SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
(Constructivism)
By
กิติพงษ์ พรมบ้านเปลือย...อรรถพล หวานทรัพย์...สุภาวรรณ ลืนภูเขียว
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
• คืออะไร
• แนวคิดทฤษฎีที่ใช้
• ลักษณะการพัฒนารูปแบบการสอน
• บทบาทของครู และผู้เรียน
• การประยุกต์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
• การออกแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนว Constructivism จัดเป็นทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่ม ปัญญานิยม (cognitive psychology) มีรากฐานมาจากผลงาน
ของ Ausubel และ Piaget ประเด็นสาคัญประการแรกของทฤษฎีการ
เรียนรู้ตาม Constructivism คือ ผู้เรียนเป็นผู้สร้าง (Construct)ความรู้จาก
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม โดยใช้
กระบวนการทางปัญญา (cognitive apparatus) ของตน
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
• มัน คืออะไร
เทิดชัย บัวผาย ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้จัดกระทากับข้อมูลหรือ
ประสบการณ์ต่างๆ และจะต้องสร้างความหมายให้กับสิ่งนั้นด้วยตนเอง
โดยการให้ผู้เรียนอยู่ในบริบทจริง
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ ให้ความสาคัญกับกระบวนการ
และวิธีการของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์ รวมทั้ง
โครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อที่ใช้ในการแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่ง
ต่างๆ
• สุรางค์ โคว้ตระกูล ให้ความสาคัญกับกระบวนการและวิธีการ
ของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์ รวมทั้ง
โครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อ เพื่อแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่ง
ต่างๆ โดยจะต้องจัดกระทากับข้อมูล การเรียนรู้นี้เป็นกระบวนการ
ปฏิสัมพันธ์ภายในสมองแล้ว ยังเป็นกระบวนการทางสังคมด้วย
•
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
• ประเด็นสาคัญประการแรกของทฤษฎีการเรียนรู้ตาม Constructivism คือ
ผู้เรียนเป็นผู้สร้าง (Construct) ความรู้จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบ
เห็นกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม โดยใช้กระบวนการทางปัญญา
(cognitive apparatus) ของตน
• ประเด็นสาคัญประการที่สองของทฤษฎี คือ การเรียนรู้ตามโครงสร้างทาง
ปัญญา ผู้เรียนสร้างเสริมความรู้ผ่านกระบวนการทางจิตวิทยาด้วยตนเอง
ผู้สอนไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียนได้ แต่ผู้สอน
สามารถช่วยผู้เรียนปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาได้โดยจัดสภาพการณ์ที่
ทาให้เกิดภาวะไม่สมดุลขึ้น
ความสาคัญของทฤษฎี (Constructivism)
มีแนวคิดอย่างไร/แนวคิดทฤษฎีที่ใช้
• เริ่มต้นจาก Jean Piaget ซึ่งเสนอว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็น
กระบวนการส่วนบุคคลมีความเป็นอัตนัย
Vygotsky ได้ขยายขอบเขตการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลว่า เกิดจากการ
สื่อสารทางภาษากับบุคคลอื่น สาหรับด้านสังคมวิทยา
Emile Durkheim และคณะ เชื่อว่าสภาพแวดล้อมทางสังคมมีผลต่อ
