SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  113
Color with User Interface Design
ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
สีกับกำรออกแบบ
Facebook.com/TouchPoint.in.th TouchPoint.in.th YouTube.com/c/TouchPointTH
ส่วนประสำนงำนกับผู้ใช้
ควำมหมำยของสี
สี (Color) คือ การรับรู้ความถี่ของแสงในช่วงความยาวคลื่นของแสง
ที่มนุษย์รับรู้ผ่านการมองเห็น
Definition of Color
ทำไมเรำถึงเห็นสี
Why do we see colors?
ด้ำนมนุษย์ ด้ำนวัตถุ
ด้ำนมนุษย์
มนุษย์เห็นสีได้ด้วยดวงตา ซึ่งมีจอประสาทตาหรือเรตินาเป็นส่วนรับภาพ
และยังมีเซลล์ที่เรียกว่าโคน (Cones) เป็นส่วนที่ใช้รับสีต่างๆ แล้วนาไปประมวลผล
ออกไปที่สมอง ทาให้เราทราบว่าสีที่เราเห็นเป็นสีอะไร สีที่เกิดขึ้นมาเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
มีความยาวคลื่นประมาณ 380–740 นาโนเมตร ซึ่งดวงตามนุษย์รับสีได้ 8-10 ล้านสี
ด้ำนวัตถุ
วัตถุที่เราเห็นเป็นสีต่างๆ คือการที่วัตถุนั้นไม่ดูดกลืนแสงสีนั้นเข้าไป เช่น สีของใบไม้
เป็นสีเขียวเพราะว่าใบไม้ไม่ดูดกลืนแสงสีเขียว ทาให้แสงสีเขียวถูกสะท้อนออกมาเข้าตา
เราจึงเห็นใบไม่เป็นสีเขียว
คำศัพท์ที่ควรรู้เกี่ยวกับสี
Hue Saturation Brightness / Luminance Shades and Tint
Tones Subtractive
Additive
Hue
Hue คือ สีในธรรมชาติที่มนุษย์มองเห็น
เป็นสีพื้นฐานที่ไม่มีการปรับค่าใด ๆ ในวงล้อสี
Saturation
Saturation คือ ความสดความอิ่มตัวของเนื้อสี การปรับความสดของสี
จะส่งผลต่อโทนสีและเฉดสี
0% 50% 100%
CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, and includes icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik
Brightness / Luminance
Brightness / Luminance คือ ค่าความสว่าง ค่าน้อยจะทาให้สีมืด
ค่ามากจะทาให้สีสว่าง
0% 50% 100%
Shades and Tint
Shades คือ ค่าสีปกติที่ค่อยๆ เติมสีดาลงไป
Tints คือ ค่าสีปกติที่ค่อยๆ เติมสีขาวลงไป
Shades Base Tints
Tones
Tones คือ ค่าสีปกติที่ค่อยๆ เติมสีเทาลงไป
Base
Additive
Additive คือ การผสมกันของสีและแสง เมื่อมีค่ามากขึ้นจนสุดจะกลายเป็นสีขาว
พบในงานดิจิทัลที่ปรากฏบนหน้าจอ ใช้ระบบสี RGB (Red, Green, Blue)
Subtractive
Subtractive คือ การหักลบดูดซับกันของสี พบได้ในงานที่ไม่ได้ปรากฏบนหน้าจอก็คือ
สิ่งพิมพ์ ใช้ระบบสี CMYK (Cyan, Magenta, Yellow, Black)
ระบบสี
Color System
HSB System
RGB System CMYK System Greyscale System
RGB System
RGB เป็นระบบสีที่ใช้เป็นมาตรฐานสาหรับงานที่แสดงผลบนหน้าจอหรือแพล็ตฟอร์ม
ดิจิทัล มีการตั้งค่าตามการคานวณทางคณิตศาสตร์ แต่ละค่าเมื่อแยกออกมาคือ
R (Red), G (Green) และ B (Blue) โดยมีค่าตั้งแต่ 0–255 ในแต่ละตัว
โดยสามารถกาหนดค่าได้ 2 แบบได้แก่
RGB Function
(R, G, B)
RGB HEX
#RRGGBB
0-255
RGB
MODE
RGB FUNCTION
( R , G , B )
RGB HEX
# RR GG BB
(255,0,0) (0,255,0) (0,0,255)
RGB Function (R,G,B)
RGB Function เป็นการกาหนดค่าสี RGB
ให้อยู่ในรูปแบบตัวเลข 0-255 เช่น
(255,0,0) ได้สีแดงเพราะสีแดงมีค่าสูงสุดแต่สีอื่นไม่มี
(0,255,0) ได้สีเขียว
(0,0,0) จะได้สีดาเพราะไม่มีค่าสีทั้งสามเลย
(0,0,255) ได้สีน้าเงิน
(255,255,255) จะได้สีขาวเพราะทุกค่าสีมีค่าสูงสุด
RGB HEX
RGB HEX เป็นการกาหนดสีโดยใช้โค้ดสี #RRGGBB ประกอบไปด้วยตัวแปรสองตัว
คือ ตัวอักษร (A-F) F มีค่าสูงสุด และตัวเลข (0–9) 9 มีค่าสูงสุด เช่น
#FF0000 ได้สีแดง
#00FF00 ได้สีเขียว
