SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 1
วิชาการศึกษา
1. หลักสูตรและพัฒนาการของหลักสูตร
บิดาทางจิตวิทยา
จิตวิทยาการทดลอง = วิลเฮล์ม แมกซ์ วุนต์
อนุบาลศึกษา = ฟรอเบล
จิตวิทยาโลก, จิตวิทยาวิเคราะห์ = ซิกมุนด์ ฟอร์ย
จิตวิทยาสติปัญญา = อัลเฟรด บิเนต์
จิตวิทยาแผนใหม่,พฤติกรรม = จอห์น บี วัตสัน
แนะแนว = พาร์สัน
จิตวิทยาการศึกษา = ธอร์นไดด์
ปรัชญาการศึกษา
(Philosophy of Education)
1. สารัตถนิยม = วิลเลี่ยม ซี แบกเลย์
(เน้นทีสาระหรือแก่นสารที่สังคมต้องการ การอนุรักษ์วัฒนธรรมความเชื่อของสังคม ผู้สอนเป็นใหญ่ นักเรียน
ต้องทาตามผู้สอนเท่านั้น)
2. นิรันตรนิยม = โรเบิร์ต เอ็ม ฮัทชินส์
(เน้นหนักเรื่องเหตุผล ปลูกฝังความเชื่อค่านิยมที่ดีให้ผู้เรียน เน้นทักษะการคิด ผู้สอนเป็นผู้นาทางสติปัญญาแก่
ผู้เรียน)
3. พิพัฒนาการนิยม = รุสโซ, เปสตาลอสซี่, โฟรเบล, (จอห์น ดิวอี้ ได้รับความนิยม)
(สอนให้ผู้เรียนรู้จักคิด แก้ปัญหาด้วยตนเอง ให้ความสาคัญกับผู้เรียนมาก โดยถือว่า ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้
ด้วยการลงมือทา Learning by doing ผู้สอนมีหน้าที่คอยกระตุ้นผู้เรียน)
4.บูรณาการนิยมหรือปฏิรูปนิยม = ยอร์ช เอส เค้าทส์, ธีโอเดอร์ บราเมล
(การศึกษาต้องช่วยแก้ปัญหาสังคม ผู้เรียนจะถูกปลูกฟังให้รู้หน้าที่ ผู้สอนต้องเชื่อในหลักของประชาธิปไตยและ
สอนให้ผู้เรียน ผู้สอนต้องเป็นนักบุกเบิก นักแก้ปัญหาสังคม) หลักสูตร 51 ใช้หลักการนี้
5. อัตถิภาวนิยม = ชอเรนคีร์ เคกอร์ด, เอ เอส นิลล์
(เน้นเรื่องเสรีภาพ ผู้เรียนมีเสรีภาพในการเรียน ผู้สอนต้องถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด ครูเป็นเพียงผู้คอยกระตุ้นให้
กาลังใจแก่นักเรียนให้เขาตื่นตัวเลือกแนวทางถูกต้องตามความพอใจ)
6. พุทธปรัชญาการศึกษา = สาโรช บัวศรี
(ศีล สมาธิ ปัญญา ผู้ต้องเป็นกัลยาณมิตร สอนด้วยความมุ่งหวังให้ศิษย์มีคุณธรรม)
********************************************
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 2
แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษา
1. เปตาลอสซี่
- การพยายามทาให้การทั่วไปเข้ากันได้ * - คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
- ครูต้องพยายามให้เด็กสังเกต เรียนรู้จากสิ่งที่ง่ายสุดก่อน
2. ฟลอเบล
- เรียนปนเล่น * - เน้นเด็กอนุบาล
- การเล่นเกมส์ร้องเพลง * - การสร้าง * - การให้สิ่งของและใช้งาน
3. แอร์บาร์ต
- การศึกษาประกอบด้วย 3 ส่วน 1. การปกครอง 2. การสอน 3. การอบรม
- หลักการสอน 5 ขั้น 1. ขั้นเตรียม 2. ขั้นสอน 3. ขั้นสัมพันธ์ 4. ขั้นสรุป 5. การนาไปใช้
4. ธอร์นไดร์
- ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง สิ่งเร้า vs สิ่งตอบสนอง
- 3 กฎ 1.กฎแห่งการกระทาซ้า 2. กฎแห่งผล 3. กฎแห่งความพร้อม
5. ดิวดี้
- มนุษย์จะมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ได้ ด้วยประสบการณ์เท่านั้น
- Learning by Doing การเรียนรู้จากการกระทา
6. มอนเตสซอรี
- จัดกิจกรรมของโรงเรียนให้เหมาะกับผู้เรียนแต่ละคน
- ให้เด็กทางานอย่างอิสระ
- เน้นการแบ่งแยกระบบประสาท
7. รุสโซ่
- เด็กที่เกิดมาเปรียบเสมือนผ้าขาว
- การให้การศึกษาแก่เด็ก ต้องทาความเข้าใจธรรมชาติของเด็ก
- เน้นการศึกษารายบุคคล
8. สกินเนอร์
การเรียนรู้แบบการกระทา การเสริมแรง เป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้คนแสดงพฤติกรรมตอบสนอง โดยอาศัย
สิ่งเร้าในตัวเองกระตุ้น
9. โรเบิร์ต กาเย่
ทฤษฎีการรับรู้ข้อมูล
หลักการสอน 9 ประการ * เร่งเร้าความสนใจ * บอกวัตถุประสงค์ * ทบทวนความรู้เดิม *นาเสนอ
เนื้อหาใหม่ * ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ * กระตุ้นการเรียนรู้ * ให้ข้อมูลย้อนกลับ* ทดสอบความรู้ใหม่ * สรุป
และนาไปใช้
10. บลูม
พุทธิพิสัย(K) - ทักษะพิสัย (P) – จิตพิสัย (A)
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 3
11. เพียเจต์
มนุษย์มีพื้นฐาน 2 อย่างคือ 1. การจัดและการรวบรวม 2. การปรับตัว * เน้นเรื่อง เชาว์ปัญญา
แรกเกิด – 2 ปี = เด็กสามารถจับต้องได้และเป็นสิ่งที่เด็กต้องลงมือกระทา
18 เดือน – 7 ปี = สามารถใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของรอบตัวได้
7 – 11 ปี = สร้างภาพในใจและสามารถนาเสนอได้
12 – วัยผู้ใหญ่ = สามารถบอกสิ่งต่างๆ ถึงแม้ข้อมูลมีไม่เพียงพอ
12. บรูเนอร์
การจัดการเรียนการสอนควรมีการจัดเนื้อหาวิชาที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ มีความลึกซึ้ง
ซับซ้อนและกว้างขวางออกไปตามประสบการณ์
********************************************
ประวัติความเป็นมา หลักสูตรการศึกษาของไทย
สมัยสุโขทัย
แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 คือ
1. สายฆราวาส เน้นด้านวิชาชีพ เรียนรู้ในครอบครัวหรือจากญาติ
2. สายบรรพชิต เน้นการศึกษาพระไตรปิฎก พระเจ้าแผ่นดินสนับสนุน
ในปีมหาศักราช 1205 ปีมะแม (พ.ศ.1826) พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้น
เรียกว่า ลายสือไทย
สมัยกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.1893-2310
1. วัดเป็นศูนย์กลาง พระสงฆ์มีบทบาทในการจัดการศึกษา
2. วิชาชีพ เช่น การทานา ทาสวน การช่างต่าง ๆ สาหรับผู้ชายก็จะเน้นศิลปะป้องกันตัว เช่น มวย ฟัน
ดาบ กระบี่กระบอง เป็นต้น
3. ราชสานัก เน้นสอนกฎหมาย อักษรศาสตร์ ราชประเพณี วิชาปกครอง การรบ เป็นต้น
* ยุคที่เฟื่องฟูที่สุดคือ สมัยสมเด็จพระนารายมหาราช เกิดวรรณคดีมากมาย เช่น สมุทโฆษคาฉันท์
ลิลิตพระลอ อนิรุทธิ์คาฉันท์ เป็นต้น
* จินดามณี เป็นแบบเรียนเล่มแรกของไทย (พระมหาราชครู เป็นผู้แต่ง)
สมัยกรุงธนบุรี
เนื่องด้วยกรุงธนบุรี เป็นเมืองหลวงเพียง 15 ปี ทาให้การศึกษาไม่ค่อยเจริญ แต่ก็เป็นพื้นฐานให้กับ
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (ร.1-ร.4) พ.ศ.2325-2411
มีการกาหนดหลักการและวิธีการในการจัดการศึกษา เรียกว่า มาติกาการศึกษา
มีหนังสือเรียน 5 เล่ม คือ ประถม ก กา ,สุบินทกุมาร, ปฐมมาลา, ประถมจินดามณี เล่ม 1,
ประถมจินดามณีเล่ม 2
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 4
สมัยปฏิรูปการศึกษา (ร.5-ร.7) พ.ศ.2411-2475
ร.5 เป็นสมัยแห่งการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ
ร.6 มีการปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง
* พ.ศ.2435 ตั้งกระทรวงชื่อว่า กระทรวงธรรมการ
