรณานุกรม
2.2 หนังสือดรรชนีวารสาร
3 . ห นั ง สื อ ธ ร ร ม ด าที่ จัด เป็ น ห นั ง สื อ อ้ า ง อิ ง (Borderline Book) คื อ
หนังสือวิชาการทั่วไปที่มีคุณค่าและเนื้อหาเหมาะที่จะทาเป็นหนังสืออ้างอิง เช่น สาส์นสมเด็จ
ประชุมพงศาวดาร ลัทธิธรรมเนียมต่างๆ พระราชประวัติ และราชกิจจานุเบกษา เป็นต้น
1.1 พจนานุกรม (Dictionary)
พ จ น า นุ ก ร ม เป็ น ห นั ง สื อ อ้ า ง อิ ง ที่ รู้ จัก แ ล ะ ใ ช้ กัน ม า ก ที่ สุ ด
พจน านุ กรมจะ ให้ความหมายของคา การสะกดการัน ต์ การออกเสียงและการใช้คา
พจนานุกรมมีลักษณะเฉพาะดังนี้
1. รวบรวมคาทั้งหมดในภาษานั้น ๆออย่างสมบูรณ์ที่สุด
2. ให้คาจากัดความหรือความหมายของแต่ละคา
3. ให้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวสะกด ตัวการันต์
4. อธิบายการออกเสียงของแต่ละตาพร้อมการอ่าน
5. ถ้ามีคาพ้องหรือคาตรงข้ามจะบอกไว้เพื่อศึกษา
6. อาจมีประวัติของคาบางคา
7. มีภาพประกอบสาหรับคาอธิบายให้เข้าใจยาก เช่น ลักษณะของสัตว์โบราณ
8. เรียงตามลาดับตัวอักษรอย่างเป็นระเบียบ
9. ให้ทราบชนิดของคา
10. แจ้งแหล่งที่มาของคา
ประเภทของพจนานุกรมแบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
1. แบ่งตามเนื้อหา
2. แบ่งตามจานวนคาฉบับย่อ และฉบับสมบูรณ์
3. แบ่งตามจานวนภาษา
วิธีใช้พจนานุกรม
1. ก่ อ น ใ ช้ ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า ว่ า ค ว า ม รู้ ข อ ง ค า อ ย่ า ง ไ ร
ละ เอียดห รือไม่จะ เลือกใ ห้เห มาะ สมกับลักษณ ะ เฉ พ าะ ของ พ จน านุ กรม เช่น
ฉบับสมบูรณ์หรือฉบับย่อ เป็นคาทั่วไปหรือเฉพาะวิชา
2. เมื่ อ ใ ช้ แ ต่ ล ะ เ ล่ ม ต้ อ ง อ่ า น ค า ชี้ แ จ ง วิ ธี ใ ช้ ใ ห้ เ ข้ า ใ จ ก่อ น
เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหาและเข้าใจความหมายของศัพท์ในกรณีมีอักษรย่อละสัญลั
กษณ์ต่าง ๆ
3. ศึกษาเครื่องช่วยการค้นคาที่มีเฉพาะหนังสือแต่ละเล่มเช่น
3.1 อักษรนาแต่ละหน้า
3.2 ดัชนีหัวแม่มือ
3.3 ดรรชนีค้นคา
1.2 สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรมเป็นหนังสือที่อธิบายเรื่องราวต่างๆทุกสาขาวิชาที่เกี่ยวกับสถานที่เหตุการณ์สาคั
ญ ๆ ของโลกเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา อาจเป็นหมู่คณะหรือรายบุคคลสารานุกรม
จึงเป็นแหล่งค้นหว้าความรู้เบื้องต้นทุกวิชา มีรายละเอียดพอสมควร ส่วนมากมีรูปภาพ แผนที่
และอื่น ๆ ประกอบให้เข้าใจยิ่งขึ้น สารานุกรมมีทั้งเล่มเดียวจบและเป็ น ชุดหลายเล่ม
การเรียบเรียงมีทั้งตามลาดับและเรียงเป็นหมวดวิชา
ประเภทของสารานุกรม แบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้
1. แ ห ล่ง ส า รา นุ ก รม ทั่ วไ ป เป็ น ส าร านุ ก ร ม ที่ ร ว บ ร ว ม วิช าต่าง ๆ
ไว้ด้วยกันส่วนมากจะเป็นหลายเล่มชุด
2. สารานุกรมเฉพาะวิชาเป็ นเฉพาะวิชาใดวิชาหนึ่ งให้ความรู้ค่อนข้างละเอียด
ส่วนมากจะเป็นเล่มเดียวจบ
วิธีใช้สารานุกรม
1. พิจารณาสารานุกรมให้ตรงกับเรื่องที่ต้องค้นว่าเป็นเรื่องเฉพาะวิชาหรือเป็นความรู้ทั่วไ
ป
2. ค้นจากดรรชนี หรือเรื่องที่ต้องการว่าอยู่ส่วนใดหรือเล่มใด
3. ให้อักษรนาแต่ละเล่มเป็นประโยชน์เพื่อความรวดเร็ว
4. อ่านวิธีใช้แต่ละชุด เพราะลักษณะการเรียบเรียงจะแตกต่างกันตามลักษณะเนื้อหาผู้ผลิต
ส า ห รั บ ส า ร า นุ ก ร ม ชุ ด นี้ นิ ย ม กั น จ ะ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง กั น ทุ ก ปี