#000000 ได้สีดา
#0000FF ได้สีน้าเงิน
#FFFFFF ได้สีขาว
คือ มันถูกสร้างด้วยการคานวณทางคณิตศาสตร์ ผู้ใช้ทั่วไป
ไม่มีความรู้เรื่อง RGB จะบอกได้เพียง “ขอสีสดขึ้น”
หรือ “สว่างขึ้น” ทาให้เกิดปัญหาระหว่างผู้ใช้กับ UI Designer
แล้วเรำจะแก้ไขปัญหำนี้อย่ำงไร
ปัญหำของ RGB
HSB System
HSB เป็นระบบสีที่เกิดจากการรับรู้โดยธรรมชาติของมนุษย์ โดยมี 3 ตัวแปร ได้แก่ ค่าสีปกติ (Hue)
ความสดของสี (Saturation) และความสว่างของสี (Brightness) ผู้ใช้ทั่วไปจะเข้าใจได้มากกว่าการบอกเป็นโค้ดสี
เหมาะกับการใช้สื่อสารกับผู้ใช้ที่ไม่เข้าใจระบบสี RGB
HSB
MODE
Hue
Saturation
Brightness
0o
270o
180o
90o
0% 50% 100%
Brightness
0% 50% 100%
Saturation
CMYK System
CMYK เป็นระบบสีที่ใช้สาหรับสิ่งพิมพ์ ประกอบด้วยสีหลัก 4 สี ได้แก่
สีฟ้าอมเขียว (Cyan) ชมพูอมม่วง (Magenta) สีเหลือง (Yellow) และ สีดา (Black)
CMYK
MODE
CYAN
MAGENTA
YELLOW
BLACK
Greyscale System
Greyscale เป็นระบบสีที่สาคัญสาหรับการทางานด้าน UI Design
เพราะเป็นการใช้เพื่อเป็นสีตัวกลางในการสื่อความหมายต่างๆ
โดยไล่ตั้งแต่ดาไปจนถึงขาว
GREY
SCALE
0% 50% 100%
ทฤษฎีสี
Color Theory
ทฤษฎีสี (Color Theory) หมายถึง ทฤษฎีของแม่สีที่เป็นต้นกาเนิดของการผสมสีเพื่อให้เกิดเป็นสี
เพื่อนาไปใช้สร้างงานศิลปะหรืองานออกแบบ ลาดับชั้นของสีในวงล้อสีมี 12 สีหลักและสามารถ
กระจายออกมาได้เป็น 3 ขั้น ดังนี้
แม่สี
Primary Color
สีขั้นที่สอง
Secondary Color
สีขั้นที่สำม
Tertiary Color
แม่สี
แม่สี (Primary Color) คือ สีที่เป็นพื้นฐานขั้นต้นมี 3 สี เมื่อนามาผสมจะได้สีต่างๆ ตามมา
Primary Color
CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, and includes icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik
สีขั้นที่สอง
สีขั้นที่สอง (Secondary Color) คือ สีที่เกิดจากสีพื้นฐานผสมกัน
ในอัตราส่วนที่เท่ากันจะได้สีใหม่อีก 3 สี
Secondary Color
สีขั้นที่สำม
สีขั้นที่สาม (Tertiary Color) คือ สีที่เกิดจากสีพื้นฐานผสมกับสีขั้นที่ 2
ในอัตราส่วนที่เท่ากันก็จะได้สีใหม่เพิ่มขึ้น
Tertiary Color
อุณภูมิสี
Color Temperature
อุณภูมิสี (Color Temperature) คือ ค่าความยาวคลื่นของแสงในแต่ละความถี่ที่สมองแปลมาจากการมองเห็น
และให้ความหมายออกมาเป็นอุณหภูมิ แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
สีโทนอุ่น
Warm Color
สีโทนกลำง
Neutral Color
สีโทนเย็น
Cold Tone
สีโทนอุ่น
สีโทนอุ่น (Warm Color) ได้แก่ แดง แสด ส้ม เหลือง ชมพู บานเย็น ม่วง
Warm Color
สีโทนกลำง
สีโทนกลาง (Neutral Color) ได้แก่ ดา ขาว เทา นวลๆ
Neutral Color
สีโทนเย็น
สีโทนเย็น (Cold Tone) ได้แก่ น้าเงิน ฟ้า เขียว คราม ม่วง
Cold Tone
เทคนิคกำรนำสีไปใช้งำน
Applying Color Techniques
การนาสีไปใช้งานให้เกิดความสวยงาม UI Designer จะต้องใช้เทคนิคการเลือกสี ได้แก่
สีโทนเดียว
Monochromatic
สีคู่ตรงข้ำม
Complementary
สำมสีข้ำงเคียง
Analogous
สำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำ
Triadic
เทคนิคกำรนำสีไปใช้งำน
Applying Color Techniques
สีตรงกันข้ำมเยื้อง
Split-Complementary
สี่เหลี่ยมจัตุรัส
Square
สี่เหลี่ยมผืนผ้ำ
Rectangle
การนาสีไปใช้งานให้เกิดความสวยงาม UI Designer จะต้องใช้เทคนิคการเลือกสี ได้แก่
สีโทนเดียว
เป็นการใช้สีโทนเดียวกันทั้งหมด แล้วปรับค่า Shades, Tones และ Tints ของสีปกติ