การเสริมสร้างความรู้ใหม่ ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนว Constructivism จัดเป็น
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (cognitive psychology) มีรากฐานมาจาก
ผลงานของ Ausubel และ Piaget
ลักษณะการพัฒนารูปแบบการสอน
1. การสอนตามแนว Constructivism เน้นความสาคัญของกระบวนการ
เรียนรู้ของผู้เรียน และความสาคัญของความรู้เดิม
2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเป็นผู้แสดงความรู้ได้ด้วยตนเอง และสามารถสร้าง
ความรู้ด้วยตนเองได้
3. การเรียนรู้ต้องให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริง ค้นหาความรู้ด้วยตนเอง
เรียนรู้วิเคราะห์ต่อจนรู้จริงว่า ลึก ๆ แล้วสิ่งนั้นคืออะไร มีความสาคัญมาก
น้อยเพียงไร และศึกษาค้นคว้าให้ลึกซึ้งลงไป จนถึงรู้แจ้ง
บทบาทของครู และผู้เรียน
• บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้
1. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสังเกต สารวจเพื่อให้เห็นปัญญา
2. มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เช่นแนะนา ถามให้คิด หรือสร้างความรู้ได้ด้วย
ตนเอง
3. ช่วยให้ผู้เรียนคิดค้นต่อ ๆ ไป ให้ทางานเป็นกลุ่ม
4. ประเมินความคิดรวบยอดของผู้เรียน ตรวจสอบความคิดและทักษะการ
คิดต่าง ๆ การปฏิบัติการแก้ปัญหาและพัฒนาให้เคารพความคิดและเหตุผลของ
ผู้อื่น
บทบาทของผู้เรียน
1. มีความยินดีร่วมกิจกรรมทุกครั้งด้วยความสมัครใจ
2. เรียนรู้ได้เอง รู้จักแสวงหาความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆที่มีอยู่ด้วยตนเอง
3. ตัดสินปัญหาต่างๆอย่างมีเหตุผล
4. มีความรู้สึกและความคิดเป็นของตนเอง
5. วิเคราะห์พฤติกรรมของตนเองและผู้อื่นได้
6. ให้ความช่วยเหลือกันและกัน รับผิดชอบงานที่ตนเองและที่ได้รับมอบหมาย
7. นาสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้
บทบาทของครู และผู้เรียน
การประยุกต์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. การใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการให้ผู้เรียนสร้างสาระการ
เรียนรู้และผลงานต่าง ๆ ด้วยตนเอง
2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่มีบรรยากาศที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้
ผู้เรียนได้เลือกตามความสนใจ
3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทาในสิ่งที่สนใจ ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจใน
การคิด การทา และการเรียนรู้ต่อไป
4. จัดสภาพแวดล้อมที่มีความแตกต่างกัน เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้
เช่น วัย ความถนัด ความสามารถ และประสบการณ์
5. สร้างบรรยากาศที่มีความเป็นมิตร
6. ครูต้องทาหน้าที่อานวยความสะดวกในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน
7. การประเมินผลการเรียนรู้ต้องประเมินทั้งผลงานและกระบวนการ
8. ใช้วิธีการที่หลากหลายในการประเมิน เช่น การประเมินตนเอง
การประเมินโดยครูและเพื่อน การสังเกต การประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน
การประยุกต์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ
1 การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