ร. 7 การศึกษาสมัยนี้ควรถือคุณภาพ ไม่ใช่ถือเอาจานวน
สมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475-2503
เกิดแผนการศึกษาแห่งชาติ 3 ฉบับ พ.ศ.2475 พ.ศ.2479 พ.ศ.2494
นโยบายการศึกษา 2520-2535
เน้นการพัฒนาการศึกษาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
********************************************
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
* คาสั่งที่ ที่ สพฐ 293/2551 * สั่งเมื่อ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
* ผู้ลงนาม นายสมชาย วงค์สวัสดิ์ * ผู้ให้ความเห็นชอบ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
* โรงเรียนต้นแบบใช้ พ.ศ.2552 * โรงเรียนทั่วไปใช้ พ.ศ.2553
* ใช้ครบทุกชั้น พ.ศ.2555
วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นกาลังของชาติ ................ และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
หลักการ มี 6 ข้อ (ออกข้อสอบบ่อย)
1. เพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ 2. เพื่อปวงชน
3. เพื่อสนองการกระจายอานาจ 4. โครงสร้างยืดหยุ่น
5. เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 6. สาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และ
ตามอัธยาศัย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์
จุดมุ่งหมายมี 5 ข้อ
1. มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์
2. มีความรู้อันสากลสามารถในการสื่อสาร คิด แก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีและแก้ปัญหาชีวิต
3. มีสุขภาพกายและจิตดี
4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและโลก
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและความเป็นไทย
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน(ความสามารถในการ)
1. สื่อสาร 2. คิด 3. แก้ปัญหา 4. ทักษะชีวิต 5. เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ข้อ
1. รักชาติ ศาสนา กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 5
มาตรฐานการเรียนรู้ (ตรงกับแนวคิดของ การ์ดเนอร์)
1. ภาษาไทย 5. สุขศึกษาและพลศึกษา
2. คณิตศาสตร์ 6. ศิลปะ
3. วิทยาศาสตร์ 7. การงานอาชีพ
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 8. ภาษาต่างประเทศ
ตัวชี้วัด
สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติ แบ่งออกเป็น 2 คือ
1. ตัวชี้วัดชั้นปี การศึกษาภาคบังคับ (ป.1-ม.3)
2. ตัวชี้วัดช่วงชั้น ม.ปลาย (ม.4-6)
สาระน่ารู้ (ออกข้อสอบบ่อย ถ้ามหาลัยออก)
1. ภาษาไทย (5 สาระ 5 มาตรฐาน)
1. การอ่าน 4. หลักการใช้ภาษาไทย
2.การเขียน 5. วรรณคดีและวรรณกรรม
3.การฟัง การดู การพูด
2. คณิตศาสตร์ ( 6 สาระ 14 มาตรฐาน)
1. จานวนและการดาเนินการ 4. พีชคณิต
2. การวัด 5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
3. เรขาคณิต 6. ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์ ( 8 สาระ 13 มาตรฐาน)
1. สิ่งมีชีวิตและกระบวนการดารงชีวิต 5. พลังงาน
2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
3. สารและสมบัติของสาร 7. ดาราศาสตร์และอวกาศ
4. แรงและการเคลื่อนที่ 8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ( 5 สาระ 11 มาตรฐาน)
1. ศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม 4. ประวัติศาสตร์
2. หน้าที่พลเมือง 5. ภูมิศาสตร์
3. เศรษฐศาสตร์
5. สุขศึกษาและพลศึกษา ( 5 สาระ 6 มาตรฐาน)
1. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์4.
2. ชีวิตและครอบครัว 4. การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค
3. การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย 5. ความปลอดภัยในชีวิต
6. ศิลปะ (3 สาระ 6 มาตรฐาน)
1. ทัศนศิลป์ 3. นาฏศิลป์
2. ดนตรี
7. การงานอาชีพ (4 สาระ 4 มาตรฐาน)
1. การดารงชีวิตและครอบครัว 3. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2. การออกแบบและเทคโนโลยี 4. การอาชีพ
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 6
8. ภาษาต่างประเทศ ( 4 สาระ 8 มาตรฐาน)
1. ภาษาเพื่อการสื่อสาร 3. ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
2. ภาษาและวัฒนธรรม 4. ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1. กิจกรรมแนะแนว ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง, เข้าใจผู้อื่น
2. กิจกรรมนักเรียน มุ่งเน้นพัฒนาความมีระเบียบวินัย เป็นผู้นา และผู้ตามที่ดี เช่น ลูกเสือ
เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รด ชุมนุม เป็นต้น
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
ระดับการศึกษา /การจัดเวลาเรียน
1. ประถมศึกษา ป.1-ป.6 เรียนวันละไม่น้อยกว่า 5 ชั่วโมง (จัดเป็นรายปี)
2. มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1-ม.3 เรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง (จัดเป็นรายภาค)
3. มัธยมศึกษาตอนปลาย ม.4-ม.6 เรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง (จัดเป็นรายภาค)
โครงสร้างเวลาเรียน
ชั้น เวลาเรียน
พื้นฐาน
พัฒนา
ผู้เรียน
เพิ่มเติม เวลาทั้งหมด บาเพ็ญประโยชน์
ป.1 840 120
ปีละไม่น้อยกว่า
40 ชั่วโมง
ไม่น้อยกว่า 1,000
ชั่วโมงต่อปี รวม 6 ปี 60 ชั่วโมง
ป.2 840 120
ป.3 840 120
ป.4 840 120
ป.5 840 120
ป.6 840 120
ม.1 840 120 ปีละไม่น้อยกว่า
200 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 1,200
ชั่วโมงต่อปี
รวม 3 ปี 45 ชั่วโมง
ม.2 840 120
ม.3 840 120
ม.4-ม.6 1,640 360 ไม่น้อยกว่า
360 ชั่วโมง
รวม 3ปี
ไม่น้อยกว่า 3,600
ชั่วโมง
รวม 3 ปี 60 ชั่วโมง
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
1. ระดับชั้นเรียน เช่น การซักถาม ตรวจการบ้าน ชิ้นงาน
2. ระดับสถานศึกษา เช่น การสอบระหว่างภาค, ปลายภาค, การประเมินคุณลักษณะ
3. ระดับเขตพื้นที่ เช่น การสอบ Pre O-net
4. ระดับชาติ เช่น การสอบ O-net
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
ประถมศึกษา
ผลการเรียน = ให้ระดับคุณภาพ เช่น ดีมาก ดี พอใจ ปรับปรุง เป็นต้น
การอ่าน,วิเคราะห์,คุณลักษณะ = ดีเยี่ยม, ดี, ผ่าน, ไม่ผ่าน
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 7
กิจกรรมพัฒนา = ผ่าน, ไม่ผ่าน
การจบ = ผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากาหนด
O-net = 80 : 20
มัธยมศึกษาตอนต้น