ทาให้เกิดสีที่มีค่าน้าหนักต่างกันแต่ยังมีความกลมกลืนกัน
Monochromatic
สีโทนเดียว
Monochromatic
สีคู่ตรงข้ำม
เป็นสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงล้อสี สองสีนี้มีความต่างกันสูงมาก เช่น สีแดง-สีฟ้า สีเหลือง-สีน้าเงิน ซึ่งทั้งสองสีจะปรากฏตัดกัน
เด่นชัดมาก ๆ ไม่ควรใช้ปริมาณเท่ากัน ควรใช้ 80:20 หรือ 70:30 ทาให้ส่วนน้อยกลายเป็นจุดเด่นของงาน
Complementary
สีคู่ตรงข้ำม
Complementary
สำมสีข้ำงเคียง
เป็นการเลือกสีใดสีหนึ่งขึ้นมาใช้งานพร้อมกับสีที่อยู่ติดกันอีกข้างละสี หรือสีสามสีที่อยู่ติดกันในวงจรสี
ควรเลือกในอัตราส่วน 60 30 10 เพื่อไม่ให้ทุกสีแข่งกันเด่น
Analogous
สำมสีข้ำงเคียง
Analogous
CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, and includes icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik
สำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำ
เป็นการเลือกสีสามสีที่มีระยะห่างเท่ากันเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่ามาใช้งาน
ชุดสีแบบนี้จะสร้างให้งานของเรามีความสดชื่น มีชีวิตชีวา สนุก
Triadic
CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, and includes icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik
สำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำ
Triadic
สีตรงกันข้ำมเยื้อง
สามสีที่มีพื้นที่ห่างแบบสามเหลี่ยมด้านไม่เท่ากัน โดยจะมีสองสีที่เข้ากันและสีที่มีความ
ต่างสูง 1 สี ทาให้สร้างความโดดเด่นของสีใดสีหนึ่งได้อย่างชัดเจน
Split-Complementary
สีตรงกันข้ำมเยื้อง
Split-Complementary
สี่เหลี่ยมจัตุรัส
สี่สีในระยะห่างเท่ากันแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส ชุดสีลักษณะนี้ทาให้งานมีความสนุก โดดเด่น
การใช้งานจะต้องใช้ในปริมาณที่เหมาะสมพอดี เพื่อไม่ให้แข่งกันเด่น
Square
สี่เหลี่ยมจัตุรัส
Square
สี่เหลี่ยมผืนผ้ำ
สี่สีในระยะห่างกันแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า เกิดจากการใช้สีข้างเคียงกันสองสีในแต่ละด้าน และสีที่ตรงข้ามกันอีกสองสีในแต่ละด้าน
การใช้สีลักษณะนี้ทาให้งานดูกลมกลืนกันมากกว่าแบบ Square ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการใช้งาน
Rectangle
สี่เหลี่ยมผืนผ้ำ
Rectangle
จิตวิทยำของสี
The Color Psychology
สีแดง
RED
สีส้ม
Orange
สีเหลือง
Yellow
สีน้ำตำล
Brown
สีชมพู
Pink
สีม่วง
Violet
จิตวิทยำของสี
The Color Psychology
สีน้ำเงิน
Blue
สีฟ้ำ
Sky
สีเขียว
Green
สีดำ
Black
สีเทำ
Grey
สีขำว
White
สีแดง
RED
ความรัก ความกระหาย การผจญภัย พละกาลัง เซ็กซี่ยั่วยวน
ตื่นตัว หรูหรา ความโชคดี มีโชคลาภ ความสิริมงคล
👍
ความอันตราย เกรี้ยวกราดด เผ็ดร้อน ความรุนแรง สงคราม
👎
สีส้ม
Orange
ความตื่นตัว ความตื่นเต้น ความแข็งแรง ความคิดสร้างสรรค์
การเคลื่อนไหว พละกาลัง (เชิงบวกมากกว่าสีแดง) ความเป็นมิตร
การเชื้อเชิญ การให้กาลังใจ ความอบอุ่น
👍
อันตราย (ไม่เท่าสีแดง) คาเตือน
👎
สีเหลือง
Yellow
ความสว่าง สดชื่น พลังงาน ความสุข ความหวัง การแรกเกิด
ความสงบ ความปรารถนา
👍
คาเตือน ความหลอกลวง
👎
CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, and includes icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik
สีน้ำตำล
Brown
ความเรียบง่าย ความแข็งแรง มีประสบการณ์ มีอายุ ความน่าเชื่อถือ
ความบริสุทธิ์ ความเป็นธรรมชาติ
👍
ความแห้งแล้ง โรคระบาด
👎
สีชมพู
Pink