เพื่อให้เป็นสารานุกรมที่ทันสมัยอยู่เสมอบริษัทผู้ผลิตจึงจัดทาขึ้นเป็นหนังสือรายปีของสารานุกรมอ
อกเพิ่มเติมทุกปี
1.3 หนังสือรายปี (Yearbooks)
ห นั ง สื อ ร าย ปี คื อ ห นั ง สื อ ที่ มัก มี ก าห น ด อ อ ก เป็ น ป ร ะ จ า ทุ ก ปี
และสรุปเรื่องราวเหตุการณ์สถิติต่าง ๆ ในรอบปีหนึ่ง ๆ เป็นสาคัญหนังสือภาษาไทยของเราเรียกว่า
รายงานประจาปี
ประเภทของหนังสือรายปี อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
1. หนังสือรายปีฉบับเพิ่มเติมจากสารานุกรมเป็นหนังสือทีบริษัทผลิตสารานุกรมชุด
ต่าง ๆ พิมพ์เพิ่มเติมปรับปรุง
2. สมพัตรสร เป็นรายงานสถิติเรื่องราวต่าง ๆทั่วไปของโลกในรอบปีที่ผ่านไป
3. หนังสือสรุปผลงานประจาปีของหน่วยงานราชการ ส่วนมากจะเป็นกระทรวง ใหญ่ๆ
ที่ต้องแถลงกิจการในรอบปีให้คนทั่วไปรับทราบ เช่น สานักสถิติแห่งชาติหรือกระทรวงศึกษาธิการ
เป็นต้น
1.4 อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionary)
อักขรานึกรมชีวประวัติ เป็นหนังสือรวมชีวประวัติบุคลสาคัญ กล่าวคือ ปีเกิดปีตาม
ภูมิลาเนาส่วนตัวสภาพการแต่งงาน พื้นฐานการศึกษา แลละหน้าที่การงานปัจจุบันในกรณีเจ้าของ
ชีวประวัติยังมีชีวิตอยู่อักขรานุกรมชีวประวัติให้รายละเอียดอย่างย่อถ้าต้องการลึกซึ้ง
ต้องค้นจากแหล่งอื่น ๆ เช่น หนังสือชีวประวัติบุคคลที่จัดทาด้วนตนเองหรือผู้อื่น
ประเภทของอักขรานุกรมชีวประวัติ แบ่งเป็น 3ประเภท ดังนี้
1. ชีวประวัติบุคคลทั่วไป ไม่จากัดชาติ ศาสนา หรืออาชีพ
2. ชีวประวัติบุคคลเฉพาะในชาติ จะเป็นชาติใดชาติหนึ่งโดยเฉพาะ
3. ชีวประวัติบุคคลเฉพาะอาชีพ หรือสาชาวิชา
นอกจากนี้อักขรานุกรมชีวประวัติของต่างประเทศอาจแบ่งเป็น 2ประเภทดังนี้
1. ชีวประวัติของบุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
2. ชีวประวัติของบุคคลที่ล่วงลับไปแล้ว
1.5 นามานุกรม (Directory)
นามานุกรม คือ หนังสืออ้างอิงที่ให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชื่อต่าง ๆ ได้แก่ชื่อบุคคล
ชื่ อ ส ถ าน ศึ ก ษ า ส โ มส ร อ ง ค์ ก าร บ ริ ษั ท ห้ าง ร้ าน ชื่ อ ส ถ าน ที่ เป็ น ต้ น
ซึงต่างกับหนังสื อชีวประ วัติตรงที่น ามานุกรมไม่กล่าวถึงประวัติ แต่เน้น เรื่อที่อยู่
ตาแหน่งหน้าที่ของบุคคล หรือวัตถุประสงค์ขององค์กรเป็นต้น
1.6 หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical Sources)
หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์เป็นหนังสืออ้างอิงที่ให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เช่น
ประเทศ ที่ตั้ง ระยะทาง พร้อมทั้งภาพและแผนที่ประกอบ
ประเภทของหนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ แบ่งเป็น 3ประเภทดังนี้
1. อั ก ข ร า นุ ก ร ม ภู มิ ศ า ส ต ร์ ใ ห้ ค ว า ม รู้ ภู มิ ศ า ส ต ร์ เ มื อ ง ต่ า ง ๆ
ตามลาดับอักษรบอกคาอ่านชื่อที่ถูกต้องอธิบายสั้น ๆเกี่ยวกับ เมือง ภูเขาแม่น้า พร้อมประวัติ
2. ห นั ง สื อ น า เ ที่ ย ว
เป็นคู่คือนาเที่ยวแนะนาสถานที่ในแต่ละประเทศที่น่าสนใจอธิบายประวัติเกี่ยวกับสถานที่ค่าใช้จ่าย
ที่ พั ก แ ร ม พ ร้ อ ม แ ผ น ผั ง ป ร ะ ก อ บ
ส่วน มาก จะ เป็ น ข อง อ ง ค์ กร การส่ง เส ริ มการท่อ ง เที่ ยวข อง ป ระ เท ศ ต่าง ๆ
เป็นหนังสืออ้างอิงชนิดเดียวที่จาเป็นต้องอ่านเกือบทั้งเล่ม
3. หนังสือแผนที่ แผนที่และลูกโลก ใช้ประกอบการศึกษาเรื่องที่ตั้งประเทศต่าง ๆ
แสดงอาณาเขต แม่น้า ภูเขา ภูมิอากาศ และอื่นๆ
1.7 หนังสือคู่มือ (Handbook)