ผลการเรียน = 8 ระดับ
การอ่าน,วิเคราะห์,คุณลักษณะ = ดีเยี่ยม, ดี, ผ่าน, ไม่ผ่าน
กิจกรรมพัฒนา = ผ่าน, ไม่ผ่าน
การจบ = วิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต เพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 11 (77)
O-net = 80 : 20
มัธยมศึกษาตอนปลาย
ผลการเรียน = 8 ระดับ
การอ่าน,วิเคราะห์,คุณลักษณะ = ดีเยี่ยม, ดี, ผ่าน, ไม่ผ่าน
กิจกรรมพัฒนา = ผ่าน, ไม่ผ่าน
การจบ = วิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต เพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 36 (77)
O-net = 80 : 20
เอกสารหลักฐานการศึกษา
ปพ.1 ระเบียนแสดงการเรียนมี จาแนกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
* ปพ.1 : ป ประถมศึกษา * ปพ.1 : บ ภาคบังคับ * ปพ.1 : พ ขั้นพื้นฐาน
* ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา สั่งซื้อ * สกสค.จัดพิมพ์ ภายใต้การควบคุมของ สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ
ปพ.2 แบบพิมพ์ประกาศนียบัตร จาแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
* ปพ.2 : บ จบภาคบังคับ * ปพ.2 : พ จบขั้นพื้นฐาน
* ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา สั่งซื้อ * สกสค.จัดพิมพ์ ภายใต้การควบคุมของ สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ
* ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานกับผู้อานวยการ ลงนาม
ปพ.3 แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา จาแนกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
* ปพ.3 : ป ประถมศึกษา * ปพ.3 : บ ภาคบังคับ * ปพ.3 : พ ขั้นพื้นฐาน
* ผู้อานวยการ สั่งซื้อ * สกสค.จัดพิมพ์ ภายใต้การควบคุมของ สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ
******** ใบประกาศนียบัตรชารุด เสียหาย ค่าธรรมเนียม ฉบับละ 20 บาท
******** มาขอรับเมื่อพ้นกาหนด 10 ปี ค่าธรรมเนียม ฉบับละ 30 บาท
หลักสูตรสถานศึกษา
- ส่วนนา (ความนา วิสัยทัศน์ สมรรถนะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ฯลฯ)
- โครงสร้างเวลาเรียน/โครงสร้างหลักสูตร
- คาอธิบายรายวิชา
- กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- เกณฑ์การจบการศึกษา
********************************************
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 8
2. หลักการสอนและการจัดการเรียนรู้
ขั้นตอนวิธีการสอนของ แอร์บาร์ต
เตรียม > สอน > สัมพันธ์หรือทบทวนเปรียบเทียบ > สรุป > นาไปใช้
กาเย่
สร้างความสนใจ > แจ้งจุดประสงค์ > กระตุ้นผู้เรียนให้ระลึกถึงความรู้เดิม > เสนอบทเรียนใหม่ > ให้
แนวทางการเรียนรู้ > ให้ลงมือปฏิบัติ > ให้ข้อมูลป้อนกลับ > ประเมินพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์ > ส่งเสริม
ความแม่นยา
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
หลักการจัดการศึกษา (มาตรา 8)
1. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน
2. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
3. พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้ว่าผู้เรียนมีความสาคัญมากที่สุด
การสอนแบบการแก้ปัญหา
กาหนดขอบเขตของปัญหา > ตั้งสมมติฐาน > ทดลองและรวบรวมข้อมูล > วิเคราะห์ข้อมูล> สรุป
4 MAT (แมคคาร์ธี)
1. Why = ทาไม ชอบจินตนาการ, มีเหตุผล
2. What = อะไร ชอบวิเคราะห์, ข้อเท็จจริง
3. How = อย่างไร ชอบสามัญสานึก, ชอบวางแผน
4. If = ถ้าอย่างนั้น ชอบหาคาตอบด้วยตนเอง
CIPPAMODEL (ทิศนา แขมมณี)
C : Construct ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง
I : Interaction ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์
P : Physical Participation ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย ทากิจกรรม
P : Process Learning การเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ * ทักษะจาเป็นต่อการดารงชีวิต
A : Application ผู้เรียนนาไปประยุกต์ใช้
* คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
* STAD แบ่งกลุ่ม 4 คน ให้คนเก่งสอนคนอ่อน>สอบ>เอาคะแนนมารวมกันแล้วหาร>ประกาศ
* TGT เหมือน STAD แต่ไม่มีการสอบทุกสัปดาห์ เปลี่ยนกลุ่มทุกสัปดาห์
* TAI แบ่งกลุ่มสติปัญญา ความง่ายยากตามสติปัญญา ให้รางวัลแก่คนที่ได้คะแนนดีกว่าเดิม
* GI สืบสวน สอบสวนเป็นกลุ่ม
* LT การเรียนรู้ร่วมกัน
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 9
Six Thinking Hats
สีขาว ความคิดที่เป็นกลาง เช่น เรามีข้อมูลอะไรบ้าง เราได้มาด้วยวิธีใด
สีแดง อารมณ์ ความโกรธ ความสนุก อบอุ่นใจ เช่น เรารู้สึกอย่างไร
สีดา เหตุผลด้านลบ การปฏิเสธ ค้นหาจุดอ่อน เช่น อะไรคือจุดอ่อน
สีเหลือง ความสว่างไสว คิดบวก เช่น จุดดีคืออะไร
สีเขียว ความเจริญเติบโต สมบูรณ์ เช่น นักเรียนจะนาความคิดนี้ไปพัฒนาอะไรได้
สีฟ้า เยือกเย็น การจัดระเบียบ เช่น ขั้นตอนต่อไปคืออะไร
PBL การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
นิรมัย สอนแบบส่วนรวมไปหาส่วนย่อย
อุปมัย สอนแบบส่วนย่อยไปหาส่วนรวม
********************************************
3. จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
จิตวิทยา Psyche Logos เดิมศึกษาเรื่อง วิญญาณ ปัจจุบันศึกษาเรื่อง พฤติกรรม
พฤติกรรม การกระทาหรือกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ ที่ทาไปโดยรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม แบ่งเป็น 2 คือ
1. ภายนอก (Over Behavior)
1.1 โมลาร์ พฤติกรรมที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น การยืน เดิน นอน เป็นต้น
1.2 โมเลกุล พฤติกรรมที่ต้องใช้เครื่องมือตรวจสอบ เช่น การเต้นของหัวใจ เป็นต้น
2. ภายใน (Covert Behavior) พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตเห็น พฤติกรรมที่ปิดบังไว้
เช่น ความจา ความรู้ เป็นต้น
1. โครงสร้างจิต (แมกกซ์ วุ้น)
การได้สัมผัสเป็นสิ่งสาหรับการเรียนรู้ ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1. การสัมผัส 2. การรู้สึก 3. มโน
ภาพ (จดจาประสบการณ์)
2. หน้าที่ทางจิต (วิลเลี่ยม เจมส์) (จอห์น ดิวอี้)
จิตมีหน้าที่ควบคุมกระวนการทุกอย่างในร่างกายทาให้ปรับเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
3. จิตวิเคราะห์ (ซิกมันด์ ฟรอยด์)
เน้นเรื่องจิตไร้สานึก พฤติกรรม Id > Ego > Super Ego