ความรัก ความอ่อนหวาน ความอ่อนโยน ความสวยงาม
พลังด้านบวก ความน่ารักสดใส ความร่าเริง ความโรแมนติก
👍
ความริษยาแบบเบาๆ
👎
สีม่วง
Violet
จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ความหรูหรา สูงส่ง ความอ่อนเยาว์
ความลึกลับ ความเซ็กซี่ยั่วยวน กลางคืน ความสนุกสนาน
👍
ความริษยาแบบแรงๆ ร้ายๆ ความเป็นพิษ ความงุนงง ความลุ่มหลง
👎
สีน้ำเงิน
Blue
ความน่าเชื่อถือ ความแข็งแรง บริสุทธิ์ ปลอดภัย สมบูรณ์แบบ สงบสุข
ความรับผิดชอบ อานาจ มีเกียรติ ฉลาด สะอาด สติปัญญา
👍
ความเศร้า เหงา ความเหน็บหนาว ความหมองหม่น ความอ้างว้าง
ความโหยหา
👎
สีฟ้ำ
Sky
ความสดใส ความปลอดภัย ความร่าเริง ความดีต่อใจ การไม่สิ้นสุด
ความสะอาด ความเข้าใจ ความเชื่อใจ ความอิสระ การผ่อนคลาย
👍
การไม่มีตัวตน
👎
สีเขียว
Green
การเจริญเติบโต ความสุขภาพดี ธรรมชาติ ความสดชื่น ความสาเร็จ
ความถูกต้อง ความปลอดภัย ความอุดมสมบูรณ์ ความสบาย
ผ่อนคลาย ความมีประโยชน์
👍
ความขยะแขยง
👎
สีดำ
Black
ความสุขุมนุ่มลึก ความสุภาพ ความรวย ความมั่งคั่ง ความหรูหรา
ความแข็งแรง ความมีอานาจ
👍
ความกลัว ความตาย ความเหงา ความมืด ความลึกลับ ความเศร้า
👎
สีเทำ
Grey
ความอ่อนน้อมถ่อมตน ศักดิ์ศรี ความเสถียร ความมั่นคง ความเป็น
ทางการ ความมีระเบียบ สติปัญญา ความเชื่อถือ ความจงรักภักดี
ความเป็นผู้ใหญ่
👍
ความมีอายุ ความเศร้า ความน่าเบื่อ ความเป็นอนุรักษ์นิยม
👎
CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, and includes icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik
สีขำว
Brown
ความสะอาด ความสงบ ความอ่อนน้อม ความอ่อนโยน ความหรูหรา
ยิ่งใหญ่ ความสุภาพ ความบริสุทธิ์ ความสว่าง คุณธรรม
ความเก่งกาจ
👍
ความว่างเปล่า
👎
กำรสร้ำงชุดสีให้เหมำะสมกับผลิตภัณฑ์
Create Color Matching with Products
สิ่งที่ UI Designer ต้องเข้าใจเสมอก่อนการสร้างงานออกแบบมี 3 สิ่ง ได้แก่
เข้ำใจผู้ใช้งำน
Understand your User
เข้ำใจภำพลักษณ์ขององค์กร
Understand your Brand
เข้ำใจผลิตภัณฑ์ที่จะนำเสนอ
Understand your Products
เข้ำใจผู้ใช้งำน
เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ขายได้ UI Designer จะต้องสร้างคุณค่า (Value) ให้กับผู้ใช้งานเสมอ
การเลือกใช้สี จาเป็นที่จะต้องเข้าใจว่าผู้ใช้งานของเราเป็นใคร มีพฤติกรรมอะไร
เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงผลิตภัณฑ์ของเราได้
Understand your User
เข้ำใจภำพลักษณ์ขององค์กร
องค์กรมักมีเอกลักษณ์ขององค์กร (Corporate Identity หรือ C.I.) อยู่แล้วตั้งแต่เริ่มตั้งองค์กร
การเลือกใช้สีจะอิงจากหลักจิตวิทยาของสี หรือผู้ก่อตั้งชอบ ซึ่ง Brand จะครอบคลุม
เหนือ Product การเข้าใจว่า Brand มีลักษณะอย่างไร จะทาให้ UI Designer
พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องและเป็นไปในทางเดียวกันกับ Brand ได้
Understand your Brand
เข้ำใจผลิตภัณฑ์ที่จะนำเสนอ
UI Designer ต้องเข้าใจสิ่งที่ผลิตภัณฑ์ (Product) นั้นต้องการนาเสนอให้กับผู้ใช้งาน
เช่น สีเหลืองปกติจะสื่อถึงความสดใส ความสว่าง หากไปใช้กับป้ายจราจร
จะสื่อถึงการเตือน เป็นต้น
Understand your Products
กำรประยุกต์ใช้ชุดสีกับผลิตภัณฑ์
Apply Color for GUI
การประยุกต์ใช้สีใน UI Element และ UI Components ต้องมีความคงเส้นคงวา
และสื่อความหมายได้อย่างชัดเจน ซึ่งจะมีปัจจัย 3 อย่าง ได้แก่
ควำมคงเส้นคงวำ
Consistency
ควำมแตกต่ำง
Distinct
ควำมจงใจ
Intentional
ควำมคงเส้นคงวำ