ห นั ง สื อ คู่ มื อ
คือหนังสืออ้างอิงที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือศึกษาค้นคว้าหรือปฏิบัติงานหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งเฉพาะเ
รื่อง ในหนังสือจะให้รายละเอียดตั้งแต่ตัวเลข ข้อมูล สถิติ สูตร คาจากัดความ ความหมาย
ตลอดจนแนวทางและเนื้อหาวิชาเฉพาะเรื่องนั้นๆ เช่น คู่มือนักศึกษา
ประเภทของหนังสือคู่มือ แบ่งได้เป็น 2ประเภทดังนี้
1. คู่มือสาหรับปฏิบัติงาน เช่น คู่มือซ่อมโทรทัศน์
2. คู่มือที่ให้ความรู้ต่าง ๆ เฉพาะด้าน เช่น คู่มือเลขานุการ คู่มือทางการแพทย์
1.8 สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication)
สิ่ ง พิ ม พ์ รั ฐ บ า ล ห ม า ย ถึ ง
หนังสือหรือสิ่งพิมพ์ที่ทางราชการเป็นผู้รับผิดชอบในการพิมพ์เพื่อจาหน่ายหรือแจกแก่หน่วยงานห
รือประชาชนผู้ที่สนใจ เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่ผลงานหรือวามเคลื่อนไหวใหม่ๆ
ทางวิชาการแก่ประชาชน สิ่งพิมพ์รัฐบาลมีลักษณะหลายแบบเช่น หนังสือวารสารจุลสาร เอกสาร
และรายงานประจาปี
1.9 บรรณานุกรมและดรรชนี (Bibliographies)
บรรณานุกรม หมายถึง หนังสือที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ทุกประเภท
จ ะ เ ป็ น วิ ช า เ ดี ย ว ห รื อ เ ฉ พ า ะ ข อ ง ส ถ า น บั น ใ ด ก็ ไ ด้
โดยจัดทาอย่างมีระเบียบสะดวกในการค้นหาอาจเป็นรายเดือน รายสามเดือน หรือรายปี
ส่วนมากใช้เป็นคู่มือในการจัดหา
ลักษณะการเรียบเรียงบรรณานุกรม การเรียบเรียงบรรณานุกรมมี 3แบบ ดังนี้
1. เรียบเรียงรายชื่อธรรมดา โดยบอกชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สถานที่พิมพ์ สานักพิมพ์
จานวนหน้า
2. เรียบเรียงรายชื่อหนังสือโดยมีบรรณนิทัศน์สังเขป
3. เรียบเรียงรายชื่อหนังสือและมีคาวิจารณ์ประกอบเพิ่มเติม
1.10 ดรรชนี (Indexes)
ด ร ร ช นี คื อ ห นั ง สื อ ที่ ร ว บ ร ว ม ชื่ อ บ ท ค ว าม จ า ก ว าร ส าร ต่า ง ๆ
บอกให้ทราบว่าบทความที่ต้องการนั้นอยู่ในวารสารชื่ออะไร ฉบับที่เท่าไร่สะดวกต่อการค้นหา
โดยไม่ต้องสารวจวารสารทุกเล่ม ดรรชนีวารสารมีผู้รวบรวมไว้หลายเล่มอาจเป็นวารสารทั่วๆ
ไปหรือเฉพาะวิชาใดวิชาหนึ่ง
วิธีใช้หนังสืออ้างอิง
การใช้หนังสืออ้างอิงเพื่อการศึกษาค้นคว้า เพื่อให้ได้คาตอบรวดเร็วและตรงจุดมุ้งหมาย
ผู้ใช้ต้องเลือกหนังสือให้ตรงกับปัญหา ดังนี้
1. ความรู้ท าง ภ าษา เกี่ยวกับ ค าศัพ ท์ อัก ษ รย่อ ห รื อสั ญ ลักษ ณ์ ต่าง ๆ
ควรค้นจากพจนานุกรมตามประเภทต่าง ๆ
2. ค ว า ม รู้ ทั่ ว ไ ป ทุ ก ส าข าวิช า ค้น ห าค า ต อ บ ไ ด้ จ าก ส า ร านุ ก ร ม
โ ด ย ใ ช้ ด ร ร ช นี แ ต่ล ะ เล่ ม เป็ น คู่มื อ ถ้ ามี ห นั ง สื อ ร า ย ปี ฉ บั บ เพิ่ ม เติ ม
ควรใช้หนังสือรายปีประกอบด้วยเพื่อคาตอบที่ทันสมัยและสมบูรณ์
3. ความรู้เกี่ยวกับบุคคล จะค้นหลายแหล่ง เช่น
3.1 อักขรานุกรมชีวประวัติ
3.2 สารานุกรม
3.3 พจนานุกรมบางฉบับ (โดยเฉพาะภาษาอังกฤษฉบับสมบูรณ์)
3.4 ดรรชนีวารสาร
3.5 หนังสือรายปี ฉบับเพิ่มเติมสารานุกรม
4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์แต่ละช่วงเวลา ควรค้นจาก
4.1 หนังสือรายปี
4.2 ดรรชนีวารสาร
4.3 หนังสือแผนที่
5. ความรู้ทางภูมิศาสตร์ จะค้นได้จาก
5.1 อักขรานุกรมทางภูมิศาสตร์
5.2 สารานุกรม
6. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหนังสือและสิ่งพิมพ์ต่าง ๆคาตอบจะได้จาก
6.1 บรรณานุกรม
6.2 ดรรชนีวาร
6.3 สิ่งพิมพ์รัฐบาล