4. พฤติกรรมนิยม (จอห์น บี วัตสัน)
การเรียนรู้ โดยมีเงื่อนไข สิ่งเร้า
5. มนุษยนิยม (โรเจอร์) (มาสโลว์)
1. ด้านร่างกาย
2. ด้านความมั่นคงปลอดภัย
3. การติดต่อสัมพันธ์
4. การยกย่องนับถือจากผู้อื่น
5. การใช้ความสามารถของตนเองให้เป็นประโยชน์มากที่สุด
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 10
6. สติปัญญา
การเรียนรู้ คือ การแก้ปัญหา
การเรียนรู้เกิดจากส่วนรวมไปหาส่วนย่อย
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข พาฟลอฟ (ใช้สุนัขในการทดลอง)
ผงเนื้อ สิ่งเท้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไขเป็นสิ่งเร้าแท้ UCS
กระดิ่ง เป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไง สิ่งเร้าเทียม CS
น้าลายหลั่งจากผงเนื้อ เป็นการตอบสนองโดยไม่ต้องวางเงื่อนไง UCR
น้าลายหลั่งหลังจากเสียงกระดิ่ง เป็นการสอบสนองโดยวางเงื่อนไข CR
สารน่ารู้
* วัตสัน = หนูขาว * ฟาฟลอพ = สุนัข * ธอรนไดร์ = แมว
* วัยทารก แรกเกิด – 2 ปี
* วัยอนุบาล 3-6 ปี
* วัยรุ่น 12-20 ปี
* Odepus Complex เด็กชายหวงแม่
* Electra Complex เด็กหญิงหวงพ่อ
* ไอคิวปานกลาง 90-109
* การแนะแนว เป็นหน้าที่ของฝ่ายกิจการ
********************************************
4. การพัฒนาผู้เรียน
สมรรถนะหลัก (Core Competency) มี 5 คือ
1. มุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน 4. การทางานเป็นทีม
2. การบริการที่ดี 5. จริยธรรม และจรราบรรณวิชาชีพครู
3. การพัฒนาตนเอง
สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) มี 6 คือ
1. การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 4.การวิเคราะห์ สังคม และวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2. การพัฒนาผู้เรียน 5. ภาวะผู้นาครู
3. การบริหารจัดการชั้นเรียน 6. การสร้างความสัมพันธ์ ความร่วมมือกับชุมชน
คติพจน์ของลูกเสือ
ลูกเสือสารอง ทาดีที่สุด ป.1-ป.3
ลูกเสือสามัญ จงเตรียมพร้อม ป.4-ป.6
ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ มองไกล ม.1-ม.3
ลูกเสือวิสามัญ บริการลูกเสือ ม.4-ม.6
ทุกประเภท เสียชีพ อย่าเสียสัตย์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบ่งออกเป็น 3
1. กิจกรรมแนะแนว 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
2. กิจกรรมนักเรียน
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 11
การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
1. รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
2. การคัดกรองนักเรียน
3. การส่งเสริมนักเรียน
4. การป้องกันและแก้ไขปัญหา
5. การส่งต่อ
********************************************
5. การบริหารจัดการชั้นเรียน
บรรยากาศในห้องเรียน
บรรยากาศท้าทาย กระตุ้นให้กาลังใจนักเรียนเพื่อให้ประสบความสาเร็จในการทางาน
บรรยากาศอบอุ่น นักเรียนเป็นบุคคลสาคัญ มีคุณค่า และเรียนได้
บรรยากาศอิสระ นักเรียนมีโอกาสได้คิด ติดสินใจ ไม่ตึงเครียด
บรรยากาศแห่งการควบคุม รู้จักใช้สิทธิหน้าที่ของตนเองอย่างมีขอบเขต
การจัดโต๊ะ = ห่างจากกระดานดา ไม่น้อยกว่า 3 เมตร การลบกระดาน = ลบบนลงล่าง
********************************************
6. การวิจัยทางการศึกษา
การวิจัย หมายถึง การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ หรือ การแก้ปัญหา หาคาตอบโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนในการทาวิจัย
กาหนดปัญหา > ตั้งสมมติฐาน > รวบรวมข้อมูล > วิเคราะห์ข้อมูล > สรุปผล
การเขียนรายงานวิจัย
บทนา > เอกสารและรายงานที่เกี่ยวข้อง > วิธีดาเนินการวิจัย > ผลการวิเคราะห์ข้อมูล > สรุป
อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
คุณสมบัติของเครื่องมือวิจัย เที่ยงตรง มีความตรง ใช้ประโยชน์ได้
********************************************
7. สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี
สื่อ (อเมริกา) = วัสดุ > อุปกรณ์ > วิธีการ
สื่อ (หลักสูตร 51) = สื่อสิ่งพิมพ์ > สื่อเทคโนโลยี > สื่ออื่น
กรวยประสบการ นามธรรม... รูปธรรม (เอ็ดการ์ เดล)
กระดานชอล์ค สีเขียว, ผู้เรียนควรนั่งอาณาเขตมุม 60 องศา, ห่างจากระดานอย่างน้อย 3 เมตร
แม่สีช่างเขียน สีแดง สีเหลือง และสีน้าเงิน
แม่สีวิทยาศาสตร์ สีแดง สีเขียว และสีม่วง
แม่สีจิตวิทยา สีแดง สีเหลือง สีน้าเงิน และสีเขียว
วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 12
สีแดง ความรัก ความเกลียด โกรธ อันตราย ความกล้าหาญ ความแข็งแรง
สีเหลือง ความอบอุ่น ความสงบ ความเจริญ ความร่าเริง
สีน้าเงิน เยือกเย็น ความสงบ ความจริง
สีดา ประณีต รวย เป็นงานเป็นการ เงียบเหงา ความตาย
สีเขียว หนุ่ม อ่อนวัย สดชื่น ความซื่อสัตย์
สีขาว สะอาด ประณีต ความบริสุทธิ์
สีส้ม พลังงาน ร่าเริง สดใส สนุกสนาน มั่งคั่ง
สีม่วง สูงศักดิ์ ร่ารวย หรูหรา ความเคร่งขรึม
นาฎการ 1. การแสดงละคร 2. หุ่นชีวิต 3. การแสดงบทบาท 4. การแสดงหุ่น
ไมโครโฟน มี 6 ชนิด ที่นิยมใช้มากที่สุด คือ ระบบไดนามิค
คณะกรรมการประเมินสื่อ3-5 คน วิทยุ SW MW FM
บิดาแห่งคอมพิวเตอร์ เบบเบจ โปรแกรมเมอร์ ออกุสต้า
การเกิดนวัตกรรมการศึกษา
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล 3. เวลาที่ใช้ในการศึกษา
2. ความพร้อม 4. การขยายตัวด้านวิชาการและอัตราประชากร
.com สาหรับธุรกิจ .edu สาหรับการศึกษา .org หน่วยงานไม่แสวงหาผลกาไร
.int องค์กรนานาชาติ .net หน่วยงาที่มีเครือข่ายของตนเอง
เทคโนโลยีของระบบสารสนเทศในปัจจุบัน
OIS ระบบสนับสนุนการทางานในการปฏิบัติงานประจาวัน
MIS ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
DSS ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
EIS ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง
ES ระบบผู้เชี่ยวชาญ
PMDOS สานักงานยกรัฐมนตรี > กระทรวงศึกษาธิการ > สพฐ. > สพท. > โรงเรียน
8. การวัดและการประเมินผลการศึกษา
ปรัชญา ทดสอบเพื่อค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพของมนุษย์
ความหมาย กระบวนการที่ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปริมาณ คุณภาพ หรือคุณลักษณะ
เครื่องมือที่ใช้วัดผู้เรียน
1. ความเที่ยงตรง 2. ความเชื่อมั่น 3. ความยาก
4. อานาจจาแนก 5. ความเป็นปรนัย
ค่าความยากควรอยู่ที่ .20-.80
** พัฒนาของเด็ก กาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา
วิทยากร วิทยากรท้องถิ่น, ถามนักเรียน