เป็นการนาเสนอชุดสีที่มีความสม่าเสมอ เพื่อนาเสนอความเป็น Brand ของตัวเองได้
เพื่อการสร้างภาพจาให้กับผู้ใช้ที่มีต่อ Brand ของเรา
Consistency
ควำมแตกต่ำง
เป็นการนาเสนอชุดสีเพื่อสร้างความแตกต่างอย่างชัดเจนของกลุ่มข้อมูล
ที่มีความสาคัญ ระหว่างแต่ละ Element และ Components
ควรทาให้ผู้ใช้แยกออกและเข้าใจได้ว่าสีนั้นๆ บอกอะไร และจะให้ทาอะไร
Distinct
ควำมจงใจ
เป็นการนาเสนอชุดสี โดยมีจุดประสงค์ในการสื่อความหมาย เพื่อเชื่อมโยง
ความสัมพันธ์ระหว่าง Element แต่ละอันตามลาดับชั้นการใช้งาน
เพื่อจะชี้นาไปยังสิ่งที่เราต้องการให้เกิด การปฏิสัมพันธ์
Intentional
4 ขั้นตอนกำรประยุกต์ใช้สีกับงำน
4 UI Steps for Applying Colors
กำรสร้ำงชุดสี
Theme Creation
STEP 1
กำรทำควำมเข้ำใจส่วนประกอบ UI ที่หลำกหลำย
Understand Variety of UI Components
STEP 2
สถำนะของสีในส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกรำฟิก
State of Color in GUI
STEP 3
ควำมสำมำรถในกำรเข้ำถึงสี
Color Accessibility
STEP 4
STEP 1 กำรสร้ำงชุดสี
UI Designer ต้องกาหนดชุดสีหลัก เพื่อใช้กับ UI Components ต่างๆ และภาพรวมของ Product ทั้งหมด
โดยใช้หลักการจับคู่สีแบบต่างๆ การสื่อสารระหว่าง UI Designer กับ Developer คือการใช้ภาษาสากลด้วย
การเรียกชื่อตามระบบสี ได้แก่ RGB, HEX และ HSB โดยสิ่งที่ต้องคานึงถึงมี 3 สิ่ง ได้แก่
Theme Creation
สีหลัก
Primary Color
สีรอง
Secondary Color
สีสว่ำงและมืด
Light and Dark Color
สีหลัก
UI Designer ต้องกาหนดสีที่สื่อถึง Brand หรือ Product มากที่สุด การสร้างชุดสี
Primary จะใช้สี Hue ที่ถูกปรับค่า Brightness / Luminance ในค่าต่างๆ
เพื่อให้ใช้สีด้วยกันได้อย่างกลมกลืน
Primary Color
Desire Blue
Hex : #4D4DFF
H: 240
S: 70
B: 100
CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, and includes icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik
สีรอง
สีรอง (Secondary Color) เป็นสีที่นามาช่วยให้เกิดความแตกต่างของ Product
จะมีหรือไม่มีก็ได้ ควรนาไปประยุกต์ใช้สร้างความแตกต่างให้กับบางส่วนประกอบ
และเลือกใช้เท่าที่จาเป็นเท่านั้น การสร้างชุดสีรองให้ทาแบบเดียวกับชุดสี Primary
Secondary Color
H: 168
S: 100
B: 100
Desire Green
Hex : #00FFCC
สีสว่ำงและมืด
สีสว่างและมืด (Light and Dark Color) สีขาวและสีดาทาให้เกิดความแตกต่างระหว่างสีหลักกับสีรอง
การใช้ชุดสีขาวและสีดาจะใช้ในส่วนประกอบที่เป็นส่วนใหญ่ของ UI เช่น ชุดอักษร พื้นหลัง พื้นผิว
ระยะห่าง และอื่นๆ หาก UI Designer ใช้อย่างถูกต้อง จะทาให้การออกแบบลงตัว การสร้างชุดสีขาวและ
สีดาจะปรับตามค่า Brightness ตามที่ต้องการ
Light and Dark Color
STEP 2 กำรทำควำมเข้ำใจส่วนประกอบ UI ที่หลำกหลำย
UI Designer ต้องเข้าใจส่วนประกอบของ UI ว่าส่วนประกอบนั้นใช้ทาอะไร
เพื่อให้เกิดอะไร ไม่ใช่การนาสีต่างๆ มายัดเพื่อให้เกิดความหลากหลาย
โดยหลักการใช้สีกับ UI Component จะมีตัวแปรหลักๆ อยู่ 3 สิ่ง ได้แก่
Understand Variety of UI Components
ลำดับชั้น
Hierarchical
ควำมชัดเจน
Legible
แสดงออกมำ
Expressive
ลำดับชั้น
สีจะต้องบ่งบอกถึงสิ่งที่ผู้ใช้จะปฏิสัมพันธ์ด้วย โดยจะต้องโดดเด่นขึ้นมาจากองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ปุ่มต้องรู้ว่ากดได้
Hierarchical
ควำมชัดเจน
สีที่ใช้จะต้องชัดเจนในมาตรฐานเดียวกันในผลิตภัณฑ์เดียวกัน แม้ว่าจะอยู่ในแพล็ตฟอร์ม