Contenu connexe

Tendances

Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุป
Samorn Tara
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Attaporn Saranoppakun
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
Supaporn Khiewwan
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
nonny_taneo
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
Pongsri Limkhom
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
Chainarong Maharak
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
Srion Janeprapapong
 

Tendances (20)

เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุป
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
Lesson4 refer11
Lesson4 refer11Lesson4 refer11
Lesson4 refer11
 
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
 
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมเรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบวารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 

Similaire à บทที่ 5

สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
Srion Janeprapapong
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
sutthirat
 
จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือ
wat_pun
 
Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416
Namchai Chewawiwat
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
อิ่' เฉิ่ม
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
krujee
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
พัน พัน
 

Similaire à บทที่ 5 (20)

สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 
จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือ
 
Printed Meterial
Printed MeterialPrinted Meterial
Printed Meterial
 
T006
T006T006
T006
 
Reference book
Reference bookReference book
Reference book
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
 
1549867672 example
1549867672 example1549867672 example
1549867672 example
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 

บทที่ 5

  • 1. บทที่ 5 หนังสืออ้างอิง ห นั ง สื อ อ้ าง อิ ง เ ป็ น ท รั พ ย า ก ร ส า ร นิ เท ศ ที่ มี ค ว า ม เ ชื่ อ ถื อ สู ง ช่วยค้นคว้าอ้างอิงสารนิเทศในสาขาวิชาต่างๆ จัดเป็นหัวใจของการศึกษาค้นคว้า ความหมายของหนังสืออ้างอิง หนังสืออ้างอิง หมายถึง หนังสือที่ใช้ข้อเท็จจริงใช้ในการค้นคว้าหาคาตอบหรือ ข้อความเฉพาะบางตอนสาหรับอ้างอิง ห้องสมุดจะจัดแยกจากหนังสือทั่วไปเพราะหนังสืออ้างอิง ไ ม่ อ นุ ญ า ต ใ ห้ ยื ม อ อ ก น อ ก ห้ อ ง ส มุ ด ใช้ค้นคว้าศึกษาเฉพาะในห้องสมุดมีสัญลักษณ์ต่างจากหนังสือทั่วไป สาหรับภาษาไทยใช้ “อ” มาจากคาว่า ”อ้างอิง” ไว้เหมือนเลขหมู่หนังสือ ส่วนภาษาอังกฤษใช้“R” มาจากคาว่า Reference ตัวอย่างเช่น หนังสืออ้างอิงใช้เพียงบางตอนของเล่มและใช้สาหรับการศึกษาค้นคว้าอ้างอิงในการทาวิจั ยต่างๆ ไม่ใช้หนังสือที่ต้องอ่านทั้งเล่ม ลักษณะเฉพาะอาจมีดังนี้ 1. เขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะบางวิชา บางเล่มอาจมีคนเขียนจานวนมาก เช่น สารานุกรม 2. เรียบเรียงอย่างมีระเบียบ สะดวกในการค้นคว้า 3. รูปเล่มแข็งแรง การเย็บเล่มคงทนถาวร ขนาดใหญ่หรือเป็นหนังสือชุด 4. มีลักษณะพิเศษในการค้นคว้าได้รวดเร็ว เช่น ดรรชนีหัวแม่มือ สัญลักษณ์ ประจาเล่ม ในแต่ละหน้าจะมีอักษรนา ดรรชนีสารานุกรมชุดใหญ่จะมีดรรชนีต่างหากหนึ่งเล่ม 5. บางเล่มอาจมีภาพพิเศษหรือเป็นภาพสี ทาให้หนังสือมีราคาสูง ลักษณะหนังสืออ้างอิง การจะใช้หนังสือในการศึกษาค้นคว้า ก็ควรรู้ลักษณะที่ดีของหนังสืออ้างอิง ดังนี้ 1. มีความ เชื่ อสู ง พิ จารณ าความรู้ ความช าน าญ ขอ ง ผู้เขี ยน เรื่ อง นั้ น ๆ โดยเฉพาะถ้าเป็นหนังสืออ้างอิงเฉพาะวิชา ผู้เขียนต้องมีคุณวุฒิทางการศึกษาในวิชานั้นๆ หรือมีประสบการที่ยอมรับของคนทั่วไป อ 423 จ19พ R 612 A45P