2. ผู้เรียนแต่ละคนมีประสบการณ์และพื้นฐานความรู้แตกต่างกัน
3. พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาจะเห็นได้ชัดโดยที่ผู้เรียนสามารถรับสิ่งเร้าที่ให้
เลือกได้หลายอย่างพร้อม ๆ กันวิธีการที่ผู้เรียนใช้เป็นเครื่องมือในการค้นพบ
ความรู้
ขั้นพัฒนาการ 3 ขั้น ของบรูนเนอร์
1. วิธีการที่เรียกว่า เอนแอคทีป (Enactive Mode) ซึ่งเป็นวิธีที่มีปฏิสัมพันธ์
กับสิ่งแวดล้อม โดยการสัมผัสจับต้องด้วยมือผลักดึง
2. วิธีการที่เรียกว่า ไอคอนนิค (Iconic Mode) เมื่อเด็กสามารถที่จะสร้าง
จินตนาการหรือมโนภาพ (imagery) ขึ้นในใจได้
3. วิธีการที่ใช้สัญลักษณ์ หรือ Symbolic Mode วิธีการนี้ผู้เรียนจะใช้ในการ
เรียนรู้ เมื่อผู้เรียนมีความสามารถที่จะเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม
•
กระบวนการ ของความสมดุล
• เป็นการปรับตัว ของตนเอง ให้เข้ากับ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้อยู่ใน
สภาพสมดุล ประกอบด้วยกระบวนการ 2 อย่าง คือ
1.การซึมซาบหรือดูดซึม (Assimilation) มนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและ
ซึมซาบหรือดูดซึมเอา ประสบการณ์ใหม่ เข้าสู่ประสบการณ์เดิม
2. การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accomodation) เป็นกระบวนการที่ต่อ
เนื่องมาจากกระบวนการซึมซาบหรือดูดซึม คือ เมื่อได้ซึมซาบ หรือดูดซึม
เอาประสบการณ์ใหม่ เข้าไปในโครงสร้างเดิมแล้ว ก็จะทาการปรับ
ประสบการณ์ใหม่ ให้เข้ากับ โครงสร้างของความรู้เดิมที่มีอยู่ในสมอง แต่ถ้า
ไม่เข้ากันได้ก็จะทาการสร้างโครงสร้างใหม่ขึ้นมาใหม่
การออกแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
1. ผู้สอนต้องให้บริบทการเรียนรู้ที่มีความหมาย เพื่อสนับสนุน แรงจูงใจ
ภายในของผู้เรียน
2. สร้างรูปแบบการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากสิ่งที่รู้แล้วไปสู่สิ่งที่ไม่รู้
คล้ายกับ ทฤษฎีการเรียนรู้ อย่างมีความหมาย ของออสซูเบล คือให้เรียนรู้
จากสิ่งที่มีประสบการณ์มาก่อนไปสู่สิ่งที่เป็นเรื่องใหม่
3. ให้เกิดความสมดุลระหว่างการเรียนรู้แบบอนุมาน (Deductive) และ
อุปมาน (Inductive) คือ เรียนจากเรื่องทั่วไปไปสู่เรื่อง เฉพาะเจาะจง และ
เรียนจากเรื่องเฉพาะหรือตัวอย่างต่างๆ ไปสู่หลักการ ให้มีอย่างสมดุล
4. เน้นประโยชน์ของความผิดพลาด ผู้เรียนจะต้องหาวิธีแก้ไขข้อผิดพลาดไปสู่
เป้าประสงค์ที่ถูกต้อง
5. ให้ผู้เรียนคาดการณ์ล่วงหน้า ทฤษฎีการเรียนรู้นี้ไม่ได้มี การกาหนด
แนวทาง ความคิดอย่างแน่นอนตายตัว ดังนั้นผู้เรียนอาจ แสวงประสบการณ์
การเรียนรู้ได้ ตามสภาพแวดล้อม หรือเหตุการณ์ที่อานวยให้
การออกแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
สรุป ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง คือ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบ
สร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองนี้จะไม่เน้นการให้เนื้อหาที่ผู้เรียนจะต้องเรียนแต่
เน้นที่ตัวผู้เรียน และประสบการณ์ของผู้เรียน เพอร์กินได้อธิบาย
ว่า Constructivism ก็คือการที่ผู้เรียนไม่รับเอา หรือเก็บเอาไว้ แต่เฉพาะข้อมูล
ที่ได้รับแต่ต้องแปลความ ของข้อมูลเหล่านั้น โดยประสบการณ์ และเสริม
ขยาย ตลอดจนทดสอบ การแปลความนั้นด้วย