ที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็น แอปพลิเคชั่น เว็บไซต์ ป้าย แบนเนอร์ และบรรจุภัณฑ์ เป็นต้น
Legible
แสดงออกมำ
สีต้องสร้างความแข็งแรงให้ Brand โดยเฉพาะในส่วนที่นาเสนอเพื่อการตัดสินใจของผู้ใช้
โดยเฉพาะปุ่ม Call to Action
Expressive
STEP 3 สถำนะของสีในส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกรำฟิก
State of Color in GUI
สีเป็นปัจจัยเพื่อบอกถึงการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ UI Designer ต้องออกแบบสถานะของส่วนประกอบ เพื่อสื่อสารถึงสถานะการทางาน
ของส่วนประกอบนั้นๆ โดยมี 4 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
สถำนะปกติ สถำนะที่กำลังเปลี่ยนไป สถำนะที่เปลี่ยนไปแล้ว สถำนะอื่นๆ
สถำนะปกติ
สถานะปกติ (Normal State) เป็นสถานะที่ผู้ใช้เห็นในตอนแรก โดยที่ผู้ใช้ยังไม่ได้
ปฏิสัมพันธ์กับส่วนประกอบนั้นๆ
Normal State
สถำนะที่กำลังเปลี่ยนไป
เป็นสถานะที่จะแสดงผลเมื่อผู้ใช้กาลังทาการปฏิสัมพันธ์กับส่วนประกอบในช่วงเวลานั้น
ซึ่งจะเกิดและจบไป และจะไปอยู่ที่สถานะปกติ
Changing State
สถำนะที่เปลี่ยนไปแล้ว
เป็นสถานะที่ถูกเปลี่ยนไปจากเดิมของ สถานะเดิม เช่น เมื่อกดแล้วเปลี่ยนสี
เพื่อบอกผู้ใช้เวลากาลังอยู่ที่หัวข้อนี้
Changed State
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
Enable
สถานะปกติที่บอกว่าส่วนประกอบนี้สามารถใช้งานได้
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
Disabled
สถานะที่บอกว่าส่วนประกอบนี้ไม่สามารถใช้งานได้
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
Hover
สถานะที่เกิดขึ้นเมื่อผู้ใช้นาเมาส์ไปวางไว้บนส่วนประกอบนั้นๆ
สถานะนี้จะเกิดขึ้นในกรณีที่มีเคอร์เซอร์
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
Focused
สถานะที่เกิดจากผู้ใช้กาลังใช้งานกับส่วนประกอบนั้นๆ
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
Selected
สถานะที่เกิดจากการที่ผู้ใช้ ใช้งานส่วนประกอบพวกตัวเลือกต่าง ๆ
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
Activated
สถานะที่บ่งบอกถึงการใช้งานอยู่ ไม่ว่าจะเป็นค่าเริ่มต้นหรือผู้ใช้เข้าใช้งานด้วยตัวเอง
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
Pressed
สถานะที่บ่งบอกถึงการกดของผู้ใช้
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
Dragged
สถานะที่บ่งบอกการกดลากส่วนประกอบนั้น ๆ
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
On/Off
สถานะแสดงการเปิดและปิดการใช้งานของส่วนประกอบที่มีทางเลือก
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
Error
สถานะที่บ่งบอกการทางานที่ไม่ถูกต้อง ผิดพลาด ของระบบหรือหรือผู้ใช้
สถำนะอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสถานะอื่นๆ ที่มีการใช้สีเพื่อบ่งบอกถึงสถานะต่างๆ ดังนี้
Others State
Alerts
สถานะที่ใช้เพื่อแจ้งข้อมูลที่เกิดขึ้นกับผู้ใช้ หลังจากที่ผู้ใช้ทาอะไรบางอย่างกับ
ส่วนประกอบนั้นๆ โดยสีจะเป็นตัวบ่งบอกถึงชนิดข้อมูลที่ปรากฎขึ้น
Danger
Caution
Suggest
Alert
Success
Info
STEP 4 ควำมสำมำรถในกำรเข้ำถึงสี
การใช้สีกับงานออกแบบ User Interface นอกจากการใช้หลักการที่กล่าวไปแล้ว สิ่งสาคัญที่ UI Designer ต้องคานึงถึงก็คือ
ความสามารถในการเข้าถึง (Accessibility) ต่อ UI Element นั้นๆ ประกอบด้วย 2 สิ่ง ได้แก่
Color Accessibility
ผู้ใช้
User
บริบทกำรใช้งำน
Context
ผู้ใช้