  • 2. 2. ขอบเขตหนังสือควรมีขอบเขตที่เหมาะสมอย่าให้กว้างมากเกินไปหรือแคบมากและเนื้อ หาวิชาการกระชับไม่คลุมหลายวิชา 3. วิธี เขี ยน ข้อ เท็ จจ ริ ง เนื้ อ ห าวิช าถูก ต้อ ง ภ าษ าที่ ใ ช้อ่าน เข้าใ จง่ าย และสานวนภาษาสละสลวย 4. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ มี ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ เ รื่ อ ง อ ย่ า ง มี ร ะ เ บี ย บ หนังสื ออ้างอิงที่ดีจะต้องมีลักษณะพิเศษสาหรับการค้น หา เช่น ดรรช นีหัวแม่มือ อักษรนาแต่ละหน้าหรือมีดรรชนีเพื่อสะดวกในการค้นหาอย่างรวดเร็ว 5. รูปเล่ม เป็นลักษณะเฉพาะภายนอกของหนังสือรวมทั้งการเช้าเล่ม การใช้วัสดุ คุณภาพของกระดาษ การวางรูป การใช้ภาพประกอบที่เหมาะสมกับเนื้อหาและขนาดของหนังสือ การเรียงพิมพ์ตัวสะกด ตัวการันต์ถูกต้อง และชัดเจน 6. บรรณานุกรม หนังสืออ้างอิงเป็นเออกสารที่ผู้ใช้ต้องการค้นหาความถูกต้องฉะนั้น ข้ อ ค ว า ม ใ น ห นั ง สื อ ต้ อ ง เ ชื่ อ ถื อ ไ ด้ เอกสารอ้างอิงในหนังสือเป็นสิ่งที่สาคัญเป็นหลักในการพิจารณาตัดสินว่าหนังสือที่เหมาะสมเพียงใ ด 7. ลักษณะพิเศษอื่นๆที่อานวยความสะดวกในการค้นเรื่อง เช่น 7.1 ก า ร แ ส ด ง เ ล่ ม ที่ (Volume guide) คื อ ตั ว เ ล ข อั ก ษ ร ห รื อ ส่ ว น ข อ ง ค า ที่ สั น ห นั ง สื อ ข อ ง ห นั ง สื อ มี ห ล า ย เ ล่ ม จ บ ช่วยให้ผู้ใช้ทราบว่าเรื่องที่ตนต้องการนั้นมีอยู่ในหนังสือเล่มใดในชุด 7.2 ด ร ร ช นี หั ว แ ม่ มื อ (Thumb index) บางสิ่งที่เรียกว่าดรรชนีที่ริมหน้ากระดาศพิมพ์ตัวอักษรกากับหน้าที่ริมกระดาษมีลักษณะเป็นรูปครึ่ งวงกลมช่วยให้เปิดค้นเรื่องในลาดับอักษรที่ต้องการได้เร็วขึ้นโดยเฉพาะหนังสือพจนานุกรมฉบับห นาๆควรมีดรรชนีหัวแม่มือด้วย 7.3 อั ก ษ ร น า ท า ง (Running head or guide word) คือคาที่ปรากฎอยุ่ที่มุมบนกระดาษทุกหน้าโดยเฉพาะหนังสือประเภทพ จนานุ กรม หรือสารานุกรมทาให้เราทราบโดยเร็วว่าเรื่องที่ต้องการอยู่หน้านั้นๆหรือไม่ 7.4 โยง (Reference) คือการแน ะ ให้ ดูจากเรื่ องห นึ่ งไปยัง อีกเรื่ องห นึ่ ง จพต้องเป็นส่วนโยงที่ช่วยให้ผู้ใช้ได้สะดวกและหาสิ่งที่ต้องการพบได้โดยไม่ทาให้ผู้ใช้เกิดสับสน
  • 3. 7.5 ดรรชนี (Index) คือลาดับคาหรือความเรียงตามลาดับตัวอักษรบอกเลขที่เล่ม เลขที่หน้า เป็นเครื่องทุนเวลาการค้นคว้าในเรื่ออที่ต้องการ การเรียงลาดับเนื้อหาของหนังสืออ้างอิง ก า ร เ รี ย บ เ รี ย ง เ นื้ อ ห า ข อ ง ห นั ง สื อ อ้ า ง อิ ง แต่ละประเภทย่อมแตกต่างกันแล้วแต่ความเหมาะสม โดยทั่วไปมีการเรียบเรียงแบบต่างๆดังนี้ 1. การเรียงแบบจนานุกรม เป็ นการเรียงตามตัวอักษร โดยไม่คานึงว่าเรื่องนั้น ๆ จะ เป็ น ชื่อ คน ส ถาน ที่ วิช าการ การเรี ยง แบ บ นี้ ไม่จาเป็ น ต้อ งมีดรรช นี เช่น หนังสือสารานุกรมไทยฉบับบัณฑิตสถาน เป็นต้น 2. การเรียงลาดับตัวอักษรเฉพาะประเภท เช่น เฉพาะชื่อคน เฉพาะวิชา ตัวอย่าง เช่น ใครเป็นใครในประเทศไทยเป็นต้น 3. เ รี ย ง ล า ดั บ ต า ม เ ว ล า ห รื อ เ ห ตุ ก า ร ณ์ เป็นการเรียงเนื้อหาในหนังสือตามลาดับก่อนหลังของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยมากเป็นหนังสือรายปี ประวัติศาสตร์การเรียงแบบนี้จาเป็นต้องมีดรรชนีท้ายเล่มจึงจะใช้ได้ผลดี 4. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ ต า ม ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ศ า ส ต ร์ อาจเรียงตามลาดับอักษรของแต่ละประเทศในโลกหรืออาจเรียงตามลักษณะภูมิศาสตร์เช่น แถบร้อน แถบขั้วโลก เป็นต้น 5. ก า ร เ รี ย ง ต า ม วิ ธี แ บ่ ง ห ม ว ด ห มู โดยมากเป็นหนังสือประเภทบรรณานุกรมการเรียงแบบนี้ทาให้ผู้ใช้ทราบว่าในหมวดวิชาหนึ่งๆมีผู้ ใดแต่งหนังสืออะไรบ้าง เช่นบรรณพิภพ ประโยชน์ของหนังสืออ้างอิง 1. ช่วยการศึกษาค้นหว้าโดยตรงอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เป็นการส่งเสริมการค้นหว้าด้วยตนเอง 3. การตอบคาถามได้รวดเร็ว จากลักษณะเฉพาะของหนังสืออ้างอิง 4. ให้ข้อเท็จจริงอย่างถูกต้องเพราะผู้เขียนมีคุณวุฒิเชื่อถือได้ 5. ช่วยให้ผู้ใช้มีความรู้กว้าง และทันสมัย จากการใช้หนังสืออ้างอิงหลายประเภท