Contenu connexe

Tendances

แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนphysical04
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 

Tendances (20)

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 

Similaire à สรุปวิชาการศึกษา

04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยChalee Pop
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพMaprang-jaa
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 

Similaire à สรุปวิชาการศึกษา (20)

04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4
 
Edu system
Edu systemEdu system
Edu system
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
26 symbols ofthailand+188
26 symbols ofthailand+18826 symbols ofthailand+188
26 symbols ofthailand+188
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 

Plus de คน ขี้เล่า

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยคน ขี้เล่า
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนคน ขี้เล่า
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน  ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน คน ขี้เล่า
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนคน ขี้เล่า
 
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาคน ขี้เล่า
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
30 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __230 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __2คน ขี้เล่า
 
30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _คน ขี้เล่า
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1คน ขี้เล่า
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้คน ขี้เล่า
 
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆคน ขี้เล่า
 
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐเตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐคน ขี้เล่า
 

Plus de คน ขี้เล่า (20)

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
3ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
 
พรบ การศึกษา
พรบ การศึกษาพรบ การศึกษา
พรบ การศึกษา
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน  ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3
 
ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2
 
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
30 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __230 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __2
 
30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _30 แนวข อสอบความรอบร _
30 แนวข อสอบความรอบร _
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
 
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
 
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐเตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
 