ผู้ใช้ (User) เป็นใคร กลุ่มคนแบบไหน ผู้ใช้อาจจะมีคนที่ตาบอดสีหรือความสามารถใน
การแยกสีแตกต่างกัน การออกแบบส่วนประกอบของ User Interface ควรจะสามารถ
สร้างความเข้าใจให้ User ได้โดยไม่ผิดเพี้ยน
User
บริบทกำรใช้งำน
สถานการณ์ที่ผู้ใช้ใช้งานผลิตภัณฑ์ก็มีผลต่อการใช้งาน Interface เช่น เวลาที่ใช้งาน
กลางวัน กลางคืน หรือใช้งานในที่แสงมากแสงน้อยก็มีผลต่อการรับรู้
Context
กำรใช้สีกับควำมสำมำรถในกำรเข้ำถึงข้อมูล
Using Color and Accessibility
ความสามารถในการเข้าถึงสี (Color Accessibility) จะเกิดขึ้นกับองค์ประกอบสองชนิด
ได้แก่ พื้นหลังและข้อความที่นามาถูกใช้งานร่วมกัน
TEXT
Accessible
TEXT
Caution
TEXT
Inaccessible
กำรใช้สีกับควำมสำมำรถในกำรเข้ำถึงข้อมูล
Using Color and Accessibility
บางครั้งการไม่ใช้ความสามารถในการเข้าถึงสี (Color Accessibility) ในการใช้สีพื้น
หลังกับตัวอักษร อาจเกิดปัญหากับกับผู้ใช้งานได้ หรือที่เรียกว่า “ข้อความ” จม
Yes Aa Aa Aa Aa
No Aa Aa Aa Aa
กำรประยุกต์กฎกำรใช้สีแบบ 60 30 10
ในงำนออกแบบกรำฟิกส่วนประสำนงำนกับผู้ใช้
กฎ 60 30 10 เป็นสิ่งที่ทาให้ UI Designer ใช้อัตราส่วนสีกับส่วนประกอบต่างๆ อย่างลงตัว
ซึ่งเลือกสีตามจิตวิทยาการรับรู้ของมนุษย์ เพราะมนุษย์จะมองเป็นภาพใหญ่ก่อน แล้วค่อยๆ
พิจารณารายละเอียด ทาให้มนุษย์ค่อยๆ ซึมซับการเข้าถึงการออกแบบได้
การออกแบบหน้าจออาจไม่จาเป็นต้องใช้กฎนี้เสมอไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสิ่งที่ UI Designer
ต้องการสื่อสาร วัตถุประสงค์ของงาน และเนื้อหาของหน้าแต่ละหน้า
กำรประยุกต์กฎกำรใช้สีแบบ 60 30 10
ในงำนออกแบบกรำฟิกส่วนประสำนงำนกับผู้ใช้
ตัวอย่ำงกำรใช้กฎ 60 30 10
60 30 10
Background Primary Secondary
ตัวอย่ำงกำรใช้กฎ 60 30 10
60
(Background)
คือสีที่ใช้ในอัตราส่วนมากที่สุด ส่วนใหญ่จะใช้เป็นสีใน Greyscale เป็นสีกลาง
ที่สามารถใช้ได้กับสีอื่นๆ เพื่อส่งเสริมให้สีที่อัตราส่วนน้อยมีความสาคัญและเกิด
ความแตกต่างมากขึ้น
30
60
10
ตัวอย่ำงกำรใช้กฎ 60 30 10
30
(Primary Color)
คือสีที่ใช้อันดับรองลงมา และจะใช้กับ Element ที่ใช้ในการสื่อความ เช่น Icon, Bar,
Navigation ส่วนใหญ่จะเป็นสี Theme หลักๆใน Graphic User Interface
30
60
10
ตัวอย่ำงกำรใช้กฎ 60 30 10
10
(Secondary Color)
จะใช้กับ Element ที่ต้องการให้เกิดการปฏิสัมพันธ์หรือ Call To Action โดยจะใช้สีนี้
เพื่อสร้างความแตกต่างอย่างเด่นชัด
30
60
10
เครื่องมือช่วยพัฒนำกำรใช้สี
Color Development Tools for UI Designer
Color Tool -
Material Design
Color Safe Colorable Toolness Github
COLOR SAFE Aa
Color Tool - Material Design
เข้าไปที่ m2.material.io/resources/color
นอกจากเรื่องสีแล้ว ยังมี Material Design อื่นๆ ให้ UI Designer เลือกใช้มากมาย
Color Safe
เข้าไปที่ colorsafe.co
Colorable
เข้าไปที่ colorable.jxnblk.com
CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, and includes icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik
Toolness Github
เข้าไปที่ toolness.github.io/accessible-color-matrix
เครื่องมือช่วยสร้ำงชุดสี
Color Guide Tools
Adobe Color My Color Space Paletton Sessions College
Adobe Color
เข้าไปที่ color.adobe.com/create
My Color Space
เข้าไปที่ https://mycolor.space/
Paletton
เข้าไปที่ paletton.com
Sessions College
เข้าไปที่ sessions.edu/color-calculator