  • 4. ประเภทของหนังสืออ้างอิง หนังสืออ้างอิงแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้3 ประเภท คือ 1. หนังสืออ้างอิงประเภทที่ให้สารสนเทศที่ต้องการโดยตรง คือเมื่อผู้ใช้อ่าน หนังสืออ้างอิงประเภทนี้ก็จะได้สารสนเทศที่ต้องการโดยตรงทันที ที่ควรรู้จักได้แก่ 1.1 พจนานุกรม (Dictionary) 1.2 สารานุกรม (Encyclopedia) 1.3 หนังสือรายปี (Yearbooks) 1.4 อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionary) 1.5 นามานุกรม (Directory) 1.6 หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical Sources) 1.7 หนังสือคู่มือ (Handbook) 1.8 สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication) 1.9 บรรณานุกรมและดรรชนี (Bibliographies) 1.10 ดรรชนี (Indexes) 2. หนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะหาสารสนเทศที่ต้องการได้จากแหล่งใด ห นั ง สื อ อ้าง อิ ง ป ร ะ เภ ท นี้ จะ ไม่ใ ห้ ส าร ส น เท ศ ที่ ผู้ใ ช้ ต้อ ง ก าร โ ด ย ต ร ง แต่จะบอกแหล่งสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการ 2.1 หนังสือบรรณานุกรม 2.2 หนังสือดรรชนีวารสาร 3 . ห นั ง สื อ ธ ร ร ม ด าที่ จัด เป็ น ห นั ง สื อ อ้ า ง อิ ง (Borderline Book) คื อ หนังสือวิชาการทั่วไปที่มีคุณค่าและเนื้อหาเหมาะที่จะทาเป็นหนังสืออ้างอิง เช่น สาส์นสมเด็จ ประชุมพงศาวดาร ลัทธิธรรมเนียมต่างๆ พระราชประวัติ และราชกิจจานุเบกษา เป็นต้น 1.1 พจนานุกรม (Dictionary) พ จ น า นุ ก ร ม เป็ น ห นั ง สื อ อ้ า ง อิ ง ที่ รู้ จัก แ ล ะ ใ ช้ กัน ม า ก ที่ สุ ด พจน านุ กรมจะ ให้ความหมายของคา การสะกดการัน ต์ การออกเสียงและการใช้คา พจนานุกรมมีลักษณะเฉพาะดังนี้ 1. รวบรวมคาทั้งหมดในภาษานั้น ๆออย่างสมบูรณ์ที่สุด 2. ให้คาจากัดความหรือความหมายของแต่ละคา 3. ให้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวสะกด ตัวการันต์ 4. อธิบายการออกเสียงของแต่ละตาพร้อมการอ่าน
  • 5. 5. ถ้ามีคาพ้องหรือคาตรงข้ามจะบอกไว้เพื่อศึกษา 6. อาจมีประวัติของคาบางคา 7. มีภาพประกอบสาหรับคาอธิบายให้เข้าใจยาก เช่น ลักษณะของสัตว์โบราณ 8. เรียงตามลาดับตัวอักษรอย่างเป็นระเบียบ 9. ให้ทราบชนิดของคา 10. แจ้งแหล่งที่มาของคา ประเภทของพจนานุกรมแบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. แบ่งตามเนื้อหา 2. แบ่งตามจานวนคาฉบับย่อ และฉบับสมบูรณ์ 3. แบ่งตามจานวนภาษา วิธีใช้พจนานุกรม 1. ก่ อ น ใ ช้ ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า ว่ า ค ว า ม รู้ ข อ ง ค า อ ย่ า ง ไ ร ละ เอียดห รือไม่จะ เลือกใ ห้เห มาะ สมกับลักษณ ะ เฉ พ าะ ของ พ จน านุ กรม เช่น ฉบับสมบูรณ์หรือฉบับย่อ เป็นคาทั่วไปหรือเฉพาะวิชา 2. เมื่ อ ใ ช้ แ ต่ ล ะ เ ล่ ม ต้ อ ง อ่ า น ค า ชี้ แ จ ง วิ ธี ใ ช้ ใ ห้ เ ข้ า ใ จ ก่อ น เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหาและเข้าใจความหมายของศัพท์ในกรณีมีอักษรย่อละสัญลั กษณ์ต่าง ๆ 3. ศึกษาเครื่องช่วยการค้นคาที่มีเฉพาะหนังสือแต่ละเล่มเช่น 3.1 อักษรนาแต่ละหน้า 3.2 ดัชนีหัวแม่มือ 3.3 ดรรชนีค้นคา 1.2 สารานุกรม (Encyclopedias) สารานุกรมเป็นหนังสือที่อธิบายเรื่องราวต่างๆทุกสาขาวิชาที่เกี่ยวกับสถานที่เหตุการณ์สาคั ญ ๆ ของโลกเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา อาจเป็นหมู่คณะหรือรายบุคคลสารานุกรม จึงเป็นแหล่งค้นหว้าความรู้เบื้องต้นทุกวิชา มีรายละเอียดพอสมควร ส่วนมากมีรูปภาพ แผนที่ และอื่น ๆ ประกอบให้เข้าใจยิ่งขึ้น สารานุกรมมีทั้งเล่มเดียวจบและเป็ น ชุดหลายเล่ม การเรียบเรียงมีทั้งตามลาดับและเรียงเป็นหมวดวิชา ประเภทของสารานุกรม แบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. แ ห ล่ง ส า รา นุ ก รม ทั่ วไ ป เป็ น ส าร านุ ก ร ม ที่ ร ว บ ร ว ม วิช าต่าง ๆ ไว้ด้วยกันส่วนมากจะเป็นหลายเล่มชุด