Contenu connexe

Tendances

การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
Teeraporn Pingkaew
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
Naracha Nong
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
khuwawa2513
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
Cholthicha JaNg
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
Gob Chantaramanee
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
stampmin
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 

Tendances (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
Collaborative learning
Collaborative learningCollaborative learning
Collaborative learning
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 

Similaire à ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism

การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
Weerachat Martluplao
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
Albert Sigum
 
เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2
Prachyanun Nilsook
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
Apinun Nadee
 

Similaire à ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism (20)

ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2
 
instructional design
instructional design instructional design
instructional design
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
พุทธิปัญญา
พุทธิปัญญาพุทธิปัญญา
พุทธิปัญญา
 
พุทธิปัญญา
พุทธิปัญญาพุทธิปัญญา
พุทธิปัญญา
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การพัฒนาแนวคิด
การพัฒนาแนวคิดการพัฒนาแนวคิด
การพัฒนาแนวคิด
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 

Plus de คน ขี้เล่า

Plus de คน ขี้เล่า (20)

4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
 
พรบ การศึกษา
พรบ การศึกษาพรบ การศึกษา
พรบ การศึกษา
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน  ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3
 
ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2
 
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
30 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __230 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __2
 
30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
 
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐเตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
 

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism

  • 2. ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง • คืออะไร • แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ • ลักษณะการพัฒนารูปแบบการสอน • บทบาทของครู และผู้เรียน • การประยุกต์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • การออกแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
  • 3. ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนว Constructivism จัดเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ กลุ่ม ปัญญานิยม (cognitive psychology) มีรากฐานมาจากผลงาน ของ Ausubel และ Piaget ประเด็นสาคัญประการแรกของทฤษฎีการ เรียนรู้ตาม Constructivism คือ ผู้เรียนเป็นผู้สร้าง (Construct)ความรู้จาก ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม โดยใช้ กระบวนการทางปัญญา (cognitive apparatus) ของตน
  • 4. ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism) • มัน คืออะไร เทิดชัย บัวผาย ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้จัดกระทากับข้อมูลหรือ ประสบการณ์ต่างๆ และจะต้องสร้างความหมายให้กับสิ่งนั้นด้วยตนเอง โดยการให้ผู้เรียนอยู่ในบริบทจริง ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ ให้ความสาคัญกับกระบวนการ และวิธีการของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์ รวมทั้ง โครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อที่ใช้ในการแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่ง ต่างๆ