สรุปวิชาการศึกษา

  • 1. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 1 วิชาการศึกษา 1. หลักสูตรและพัฒนาการของหลักสูตร บิดาทางจิตวิทยา จิตวิทยาการทดลอง = วิลเฮล์ม แมกซ์ วุนต์ อนุบาลศึกษา = ฟรอเบล จิตวิทยาโลก, จิตวิทยาวิเคราะห์ = ซิกมุนด์ ฟอร์ย จิตวิทยาสติปัญญา = อัลเฟรด บิเนต์ จิตวิทยาแผนใหม่,พฤติกรรม = จอห์น บี วัตสัน แนะแนว = พาร์สัน จิตวิทยาการศึกษา = ธอร์นไดด์ ปรัชญาการศึกษา (Philosophy of Education) 1. สารัตถนิยม = วิลเลี่ยม ซี แบกเลย์ (เน้นทีสาระหรือแก่นสารที่สังคมต้องการ การอนุรักษ์วัฒนธรรมความเชื่อของสังคม ผู้สอนเป็นใหญ่ นักเรียน ต้องทาตามผู้สอนเท่านั้น) 2. นิรันตรนิยม = โรเบิร์ต เอ็ม ฮัทชินส์ (เน้นหนักเรื่องเหตุผล ปลูกฝังความเชื่อค่านิยมที่ดีให้ผู้เรียน เน้นทักษะการคิด ผู้สอนเป็นผู้นาทางสติปัญญาแก่ ผู้เรียน) 3. พิพัฒนาการนิยม = รุสโซ, เปสตาลอสซี่, โฟรเบล, (จอห์น ดิวอี้ ได้รับความนิยม) (สอนให้ผู้เรียนรู้จักคิด แก้ปัญหาด้วยตนเอง ให้ความสาคัญกับผู้เรียนมาก โดยถือว่า ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้ ด้วยการลงมือทา Learning by doing ผู้สอนมีหน้าที่คอยกระตุ้นผู้เรียน) 4.บูรณาการนิยมหรือปฏิรูปนิยม = ยอร์ช เอส เค้าทส์, ธีโอเดอร์ บราเมล (การศึกษาต้องช่วยแก้ปัญหาสังคม ผู้เรียนจะถูกปลูกฟังให้รู้หน้าที่ ผู้สอนต้องเชื่อในหลักของประชาธิปไตยและ สอนให้ผู้เรียน ผู้สอนต้องเป็นนักบุกเบิก นักแก้ปัญหาสังคม) หลักสูตร 51 ใช้หลักการนี้ 5. อัตถิภาวนิยม = ชอเรนคีร์ เคกอร์ด, เอ เอส นิลล์ (เน้นเรื่องเสรีภาพ ผู้เรียนมีเสรีภาพในการเรียน ผู้สอนต้องถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด ครูเป็นเพียงผู้คอยกระตุ้นให้ กาลังใจแก่นักเรียนให้เขาตื่นตัวเลือกแนวทางถูกต้องตามความพอใจ) 6. พุทธปรัชญาการศึกษา = สาโรช บัวศรี (ศีล สมาธิ ปัญญา ผู้ต้องเป็นกัลยาณมิตร สอนด้วยความมุ่งหวังให้ศิษย์มีคุณธรรม) ********************************************
  • 2. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 2 แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษา 1. เปตาลอสซี่ - การพยายามทาให้การทั่วไปเข้ากันได้ * - คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล - ครูต้องพยายามให้เด็กสังเกต เรียนรู้จากสิ่งที่ง่ายสุดก่อน 2. ฟลอเบล - เรียนปนเล่น * - เน้นเด็กอนุบาล - การเล่นเกมส์ร้องเพลง * - การสร้าง * - การให้สิ่งของและใช้งาน 3. แอร์บาร์ต - การศึกษาประกอบด้วย 3 ส่วน 1. การปกครอง 2. การสอน 3. การอบรม - หลักการสอน 5 ขั้น 1. ขั้นเตรียม 2. ขั้นสอน 3. ขั้นสัมพันธ์ 4. ขั้นสรุป 5. การนาไปใช้ 4. ธอร์นไดร์ - ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง สิ่งเร้า vs สิ่งตอบสนอง - 3 กฎ 1.กฎแห่งการกระทาซ้า 2. กฎแห่งผล 3. กฎแห่งความพร้อม 5. ดิวดี้ - มนุษย์จะมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ได้ ด้วยประสบการณ์เท่านั้น - Learning by Doing การเรียนรู้จากการกระทา 6. มอนเตสซอรี - จัดกิจกรรมของโรงเรียนให้เหมาะกับผู้เรียนแต่ละคน - ให้เด็กทางานอย่างอิสระ - เน้นการแบ่งแยกระบบประสาท 7. รุสโซ่ - เด็กที่เกิดมาเปรียบเสมือนผ้าขาว - การให้การศึกษาแก่เด็ก ต้องทาความเข้าใจธรรมชาติของเด็ก - เน้นการศึกษารายบุคคล 8. สกินเนอร์ การเรียนรู้แบบการกระทา การเสริมแรง เป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้คนแสดงพฤติกรรมตอบสนอง โดยอาศัย สิ่งเร้าในตัวเองกระตุ้น 9. โรเบิร์ต กาเย่ ทฤษฎีการรับรู้ข้อมูล หลักการสอน 9 ประการ * เร่งเร้าความสนใจ * บอกวัตถุประสงค์ * ทบทวนความรู้เดิม *นาเสนอ เนื้อหาใหม่ * ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ * กระตุ้นการเรียนรู้ * ให้ข้อมูลย้อนกลับ* ทดสอบความรู้ใหม่ * สรุป และนาไปใช้ 10. บลูม พุทธิพิสัย(K) - ทักษะพิสัย (P) – จิตพิสัย (A)
  • 3. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 3 11. เพียเจต์ มนุษย์มีพื้นฐาน 2 อย่างคือ 1. การจัดและการรวบรวม 2. การปรับตัว * เน้นเรื่อง เชาว์ปัญญา แรกเกิด – 2 ปี = เด็กสามารถจับต้องได้และเป็นสิ่งที่เด็กต้องลงมือกระทา 18 เดือน – 7 ปี = สามารถใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของรอบตัวได้ 7 – 11 ปี = สร้างภาพในใจและสามารถนาเสนอได้ 12 – วัยผู้ใหญ่ = สามารถบอกสิ่งต่างๆ ถึงแม้ข้อมูลมีไม่เพียงพอ 12. บรูเนอร์ การจัดการเรียนการสอนควรมีการจัดเนื้อหาวิชาที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ มีความลึกซึ้ง ซับซ้อนและกว้างขวางออกไปตามประสบการณ์ ******************************************** ประวัติความเป็นมา หลักสูตรการศึกษาของไทย สมัยสุโขทัย แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 คือ 1. สายฆราวาส เน้นด้านวิชาชีพ เรียนรู้ในครอบครัวหรือจากญาติ 2. สายบรรพชิต เน้นการศึกษาพระไตรปิฎก พระเจ้าแผ่นดินสนับสนุน ในปีมหาศักราช 1205 ปีมะแม (พ.ศ.1826) พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้น เรียกว่า ลายสือไทย สมัยกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.1893-2310 1. วัดเป็นศูนย์กลาง พระสงฆ์มีบทบาทในการจัดการศึกษา 2. วิชาชีพ เช่น การทานา ทาสวน การช่างต่าง ๆ สาหรับผู้ชายก็จะเน้นศิลปะป้องกันตัว เช่น มวย ฟัน ดาบ กระบี่กระบอง เป็นต้น 3. ราชสานัก เน้นสอนกฎหมาย อักษรศาสตร์ ราชประเพณี วิชาปกครอง การรบ เป็นต้น * ยุคที่เฟื่องฟูที่สุดคือ สมัยสมเด็จพระนารายมหาราช เกิดวรรณคดีมากมาย เช่น สมุทโฆษคาฉันท์ ลิลิตพระลอ อนิรุทธิ์คาฉันท์ เป็นต้น * จินดามณี เป็นแบบเรียนเล่มแรกของไทย (พระมหาราชครู เป็นผู้แต่ง) สมัยกรุงธนบุรี เนื่องด้วยกรุงธนบุรี เป็นเมืองหลวงเพียง 15 ปี ทาให้การศึกษาไม่ค่อยเจริญ แต่ก็เป็นพื้นฐานให้กับ สมัยรัตนโกสินทร์ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (ร.1-ร.4) พ.ศ.2325-2411 มีการกาหนดหลักการและวิธีการในการจัดการศึกษา เรียกว่า มาติกาการศึกษา มีหนังสือเรียน 5 เล่ม คือ ประถม ก กา ,สุบินทกุมาร, ปฐมมาลา, ประถมจินดามณี เล่ม 1, ประถมจินดามณีเล่ม 2
  • 4. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 4 สมัยปฏิรูปการศึกษา (ร.5-ร.7) พ.ศ.2411-2475 ร.5 เป็นสมัยแห่งการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ ร.6 มีการปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง * พ.ศ.2435 ตั้งกระทรวงชื่อว่า กระทรวงธรรมการ ร. 7 การศึกษาสมัยนี้ควรถือคุณภาพ ไม่ใช่ถือเอาจานวน สมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475-2503 เกิดแผนการศึกษาแห่งชาติ 3 ฉบับ พ.ศ.2475 พ.ศ.2479 พ.ศ.2494 นโยบายการศึกษา 2520-2535 เน้นการพัฒนาการศึกษาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ******************************************** หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 * คาสั่งที่ ที่ สพฐ 293/2551 * สั่งเมื่อ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 * ผู้ลงนาม นายสมชาย วงค์สวัสดิ์ * ผู้ให้ความเห็นชอบ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน * โรงเรียนต้นแบบใช้ พ.ศ.2552 * โรงเรียนทั่วไปใช้ พ.ศ.2553 * ใช้ครบทุกชั้น พ.ศ.2555 วิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นกาลังของชาติ ................ และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ หลักการ มี 6 ข้อ (ออกข้อสอบบ่อย) 1. เพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ 2. เพื่อปวงชน 3. เพื่อสนองการกระจายอานาจ 4. โครงสร้างยืดหยุ่น 5. เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 6. สาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และ ตามอัธยาศัย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์ จุดมุ่งหมายมี 5 ข้อ 1. มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ 2. มีความรู้อันสากลสามารถในการสื่อสาร คิด แก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีและแก้ปัญหาชีวิต 3. มีสุขภาพกายและจิตดี 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและโลก 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและความเป็นไทย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน(ความสามารถในการ) 1. สื่อสาร 2. คิด 3. แก้ปัญหา 4. ทักษะชีวิต 5. เทคโนโลยี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ข้อ 1. รักชาติ ศาสนา กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 5. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 5 มาตรฐานการเรียนรู้ (ตรงกับแนวคิดของ การ์ดเนอร์) 1. ภาษาไทย 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 2. คณิตศาสตร์ 6. ศิลปะ 3. วิทยาศาสตร์ 7. การงานอาชีพ 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 8. ภาษาต่างประเทศ ตัวชี้วัด สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติ แบ่งออกเป็น 2 คือ 1. ตัวชี้วัดชั้นปี การศึกษาภาคบังคับ (ป.1-ม.3) 2. ตัวชี้วัดช่วงชั้น ม.ปลาย (ม.4-6) สาระน่ารู้ (ออกข้อสอบบ่อย ถ้ามหาลัยออก) 1. ภาษาไทย (5 สาระ 5 มาตรฐาน) 1. การอ่าน 4. หลักการใช้ภาษาไทย 2.การเขียน 5. วรรณคดีและวรรณกรรม 3.การฟัง การดู การพูด 2. คณิตศาสตร์ ( 6 สาระ 14 มาตรฐาน) 1. จานวนและการดาเนินการ 4. พีชคณิต 2. การวัด 5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 3. เรขาคณิต 6. ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ ( 8 สาระ 13 มาตรฐาน) 1. สิ่งมีชีวิตและกระบวนการดารงชีวิต 5. พลังงาน 2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 3. สารและสมบัติของสาร 7. ดาราศาสตร์และอวกาศ 4. แรงและการเคลื่อนที่ 8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ( 5 สาระ 11 มาตรฐาน) 1. ศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม 4. ประวัติศาสตร์ 2. หน้าที่พลเมือง 5. ภูมิศาสตร์ 3. เศรษฐศาสตร์ 5. สุขศึกษาและพลศึกษา ( 5 สาระ 6 มาตรฐาน) 1. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์4. 2. ชีวิตและครอบครัว 4. การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค 3. การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย 5. ความปลอดภัยในชีวิต 6. ศิลปะ (3 สาระ 6 มาตรฐาน) 1. ทัศนศิลป์ 3. นาฏศิลป์ 2. ดนตรี 7. การงานอาชีพ (4 สาระ 4 มาตรฐาน) 1. การดารงชีวิตและครอบครัว 3. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2. การออกแบบและเทคโนโลยี 4. การอาชีพ
  • 6. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 6 8. ภาษาต่างประเทศ ( 4 สาระ 8 มาตรฐาน) 1. ภาษาเพื่อการสื่อสาร 3. ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น 2. ภาษาและวัฒนธรรม 4. ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. กิจกรรมแนะแนว ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง, เข้าใจผู้อื่น 2. กิจกรรมนักเรียน มุ่งเน้นพัฒนาความมีระเบียบวินัย เป็นผู้นา และผู้ตามที่ดี เช่น ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รด ชุมนุม เป็นต้น 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ระดับการศึกษา /การจัดเวลาเรียน 1. ประถมศึกษา ป.1-ป.6 เรียนวันละไม่น้อยกว่า 5 ชั่วโมง (จัดเป็นรายปี) 2. มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1-ม.3 เรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง (จัดเป็นรายภาค) 3. มัธยมศึกษาตอนปลาย ม.4-ม.6 เรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง (จัดเป็นรายภาค) โครงสร้างเวลาเรียน ชั้น เวลาเรียน พื้นฐาน พัฒนา ผู้เรียน เพิ่มเติม เวลาทั้งหมด บาเพ็ญประโยชน์ ป.1 840 120 ปีละไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 1,000 ชั่วโมงต่อปี รวม 6 ปี 60 ชั่วโมง ป.2 840 120 ป.3 840 120 ป.4 840 120 ป.5 840 120 ป.6 840 120 ม.1 840 120 ปีละไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 1,200 ชั่วโมงต่อปี รวม 3 ปี 45 ชั่วโมง ม.2 840 120 ม.3 840 120 ม.4-ม.6 1,640 360 ไม่น้อยกว่า 360 ชั่วโมง รวม 3ปี ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง รวม 3 ปี 60 ชั่วโมง การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ 1. ระดับชั้นเรียน เช่น การซักถาม ตรวจการบ้าน ชิ้นงาน 2. ระดับสถานศึกษา เช่น การสอบระหว่างภาค, ปลายภาค, การประเมินคุณลักษณะ 3. ระดับเขตพื้นที่ เช่น การสอบ Pre O-net 4. ระดับชาติ เช่น การสอบ O-net เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน ประถมศึกษา ผลการเรียน = ให้ระดับคุณภาพ เช่น ดีมาก ดี พอใจ ปรับปรุง เป็นต้น การอ่าน,วิเคราะห์,คุณลักษณะ = ดีเยี่ยม, ดี, ผ่าน, ไม่ผ่าน
  • 7. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 7 กิจกรรมพัฒนา = ผ่าน, ไม่ผ่าน การจบ = ผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากาหนด O-net = 80 : 20 มัธยมศึกษาตอนต้น ผลการเรียน = 8 ระดับ การอ่าน,วิเคราะห์,คุณลักษณะ = ดีเยี่ยม, ดี, ผ่าน, ไม่ผ่าน กิจกรรมพัฒนา = ผ่าน, ไม่ผ่าน การจบ = วิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต เพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 11 (77) O-net = 80 : 20 มัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการเรียน = 8 ระดับ การอ่าน,วิเคราะห์,คุณลักษณะ = ดีเยี่ยม, ดี, ผ่าน, ไม่ผ่าน กิจกรรมพัฒนา = ผ่าน, ไม่ผ่าน การจบ = วิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต เพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 36 (77) O-net = 80 : 20 เอกสารหลักฐานการศึกษา ปพ.1 ระเบียนแสดงการเรียนมี จาแนกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ * ปพ.1 : ป ประถมศึกษา * ปพ.1 : บ ภาคบังคับ * ปพ.1 : พ ขั้นพื้นฐาน * ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา สั่งซื้อ * สกสค.จัดพิมพ์ ภายใต้การควบคุมของ สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ ปพ.2 แบบพิมพ์ประกาศนียบัตร จาแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ * ปพ.2 : บ จบภาคบังคับ * ปพ.2 : พ จบขั้นพื้นฐาน * ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา สั่งซื้อ * สกสค.จัดพิมพ์ ภายใต้การควบคุมของ สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ * ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานกับผู้อานวยการ ลงนาม ปพ.3 แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา จาแนกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ * ปพ.3 : ป ประถมศึกษา * ปพ.3 : บ ภาคบังคับ * ปพ.3 : พ ขั้นพื้นฐาน * ผู้อานวยการ สั่งซื้อ * สกสค.จัดพิมพ์ ภายใต้การควบคุมของ สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ ******** ใบประกาศนียบัตรชารุด เสียหาย ค่าธรรมเนียม ฉบับละ 20 บาท ******** มาขอรับเมื่อพ้นกาหนด 10 ปี ค่าธรรมเนียม ฉบับละ 30 บาท หลักสูตรสถานศึกษา - ส่วนนา (ความนา วิสัยทัศน์ สมรรถนะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ฯลฯ) - โครงสร้างเวลาเรียน/โครงสร้างหลักสูตร - คาอธิบายรายวิชา - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - เกณฑ์การจบการศึกษา ********************************************
  • 8. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 8 2. หลักการสอนและการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนวิธีการสอนของ แอร์บาร์ต เตรียม > สอน > สัมพันธ์หรือทบทวนเปรียบเทียบ > สรุป > นาไปใช้ กาเย่ สร้างความสนใจ > แจ้งจุดประสงค์ > กระตุ้นผู้เรียนให้ระลึกถึงความรู้เดิม > เสนอบทเรียนใหม่ > ให้ แนวทางการเรียนรู้ > ให้ลงมือปฏิบัติ > ให้ข้อมูลป้อนกลับ > ประเมินพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์ > ส่งเสริม ความแม่นยา พรบ.การศึกษาแห่งชาติ หลักการจัดการศึกษา (มาตรา 8) 1. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน 2. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3. พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้ว่าผู้เรียนมีความสาคัญมากที่สุด การสอนแบบการแก้ปัญหา กาหนดขอบเขตของปัญหา > ตั้งสมมติฐาน > ทดลองและรวบรวมข้อมูล > วิเคราะห์ข้อมูล> สรุป 4 MAT (แมคคาร์ธี) 1. Why = ทาไม ชอบจินตนาการ, มีเหตุผล 2. What = อะไร ชอบวิเคราะห์, ข้อเท็จจริง 3. How = อย่างไร ชอบสามัญสานึก, ชอบวางแผน 4. If = ถ้าอย่างนั้น ชอบหาคาตอบด้วยตนเอง CIPPAMODEL (ทิศนา แขมมณี) C : Construct ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง I : Interaction ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ P : Physical Participation ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย ทากิจกรรม P : Process Learning การเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ * ทักษะจาเป็นต่อการดารงชีวิต A : Application ผู้เรียนนาไปประยุกต์ใช้ * คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI * STAD แบ่งกลุ่ม 4 คน ให้คนเก่งสอนคนอ่อน>สอบ>เอาคะแนนมารวมกันแล้วหาร>ประกาศ * TGT เหมือน STAD แต่ไม่มีการสอบทุกสัปดาห์ เปลี่ยนกลุ่มทุกสัปดาห์ * TAI แบ่งกลุ่มสติปัญญา ความง่ายยากตามสติปัญญา ให้รางวัลแก่คนที่ได้คะแนนดีกว่าเดิม * GI สืบสวน สอบสวนเป็นกลุ่ม * LT การเรียนรู้ร่วมกัน