Contenu connexe

Tendances

ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Tendances (20)

เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshopแนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
 

Similaire à สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)

Still image
Still imageStill image
Still image
jibbie23
 

Similaire à สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design) (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
 
Dc102 digital media-still image
Dc102 digital media-still imageDc102 digital media-still image
Dc102 digital media-still image
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 
ความหมายกราฟิก
ความหมายกราฟิกความหมายกราฟิก
ความหมายกราฟิก
 
Lect06 Web Design
Lect06 Web DesignLect06 Web Design
Lect06 Web Design
 
1. หลักการออกกราฟิก design
1. หลักการออกกราฟิก  design1. หลักการออกกราฟิก  design
1. หลักการออกกราฟิก design
 
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีพื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
 
Graphics Design
Graphics DesignGraphics Design
Graphics Design
 
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพแต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
หลักการใช้สี
หลักการใช้สีหลักการใช้สี
หลักการใช้สี
 
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพหน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.
 
Still image
Still imageStill image
Still image
 
Color for Graphic Design
Color for Graphic DesignColor for Graphic Design
Color for Graphic Design
 
Pwpdata9
Pwpdata9Pwpdata9
Pwpdata9
 
4.โมเดลสี
4.โมเดลสี4.โมเดลสี
4.โมเดลสี
 
ใบงานที่ 51 orange
ใบงานที่ 51 orangeใบงานที่ 51 orange
ใบงานที่ 51 orange
 

Plus de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Plus de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
 

สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)