  • 5. • สุรางค์ โคว้ตระกูล ให้ความสาคัญกับกระบวนการและวิธีการ ของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์ รวมทั้ง โครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อ เพื่อแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่ง ต่างๆ โดยจะต้องจัดกระทากับข้อมูล การเรียนรู้นี้เป็นกระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ภายในสมองแล้ว ยังเป็นกระบวนการทางสังคมด้วย • ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
  • 6. • ประเด็นสาคัญประการแรกของทฤษฎีการเรียนรู้ตาม Constructivism คือ ผู้เรียนเป็นผู้สร้าง (Construct) ความรู้จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบ เห็นกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม โดยใช้กระบวนการทางปัญญา (cognitive apparatus) ของตน • ประเด็นสาคัญประการที่สองของทฤษฎี คือ การเรียนรู้ตามโครงสร้างทาง ปัญญา ผู้เรียนสร้างเสริมความรู้ผ่านกระบวนการทางจิตวิทยาด้วยตนเอง ผู้สอนไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียนได้ แต่ผู้สอน สามารถช่วยผู้เรียนปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาได้โดยจัดสภาพการณ์ที่ ทาให้เกิดภาวะไม่สมดุลขึ้น ความสาคัญของทฤษฎี (Constructivism)
  • 7. มีแนวคิดอย่างไร/แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ • เริ่มต้นจาก Jean Piaget ซึ่งเสนอว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็น กระบวนการส่วนบุคคลมีความเป็นอัตนัย Vygotsky ได้ขยายขอบเขตการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลว่า เกิดจากการ สื่อสารทางภาษากับบุคคลอื่น สาหรับด้านสังคมวิทยา Emile Durkheim และคณะ เชื่อว่าสภาพแวดล้อมทางสังคมมีผลต่อ การเสริมสร้างความรู้ใหม่ ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนว Constructivism จัดเป็น ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (cognitive psychology) มีรากฐานมาจาก ผลงานของ Ausubel และ Piaget
  • 8. ลักษณะการพัฒนารูปแบบการสอน 1. การสอนตามแนว Constructivism เน้นความสาคัญของกระบวนการ เรียนรู้ของผู้เรียน และความสาคัญของความรู้เดิม 2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเป็นผู้แสดงความรู้ได้ด้วยตนเอง และสามารถสร้าง ความรู้ด้วยตนเองได้ 3. การเรียนรู้ต้องให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริง ค้นหาความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้วิเคราะห์ต่อจนรู้จริงว่า ลึก ๆ แล้วสิ่งนั้นคืออะไร มีความสาคัญมาก น้อยเพียงไร และศึกษาค้นคว้าให้ลึกซึ้งลงไป จนถึงรู้แจ้ง
  • 9. บทบาทของครู และผู้เรียน • บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ 1. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสังเกต สารวจเพื่อให้เห็นปัญญา 2. มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เช่นแนะนา ถามให้คิด หรือสร้างความรู้ได้ด้วย ตนเอง 3. ช่วยให้ผู้เรียนคิดค้นต่อ ๆ ไป ให้ทางานเป็นกลุ่ม 4. ประเมินความคิดรวบยอดของผู้เรียน ตรวจสอบความคิดและทักษะการ คิดต่าง ๆ การปฏิบัติการแก้ปัญหาและพัฒนาให้เคารพความคิดและเหตุผลของ ผู้อื่น
  • 10. บทบาทของผู้เรียน 1. มีความยินดีร่วมกิจกรรมทุกครั้งด้วยความสมัครใจ 2. เรียนรู้ได้เอง รู้จักแสวงหาความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆที่มีอยู่ด้วยตนเอง 3. ตัดสินปัญหาต่างๆอย่างมีเหตุผล 4. มีความรู้สึกและความคิดเป็นของตนเอง 5. วิเคราะห์พฤติกรรมของตนเองและผู้อื่นได้ 6. ให้ความช่วยเหลือกันและกัน รับผิดชอบงานที่ตนเองและที่ได้รับมอบหมาย 7. นาสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้ บทบาทของครู และผู้เรียน
  • 11. การประยุกต์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. การใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการให้ผู้เรียนสร้างสาระการ เรียนรู้และผลงานต่าง ๆ ด้วยตนเอง 2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่มีบรรยากาศที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้เลือกตามความสนใจ 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทาในสิ่งที่สนใจ ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจใน การคิด การทา และการเรียนรู้ต่อไป 4. จัดสภาพแวดล้อมที่มีความแตกต่างกัน เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ เช่น วัย ความถนัด ความสามารถ และประสบการณ์