  • 9. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 9 Six Thinking Hats สีขาว ความคิดที่เป็นกลาง เช่น เรามีข้อมูลอะไรบ้าง เราได้มาด้วยวิธีใด สีแดง อารมณ์ ความโกรธ ความสนุก อบอุ่นใจ เช่น เรารู้สึกอย่างไร สีดา เหตุผลด้านลบ การปฏิเสธ ค้นหาจุดอ่อน เช่น อะไรคือจุดอ่อน สีเหลือง ความสว่างไสว คิดบวก เช่น จุดดีคืออะไร สีเขียว ความเจริญเติบโต สมบูรณ์ เช่น นักเรียนจะนาความคิดนี้ไปพัฒนาอะไรได้ สีฟ้า เยือกเย็น การจัดระเบียบ เช่น ขั้นตอนต่อไปคืออะไร PBL การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน นิรมัย สอนแบบส่วนรวมไปหาส่วนย่อย อุปมัย สอนแบบส่วนย่อยไปหาส่วนรวม ******************************************** 3. จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว จิตวิทยา Psyche Logos เดิมศึกษาเรื่อง วิญญาณ ปัจจุบันศึกษาเรื่อง พฤติกรรม พฤติกรรม การกระทาหรือกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ ที่ทาไปโดยรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม แบ่งเป็น 2 คือ 1. ภายนอก (Over Behavior) 1.1 โมลาร์ พฤติกรรมที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น การยืน เดิน นอน เป็นต้น 1.2 โมเลกุล พฤติกรรมที่ต้องใช้เครื่องมือตรวจสอบ เช่น การเต้นของหัวใจ เป็นต้น 2. ภายใน (Covert Behavior) พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตเห็น พฤติกรรมที่ปิดบังไว้ เช่น ความจา ความรู้ เป็นต้น 1. โครงสร้างจิต (แมกกซ์ วุ้น) การได้สัมผัสเป็นสิ่งสาหรับการเรียนรู้ ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1. การสัมผัส 2. การรู้สึก 3. มโน ภาพ (จดจาประสบการณ์) 2. หน้าที่ทางจิต (วิลเลี่ยม เจมส์) (จอห์น ดิวอี้) จิตมีหน้าที่ควบคุมกระวนการทุกอย่างในร่างกายทาให้ปรับเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม 3. จิตวิเคราะห์ (ซิกมันด์ ฟรอยด์) เน้นเรื่องจิตไร้สานึก พฤติกรรม Id > Ego > Super Ego 4. พฤติกรรมนิยม (จอห์น บี วัตสัน) การเรียนรู้ โดยมีเงื่อนไข สิ่งเร้า 5. มนุษยนิยม (โรเจอร์) (มาสโลว์) 1. ด้านร่างกาย 2. ด้านความมั่นคงปลอดภัย 3. การติดต่อสัมพันธ์ 4. การยกย่องนับถือจากผู้อื่น 5. การใช้ความสามารถของตนเองให้เป็นประโยชน์มากที่สุด
  • 10. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 10 6. สติปัญญา การเรียนรู้ คือ การแก้ปัญหา การเรียนรู้เกิดจากส่วนรวมไปหาส่วนย่อย ทฤษฎีการวางเงื่อนไข พาฟลอฟ (ใช้สุนัขในการทดลอง) ผงเนื้อ สิ่งเท้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไขเป็นสิ่งเร้าแท้ UCS กระดิ่ง เป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไง สิ่งเร้าเทียม CS น้าลายหลั่งจากผงเนื้อ เป็นการตอบสนองโดยไม่ต้องวางเงื่อนไง UCR น้าลายหลั่งหลังจากเสียงกระดิ่ง เป็นการสอบสนองโดยวางเงื่อนไข CR สารน่ารู้ * วัตสัน = หนูขาว * ฟาฟลอพ = สุนัข * ธอรนไดร์ = แมว * วัยทารก แรกเกิด – 2 ปี * วัยอนุบาล 3-6 ปี * วัยรุ่น 12-20 ปี * Odepus Complex เด็กชายหวงแม่ * Electra Complex เด็กหญิงหวงพ่อ * ไอคิวปานกลาง 90-109 * การแนะแนว เป็นหน้าที่ของฝ่ายกิจการ ******************************************** 4. การพัฒนาผู้เรียน สมรรถนะหลัก (Core Competency) มี 5 คือ 1. มุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน 4. การทางานเป็นทีม 2. การบริการที่ดี 5. จริยธรรม และจรราบรรณวิชาชีพครู 3. การพัฒนาตนเอง สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) มี 6 คือ 1. การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 4.การวิเคราะห์ สังคม และวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 2. การพัฒนาผู้เรียน 5. ภาวะผู้นาครู 3. การบริหารจัดการชั้นเรียน 6. การสร้างความสัมพันธ์ ความร่วมมือกับชุมชน คติพจน์ของลูกเสือ ลูกเสือสารอง ทาดีที่สุด ป.1-ป.3 ลูกเสือสามัญ จงเตรียมพร้อม ป.4-ป.6 ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ มองไกล ม.1-ม.3 ลูกเสือวิสามัญ บริการลูกเสือ ม.4-ม.6 ทุกประเภท เสียชีพ อย่าเสียสัตย์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบ่งออกเป็น 3 1. กิจกรรมแนะแนว 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 2. กิจกรรมนักเรียน
  • 11. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 11 การดูแลช่วยเหลือนักเรียน 1. รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. การคัดกรองนักเรียน 3. การส่งเสริมนักเรียน 4. การป้องกันและแก้ไขปัญหา 5. การส่งต่อ ******************************************** 5. การบริหารจัดการชั้นเรียน บรรยากาศในห้องเรียน บรรยากาศท้าทาย กระตุ้นให้กาลังใจนักเรียนเพื่อให้ประสบความสาเร็จในการทางาน บรรยากาศอบอุ่น นักเรียนเป็นบุคคลสาคัญ มีคุณค่า และเรียนได้ บรรยากาศอิสระ นักเรียนมีโอกาสได้คิด ติดสินใจ ไม่ตึงเครียด บรรยากาศแห่งการควบคุม รู้จักใช้สิทธิหน้าที่ของตนเองอย่างมีขอบเขต การจัดโต๊ะ = ห่างจากกระดานดา ไม่น้อยกว่า 3 เมตร การลบกระดาน = ลบบนลงล่าง ******************************************** 6. การวิจัยทางการศึกษา การวิจัย หมายถึง การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ หรือ การแก้ปัญหา หาคาตอบโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นตอนในการทาวิจัย กาหนดปัญหา > ตั้งสมมติฐาน > รวบรวมข้อมูล > วิเคราะห์ข้อมูล > สรุปผล การเขียนรายงานวิจัย บทนา > เอกสารและรายงานที่เกี่ยวข้อง > วิธีดาเนินการวิจัย > ผลการวิเคราะห์ข้อมูล > สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ คุณสมบัติของเครื่องมือวิจัย เที่ยงตรง มีความตรง ใช้ประโยชน์ได้ ******************************************** 7. สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี สื่อ (อเมริกา) = วัสดุ > อุปกรณ์ > วิธีการ สื่อ (หลักสูตร 51) = สื่อสิ่งพิมพ์ > สื่อเทคโนโลยี > สื่ออื่น กรวยประสบการ นามธรรม... รูปธรรม (เอ็ดการ์ เดล) กระดานชอล์ค สีเขียว, ผู้เรียนควรนั่งอาณาเขตมุม 60 องศา, ห่างจากระดานอย่างน้อย 3 เมตร แม่สีช่างเขียน สีแดง สีเหลือง และสีน้าเงิน แม่สีวิทยาศาสตร์ สีแดง สีเขียว และสีม่วง แม่สีจิตวิทยา สีแดง สีเหลือง สีน้าเงิน และสีเขียว
  • 12. วิชาการศึกษา .................. Rin…Ksr หน้า 12 สีแดง ความรัก ความเกลียด โกรธ อันตราย ความกล้าหาญ ความแข็งแรง สีเหลือง ความอบอุ่น ความสงบ ความเจริญ ความร่าเริง สีน้าเงิน เยือกเย็น ความสงบ ความจริง สีดา ประณีต รวย เป็นงานเป็นการ เงียบเหงา ความตาย สีเขียว หนุ่ม อ่อนวัย สดชื่น ความซื่อสัตย์ สีขาว สะอาด ประณีต ความบริสุทธิ์ สีส้ม พลังงาน ร่าเริง สดใส สนุกสนาน มั่งคั่ง สีม่วง สูงศักดิ์ ร่ารวย หรูหรา ความเคร่งขรึม นาฎการ 1. การแสดงละคร 2. หุ่นชีวิต 3. การแสดงบทบาท 4. การแสดงหุ่น ไมโครโฟน มี 6 ชนิด ที่นิยมใช้มากที่สุด คือ ระบบไดนามิค คณะกรรมการประเมินสื่อ3-5 คน วิทยุ SW MW FM บิดาแห่งคอมพิวเตอร์ เบบเบจ โปรแกรมเมอร์ ออกุสต้า การเกิดนวัตกรรมการศึกษา 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล 3. เวลาที่ใช้ในการศึกษา 2. ความพร้อม 4. การขยายตัวด้านวิชาการและอัตราประชากร .com สาหรับธุรกิจ .edu สาหรับการศึกษา .org หน่วยงานไม่แสวงหาผลกาไร .int องค์กรนานาชาติ .net หน่วยงาที่มีเครือข่ายของตนเอง เทคโนโลยีของระบบสารสนเทศในปัจจุบัน OIS ระบบสนับสนุนการทางานในการปฏิบัติงานประจาวัน MIS ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร DSS ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ EIS ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง ES ระบบผู้เชี่ยวชาญ PMDOS สานักงานยกรัฐมนตรี > กระทรวงศึกษาธิการ > สพฐ. > สพท. > โรงเรียน 8. การวัดและการประเมินผลการศึกษา ปรัชญา ทดสอบเพื่อค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพของมนุษย์ ความหมาย กระบวนการที่ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปริมาณ คุณภาพ หรือคุณลักษณะ เครื่องมือที่ใช้วัดผู้เรียน 1. ความเที่ยงตรง 2. ความเชื่อมั่น 3. ความยาก 4. อานาจจาแนก 5. ความเป็นปรนัย ค่าความยากควรอยู่ที่ .20-.80 ** พัฒนาของเด็ก กาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา วิทยากร วิทยากรท้องถิ่น, ถามนักเรียน