  • 6. 2. สารานุกรมเฉพาะวิชาเป็ นเฉพาะวิชาใดวิชาหนึ่ งให้ความรู้ค่อนข้างละเอียด ส่วนมากจะเป็นเล่มเดียวจบ วิธีใช้สารานุกรม 1. พิจารณาสารานุกรมให้ตรงกับเรื่องที่ต้องค้นว่าเป็นเรื่องเฉพาะวิชาหรือเป็นความรู้ทั่วไ ป 2. ค้นจากดรรชนี หรือเรื่องที่ต้องการว่าอยู่ส่วนใดหรือเล่มใด 3. ให้อักษรนาแต่ละเล่มเป็นประโยชน์เพื่อความรวดเร็ว 4. อ่านวิธีใช้แต่ละชุด เพราะลักษณะการเรียบเรียงจะแตกต่างกันตามลักษณะเนื้อหาผู้ผลิต ส า ห รั บ ส า ร า นุ ก ร ม ชุ ด นี้ นิ ย ม กั น จ ะ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง กั น ทุ ก ปี เพื่อให้เป็นสารานุกรมที่ทันสมัยอยู่เสมอบริษัทผู้ผลิตจึงจัดทาขึ้นเป็นหนังสือรายปีของสารานุกรมอ อกเพิ่มเติมทุกปี 1.3 หนังสือรายปี (Yearbooks) ห นั ง สื อ ร าย ปี คื อ ห นั ง สื อ ที่ มัก มี ก าห น ด อ อ ก เป็ น ป ร ะ จ า ทุ ก ปี และสรุปเรื่องราวเหตุการณ์สถิติต่าง ๆ ในรอบปีหนึ่ง ๆ เป็นสาคัญหนังสือภาษาไทยของเราเรียกว่า รายงานประจาปี ประเภทของหนังสือรายปี อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. หนังสือรายปีฉบับเพิ่มเติมจากสารานุกรมเป็นหนังสือทีบริษัทผลิตสารานุกรมชุด ต่าง ๆ พิมพ์เพิ่มเติมปรับปรุง 2. สมพัตรสร เป็นรายงานสถิติเรื่องราวต่าง ๆทั่วไปของโลกในรอบปีที่ผ่านไป 3. หนังสือสรุปผลงานประจาปีของหน่วยงานราชการ ส่วนมากจะเป็นกระทรวง ใหญ่ๆ ที่ต้องแถลงกิจการในรอบปีให้คนทั่วไปรับทราบ เช่น สานักสถิติแห่งชาติหรือกระทรวงศึกษาธิการ เป็นต้น 1.4 อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionary) อักขรานึกรมชีวประวัติ เป็นหนังสือรวมชีวประวัติบุคลสาคัญ กล่าวคือ ปีเกิดปีตาม ภูมิลาเนาส่วนตัวสภาพการแต่งงาน พื้นฐานการศึกษา แลละหน้าที่การงานปัจจุบันในกรณีเจ้าของ ชีวประวัติยังมีชีวิตอยู่อักขรานุกรมชีวประวัติให้รายละเอียดอย่างย่อถ้าต้องการลึกซึ้ง ต้องค้นจากแหล่งอื่น ๆ เช่น หนังสือชีวประวัติบุคคลที่จัดทาด้วนตนเองหรือผู้อื่น ประเภทของอักขรานุกรมชีวประวัติ แบ่งเป็น 3ประเภท ดังนี้ 1. ชีวประวัติบุคคลทั่วไป ไม่จากัดชาติ ศาสนา หรืออาชีพ 2. ชีวประวัติบุคคลเฉพาะในชาติ จะเป็นชาติใดชาติหนึ่งโดยเฉพาะ
  • 7. 3. ชีวประวัติบุคคลเฉพาะอาชีพ หรือสาชาวิชา นอกจากนี้อักขรานุกรมชีวประวัติของต่างประเทศอาจแบ่งเป็น 2ประเภทดังนี้ 1. ชีวประวัติของบุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ 2. ชีวประวัติของบุคคลที่ล่วงลับไปแล้ว 1.5 นามานุกรม (Directory) นามานุกรม คือ หนังสืออ้างอิงที่ให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชื่อต่าง ๆ ได้แก่ชื่อบุคคล ชื่ อ ส ถ าน ศึ ก ษ า ส โ มส ร อ ง ค์ ก าร บ ริ ษั ท ห้ าง ร้ าน ชื่ อ ส ถ าน ที่ เป็ น ต้ น ซึงต่างกับหนังสื อชีวประ วัติตรงที่น ามานุกรมไม่กล่าวถึงประวัติ แต่เน้น เรื่อที่อยู่ ตาแหน่งหน้าที่ของบุคคล หรือวัตถุประสงค์ขององค์กรเป็นต้น 1.6 หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical Sources) หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์เป็นหนังสืออ้างอิงที่ให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เช่น ประเทศ ที่ตั้ง ระยะทาง พร้อมทั้งภาพและแผนที่ประกอบ ประเภทของหนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ แบ่งเป็น 3ประเภทดังนี้ 1. อั ก ข ร า นุ ก ร ม ภู มิ ศ า ส ต ร์ ใ ห้ ค ว า ม รู้ ภู มิ ศ า ส ต ร์ เ มื อ ง ต่ า ง ๆ ตามลาดับอักษรบอกคาอ่านชื่อที่ถูกต้องอธิบายสั้น ๆเกี่ยวกับ เมือง ภูเขาแม่น้า พร้อมประวัติ 2. ห นั ง สื อ น า เ ที่ ย ว