  • 12. 5. สร้างบรรยากาศที่มีความเป็นมิตร 6. ครูต้องทาหน้าที่อานวยความสะดวกในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน 7. การประเมินผลการเรียนรู้ต้องประเมินทั้งผลงานและกระบวนการ 8. ใช้วิธีการที่หลากหลายในการประเมิน เช่น การประเมินตนเอง การประเมินโดยครูและเพื่อน การสังเกต การประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน การประยุกต์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
  • 13. แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ 1 การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง 2. ผู้เรียนแต่ละคนมีประสบการณ์และพื้นฐานความรู้แตกต่างกัน 3. พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาจะเห็นได้ชัดโดยที่ผู้เรียนสามารถรับสิ่งเร้าที่ให้ เลือกได้หลายอย่างพร้อม ๆ กันวิธีการที่ผู้เรียนใช้เป็นเครื่องมือในการค้นพบ ความรู้
  • 14. ขั้นพัฒนาการ 3 ขั้น ของบรูนเนอร์ 1. วิธีการที่เรียกว่า เอนแอคทีป (Enactive Mode) ซึ่งเป็นวิธีที่มีปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อม โดยการสัมผัสจับต้องด้วยมือผลักดึง 2. วิธีการที่เรียกว่า ไอคอนนิค (Iconic Mode) เมื่อเด็กสามารถที่จะสร้าง จินตนาการหรือมโนภาพ (imagery) ขึ้นในใจได้ 3. วิธีการที่ใช้สัญลักษณ์ หรือ Symbolic Mode วิธีการนี้ผู้เรียนจะใช้ในการ เรียนรู้ เมื่อผู้เรียนมีความสามารถที่จะเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม •
  • 15. กระบวนการ ของความสมดุล • เป็นการปรับตัว ของตนเอง ให้เข้ากับ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้อยู่ใน สภาพสมดุล ประกอบด้วยกระบวนการ 2 อย่าง คือ 1.การซึมซาบหรือดูดซึม (Assimilation) มนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและ ซึมซาบหรือดูดซึมเอา ประสบการณ์ใหม่ เข้าสู่ประสบการณ์เดิม 2. การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accomodation) เป็นกระบวนการที่ต่อ เนื่องมาจากกระบวนการซึมซาบหรือดูดซึม คือ เมื่อได้ซึมซาบ หรือดูดซึม เอาประสบการณ์ใหม่ เข้าไปในโครงสร้างเดิมแล้ว ก็จะทาการปรับ ประสบการณ์ใหม่ ให้เข้ากับ โครงสร้างของความรู้เดิมที่มีอยู่ในสมอง แต่ถ้า ไม่เข้ากันได้ก็จะทาการสร้างโครงสร้างใหม่ขึ้นมาใหม่
  • 16. การออกแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง 1. ผู้สอนต้องให้บริบทการเรียนรู้ที่มีความหมาย เพื่อสนับสนุน แรงจูงใจ ภายในของผู้เรียน 2. สร้างรูปแบบการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากสิ่งที่รู้แล้วไปสู่สิ่งที่ไม่รู้ คล้ายกับ ทฤษฎีการเรียนรู้ อย่างมีความหมาย ของออสซูเบล คือให้เรียนรู้ จากสิ่งที่มีประสบการณ์มาก่อนไปสู่สิ่งที่เป็นเรื่องใหม่ 3. ให้เกิดความสมดุลระหว่างการเรียนรู้แบบอนุมาน (Deductive) และ อุปมาน (Inductive) คือ เรียนจากเรื่องทั่วไปไปสู่เรื่อง เฉพาะเจาะจง และ เรียนจากเรื่องเฉพาะหรือตัวอย่างต่างๆ ไปสู่หลักการ ให้มีอย่างสมดุล
  • 17. 4. เน้นประโยชน์ของความผิดพลาด ผู้เรียนจะต้องหาวิธีแก้ไขข้อผิดพลาดไปสู่ เป้าประสงค์ที่ถูกต้อง 5. ให้ผู้เรียนคาดการณ์ล่วงหน้า ทฤษฎีการเรียนรู้นี้ไม่ได้มี การกาหนด แนวทาง ความคิดอย่างแน่นอนตายตัว ดังนั้นผู้เรียนอาจ แสวงประสบการณ์ การเรียนรู้ได้ ตามสภาพแวดล้อม หรือเหตุการณ์ที่อานวยให้ การออกแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
  • 18. สรุป ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง คือ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบ สร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองนี้จะไม่เน้นการให้เนื้อหาที่ผู้เรียนจะต้องเรียนแต่ เน้นที่ตัวผู้เรียน และประสบการณ์ของผู้เรียน เพอร์กินได้อธิบาย ว่า Constructivism ก็คือการที่ผู้เรียนไม่รับเอา หรือเก็บเอาไว้ แต่เฉพาะข้อมูล ที่ได้รับแต่ต้องแปลความ ของข้อมูลเหล่านั้น โดยประสบการณ์ และเสริม ขยาย ตลอดจนทดสอบ การแปลความนั้นด้วย