เป็นคู่คือนาเที่ยวแนะนาสถานที่ในแต่ละประเทศที่น่าสนใจอธิบายประวัติเกี่ยวกับสถานที่ค่าใช้จ่าย ที่ พั ก แ ร ม พ ร้ อ ม แ ผ น ผั ง ป ร ะ ก อ บ ส่วน มาก จะ เป็ น ข อง อ ง ค์ กร การส่ง เส ริ มการท่อ ง เที่ ยวข อง ป ระ เท ศ ต่าง ๆ เป็นหนังสืออ้างอิงชนิดเดียวที่จาเป็นต้องอ่านเกือบทั้งเล่ม 3. หนังสือแผนที่ แผนที่และลูกโลก ใช้ประกอบการศึกษาเรื่องที่ตั้งประเทศต่าง ๆ แสดงอาณาเขต แม่น้า ภูเขา ภูมิอากาศ และอื่นๆ 1.7 หนังสือคู่มือ (Handbook) ห นั ง สื อ คู่ มื อ คือหนังสืออ้างอิงที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือศึกษาค้นคว้าหรือปฏิบัติงานหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งเฉพาะเ รื่อง ในหนังสือจะให้รายละเอียดตั้งแต่ตัวเลข ข้อมูล สถิติ สูตร คาจากัดความ ความหมาย ตลอดจนแนวทางและเนื้อหาวิชาเฉพาะเรื่องนั้นๆ เช่น คู่มือนักศึกษา ประเภทของหนังสือคู่มือ แบ่งได้เป็น 2ประเภทดังนี้ 1. คู่มือสาหรับปฏิบัติงาน เช่น คู่มือซ่อมโทรทัศน์
  • 8. 2. คู่มือที่ให้ความรู้ต่าง ๆ เฉพาะด้าน เช่น คู่มือเลขานุการ คู่มือทางการแพทย์ 1.8 สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication) สิ่ ง พิ ม พ์ รั ฐ บ า ล ห ม า ย ถึ ง หนังสือหรือสิ่งพิมพ์ที่ทางราชการเป็นผู้รับผิดชอบในการพิมพ์เพื่อจาหน่ายหรือแจกแก่หน่วยงานห รือประชาชนผู้ที่สนใจ เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่ผลงานหรือวามเคลื่อนไหวใหม่ๆ ทางวิชาการแก่ประชาชน สิ่งพิมพ์รัฐบาลมีลักษณะหลายแบบเช่น หนังสือวารสารจุลสาร เอกสาร และรายงานประจาปี 1.9 บรรณานุกรมและดรรชนี (Bibliographies) บรรณานุกรม หมายถึง หนังสือที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ทุกประเภท จ ะ เ ป็ น วิ ช า เ ดี ย ว ห รื อ เ ฉ พ า ะ ข อ ง ส ถ า น บั น ใ ด ก็ ไ ด้ โดยจัดทาอย่างมีระเบียบสะดวกในการค้นหาอาจเป็นรายเดือน รายสามเดือน หรือรายปี ส่วนมากใช้เป็นคู่มือในการจัดหา ลักษณะการเรียบเรียงบรรณานุกรม การเรียบเรียงบรรณานุกรมมี 3แบบ ดังนี้ 1. เรียบเรียงรายชื่อธรรมดา โดยบอกชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สถานที่พิมพ์ สานักพิมพ์ จานวนหน้า 2. เรียบเรียงรายชื่อหนังสือโดยมีบรรณนิทัศน์สังเขป 3. เรียบเรียงรายชื่อหนังสือและมีคาวิจารณ์ประกอบเพิ่มเติม 1.10 ดรรชนี (Indexes) ด ร ร ช นี คื อ ห นั ง สื อ ที่ ร ว บ ร ว ม ชื่ อ บ ท ค ว าม จ า ก ว าร ส าร ต่า ง ๆ บอกให้ทราบว่าบทความที่ต้องการนั้นอยู่ในวารสารชื่ออะไร ฉบับที่เท่าไร่สะดวกต่อการค้นหา โดยไม่ต้องสารวจวารสารทุกเล่ม ดรรชนีวารสารมีผู้รวบรวมไว้หลายเล่มอาจเป็นวารสารทั่วๆ ไปหรือเฉพาะวิชาใดวิชาหนึ่ง วิธีใช้หนังสืออ้างอิง การใช้หนังสืออ้างอิงเพื่อการศึกษาค้นคว้า เพื่อให้ได้คาตอบรวดเร็วและตรงจุดมุ้งหมาย ผู้ใช้ต้องเลือกหนังสือให้ตรงกับปัญหา ดังนี้ 1. ความรู้ท าง ภ าษา เกี่ยวกับ ค าศัพ ท์ อัก ษ รย่อ ห รื อสั ญ ลักษ ณ์ ต่าง ๆ ควรค้นจากพจนานุกรมตามประเภทต่าง ๆ
  • 9. 2. ค ว า ม รู้ ทั่ ว ไ ป ทุ ก ส าข าวิช า ค้น ห าค า ต อ บ ไ ด้ จ าก ส า ร านุ ก ร ม โ ด ย ใ ช้ ด ร ร ช นี แ ต่ล ะ เล่ ม เป็ น คู่มื อ ถ้ ามี ห นั ง สื อ ร า ย ปี ฉ บั บ เพิ่ ม เติ ม ควรใช้หนังสือรายปีประกอบด้วยเพื่อคาตอบที่ทันสมัยและสมบูรณ์ 3. ความรู้เกี่ยวกับบุคคล จะค้นหลายแหล่ง เช่น 3.1 อักขรานุกรมชีวประวัติ 3.2 สารานุกรม 3.3 พจนานุกรมบางฉบับ (โดยเฉพาะภาษาอังกฤษฉบับสมบูรณ์) 3.4 ดรรชนีวารสาร 3.5 หนังสือรายปี ฉบับเพิ่มเติมสารานุกรม 4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์แต่ละช่วงเวลา ควรค้นจาก 4.1 หนังสือรายปี 4.2 ดรรชนีวารสาร 4.3 หนังสือแผนที่ 5. ความรู้ทางภูมิศาสตร์ จะค้นได้จาก 5.1 อักขรานุกรมทางภูมิศาสตร์ 5.2 สารานุกรม 6. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหนังสือและสิ่งพิมพ์ต่าง ๆคาตอบจะได้จาก 6.1 บรรณานุกรม 6.2 ดรรชนีวาร 6.3 สิ่งพิมพ์รัฐบาล